ทิศทางการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชี้แนะสาธารณะด้านสุขภาพ (HEALTH ADVOCACY)
Advertisements

การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
ระบบส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion System) Health Promotion System + Environmental Health System คณะทำงานจัดทำระบบส่งเสริมสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ๒๕.
Six building blocks Monitoring & Evaluation
ที่ผ่านมาของเขตบริการสุขภาพที่ 1 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การขับเคลื่อน ด้านการตลาดเกษตรอินทรีย์ไทย
โครงการสำคัญ ปี 2556 สำนักส่งเสริมสุขภาพ
ภารกิจ ศธภ./ศธจ..
น.พ.เฉวตสรร นามวาท ผู้อำนวยการสำนักวัณโรค
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
ชวนคิดชวนคุยลุยงาน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และการป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
4 เมษายน 2561 โดย นพ.ธานินทร์ โตจีน ประธาน MCH Board เขตสุขภาพที่ 4
ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
Health Promotion & Environmental Health
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการให้คำแนะนำ
นพ.โภคิน ศักรินทร์กุล โรงพยาบาลลำพูน
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
รวบรวมข้อมูลโดย กลุ่มแผนงานงบประมาณอุดมศึกษา สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
หลักการและแนวทาง การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาและการบริหารราชการ ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค.
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
สู่สุขภาพและคุณภาพชีวิต
การซักซ้อมความเข้าใจในการเบิกค่าตอบแทนให้กับเจ้าหน้าที่ ตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข ที่บังคับใช้ในปัจจุบัน.
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
แนวทางการจัดทำคำของบประมาณเพื่อสนับสนุนแผนพัฒนาจังหวัด
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
(Promotion and Prevention Excellence) นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
ก้าวสู่ปีที่ 10 จาก การรณรงค์ป้องกันการติดเชื้อรายใหม่ในกลุ่มMSM สู่การ ยอมรับ เข้าใจ ไม่มีการติดเชื้อใหม่ใน MSM/TG ดนัย ลินจงรัตน์ ผู้อำนวยการสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย.
PMQA ปี 53 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ SP ส่วนราชการ SP 5 ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน(สำนัก/กอง)
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
ลำพูน นายพงษ์ธาดา แก้วกมล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโยธาธิการ
นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
แนวทางการจัดทำ งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
สิงหาคม 2558.
กรอบแนวทางในการจัดทำงบประมาณ แผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
นโยบายและทิศทางการส่งเสริมสุขภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
บรรยายการปรับแผนพัฒนาฝีมือแรงงานในมิติ
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
สมุทรสงคราม -ว่าง- นายธีระชาติ ไทรทอง นางภาวดี ภูมรินทร์
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
ท.พ. สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการกองทันตสาธารณสุข
Public Health Nursing/Community Health Nursing
“แนวทางการจัดสรรงบประมาณและ การตรวจสอบประเภทเงิน”
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย
แนวทางการจัดทำและการขับเคลื่อน แผนปฏิบัติการ สพฐ.
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2555 ณ โรงแรมหินสวยน้ำใสรีสอร์ท จังหวัดระยอง โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

แนวคิดและกลยุทธ์การส่งเสริมสุขภาพ

สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ กฎบัตรออตตาวาว่าด้วย การส่งเสริมสุขภาพ เพิ่มความสามารถของชุมชน สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ พัฒนา ทักษะ ส่วนบุคคล Enable Mediate Advocate ปรับระบบบริการสุขภาพ สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ

กฎบัตรกรุงเทพ : กลยุทธ์การส่งเสริมสุขภาพในยุคโลกาภิวัฒน์ นโยบาย โครงสร้างพื้นฐาน ปฏิบัติการ พันธมิตร การลงทุน พัฒนานโยบาย ภาวะผู้นำ การปฏิบัติที่ดี การจัดการความรู้ รู้เท่าทันสุขภาพ กฎบัตรกรุงเทพ เพื่อการส่งเสริม สุขภาพ พันธสัญญาสู่สุขภาพดีถ้วนหน้า ทำให้การส่งเสริมสุขภาพ วาระการพัฒนาโลก ความรับผิดชอบของรัฐ เป้าหมาย ชุมชน ประชาสังคม ข้อกำหนดที่ดีของบรรษัท การสร้าง ศักยภาพ การสร้าง กระแส กฎหมาย กฎ ระเบียบ

กลยุทธ์การส่งเสริมสุขภาพโลก ครั้งที่ 7 Nairobi call to action ภาวะผู้นำ Community Empowerment Partnership & Intersectoral Action Individual Empowerment ข้อมูล เชิงประจักษ์ Building Capacity นโยบาย Strengthening Health System การทำงานเป็นระบบ การพัฒนาทักษะ

เสริมสร้างความเข้มแข็งระบบสุขภาพ ไนโรบี : วิถีสู่การปฏิบัติ พัฒนาศักยภาพ รู้เท่าทันสุขภาพ ภาวะผู้นำ ไนโรบี : วิถีสู่การปฏิบัติ ข้อมูล เชิงประจักษ์ นโยบาย การทำงาน เป็นระบบ การพัฒนา ทักษะ เสริมสร้างความเข้มแข็งระบบสุขภาพ เสริมสร้าง พลังชุมชน พันธมิตร

แนวคิดและทิศทางการพัฒนาสุขภาพใหม่ สุขภาพสู่สุขภาวะองค์รวม สร้างนำซ่อม - การส่งเสริมสุขภาพ จาก Ottawa สู่ Bangkok Charter – Health for All สู่ All for Health การบริหารแบบบูรณาการ – การบริหารคุณภาพ องค์กรแห่งการเรียนรู้ – การจัดการความรู้ พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐(ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ ๑๒๔ ตอนที่ ๑๖ ก วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๐) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙ แผนยุทธศาสตร์ทศวรรษกำลังคนด้านสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๙ นโยบายด้านสุขภาพ การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ

ยุทธศาสตร์เฉพาะ ระดับชาติ ของรัฐบาล (Agenda) ยุทธศาสตร์กระทรวง การบูรณาการใน ๓ มิติ การวางแผน ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ การนำ สู่การปฏิบัติ การติดตาม กำกับ ประเมินผล ยุทธศาสตร์เฉพาะ ของรัฐบาล (Agenda) ระดับชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวง (Function) ระดับกระทรวง ยุทธศาสตร์พื้นที่ (Area) ระดับจังหวัด

บทบาทกรมอนามัย ข้อมูล วิจัย&พัฒนา ติดตามประเมินผล คุ้มครองผู้บริโภค บริหารจัดการ จัดการความรู้ สุขภาพดี สิ่งแวดล้อมดี ชีวีมีสุข บทบาทกรมอนามัย สนับสนุนผู้ให้บริการ ข้อมูล พันธมิตรกับแหล่งทุน เฝ้าระวัง ติดตามประเมินผล พัฒนากำลังคน

แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ปี 2556-2566

ผลกระทบ ระดับชาติ 10 ปี ผลลัพธ์ 3-5 ปี ผลลัพธ์1-2 ปี กระบวนการ วิสัยทัศน์ : ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน ผลกระทบ ระดับชาติ 10 ปี อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 70 ปี ผลลัพธ์ 3-5 ปี เด็ก สตรี 1. อัตราตายมารดาไม่เกิน 18 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน [31.8 : 100,000 การเกิดมีชีพ (ปี 2553) ] เด็กวัยรุ่น วัยเรียน 1. อัตรามารดาอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อพันประชากร [ 54.9 : 1,000 ประชากร (ปี 2554)] 2. เด็กวัยเรียนเป็นโรคอ้วน ไม่เกินร้อยละ 15 [ร้อยละ 17 (ปี 2554)] ผลลัพธ์1-2 ปี เด็ก สตรี 2. ร้อยละของภาวะขาดออกซิเจนระหว่างคลอด ไม่เกิน 25 ต่อการเกิดมีชีพพันคน[27.3/25.18/26.65 ในปี 2552/2553/2554 ตามลำดับ ] 3. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ไม่น้อยกว่า 60 [ 50.3 (ปี 2554) ] เด็กปฐมวัย 7. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยได้รับการดูแล/กระตุ้นพัฒนาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 [ ร้อยละ 80 (ปี 2554) ] 8. ร้อยละของเด็กปฐมวัย (3 ปี) มีปัญหาฟันน้ำนมผุ ไม่เกิน 57 [ ร้อยละ 61.4 (ปี 2550) ] เด็กวัยรุ่น วัยเรียน 4. ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-12 ปี) มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนไม่น้อยกว่า 70 [ร้อยละ 65 (2552)] วัยทำงาน 2. ร้อยละของสตรีที่มีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ไม่น้อยกว่า 80 [ ร้อยละ 74.4 (ปี 2555) ] (เพิ่ม) ร้อยละของหญิงและชายอายุ 15 ปีขึ้นไป ไม่อ้วน ผู้สูงอายุ 7. ร้อยละของผู้สูงอายุ ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาทักษะทางกาย และ ใจ ไม่น้อยกว่า 80 [ ผ่านเกณฑ์“ตำบลต้นแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว” 701 ตำบลจาก 861 ตำบลที่เข้าร่วมกระบวนการ ] กระบวนการ ระบบบริการ 2. ร้อยละของ ANC คุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 [ ร้อยละ 30-40 ใน 14 จังหวัด ] 3. ร้อยละของ WCC คุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 [ ร้อยละ 38 ใน 14 จังหวัด ] 4. ร้อยละของ ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ (ระดับดีและดีมาก) ไม่น้อยกว่า 70 [ ศูนย์เด็กเล็กทั่วประเทศ 20,043 แห่ง ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน 5,516 แห่ง (ร้อยละ 27.52) ระดับดี 7,421 แห่ง (ร้อยละ37.03) และระดับดีมาก 6,439 แห่ง (ร้อยละ 32.12) ]

แนวคิดและโครงการสำคัญ ปีงบประมาณ 2556

(การส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัยอย่างองค์รวม) ระบบบริการคุณภาพ โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว (การส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัยอย่างองค์รวม) ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด/หลังคลอด คลินิกสุขภาพเด็กดี  ฝากครรภ์คุณภาพ - ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ - คัดกรอง Thal / HIV  โรงเรียนพ่อแม่  อาหาร และโภชนาการ  ทันตสุขภาพ ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว  รพ.ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย  รพ.สายสัมพันธ์แม่-ลูก  โรงเรียนพ่อแม่  คลินิกนมแม่  คัดกรองทารกแรกเกิด - Thyroid / PKU  ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว  WCC คุณภาพ  โรงเรียนพ่อแม่  ตรวจพัฒนาการเด็ก  โภชนาการ  นิทาน ของเล่น  ทันตสุขภาพ  ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว ชุมชน ชมรมเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ / ชมรมแม่อาสา/ ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว ผลลัพธ์  ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน 30 ต่อพันการเกิดมีชีพ  ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 7 หรือลดลงจากเดิมปีละ ร้อยละ 0.5  เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ร้อยละ 25 หรือ เพิ่มขึ้นจากเดิมปีละ ร้อยละ 2.5  เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 90 %

หญิงตั้งครรภ์ / คลอด / หลังคลอด ก่อนตั้งครรภ์ ลดการตั้งครรภ์วัยรุ่น ลูกครบ 32 สมองดี บริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น มุมเพื่อนใจวัยรุ่น พรบ. คุ้มครองอนามัยการเจริญพันธุ์ เกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า เด็ก 3 - 5 ปี คลินิกสุขภาพเด็กดี วิตามินเสริมธาตุเหล็ก ศูนย์เด็กเล็กเรียนรู้ สรรถนะผู้ดูแลเด็ก รพ.สต. / อสม. กิน กอด เล่น เล่า การส่งเสริม หญิงตั้งครรภ์ / คลอด / หลังคลอด คลินิกฝากครรภ์คุณภาพ โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว วิตามินเสริมแร่ธาตุสำคัญ โรงเรียนพ่อแม่ รพ.สต. / อสม. พัฒนาการ เด็กปฐมวัย แรกเกิด - 3 ปี คลินิกเด็กดีคุณภาพ วิตามินเสริมธาตุเหล็ก หนังสือเล่มแรก รพ.สต. / อสม. กิน กอด เล่น เล่า

การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 1. หนังสือเล่มแรก พัฒนาเจ้าหน้าที่สาธารณสุข มอบนิทานเด็กทุกคน อสม. ส่งเสริม/ติดตาม ผลลัพธ์ เด็กปฐมวัย สมส่วนพัฒนาการสมวัย ศูนย์เด็กเล็กเรียนรู้ ทักษะบุคลากรสาธารณสุข/ ผู้ดูแลเด็ก การมีส่วนร่วมของชุมชน 2. พัฒนาคุณภาพ ศูนย์เด็กเล็ก พัฒนาครูพี่เลี้ยง จัดทำสื่อสนับสนุน ประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก 4. การบริหารจัดการ รพ.สต. นิเทศ ติดตาม พ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก สร้างกระแสสังคม ประเมินโครงการ 3. อสม./องค์กรปกครองท้องถิ่น พัฒนาศักยภาพ อปท. มีส่วนร่วม สนับสนุน เยี่ยมติดตาม

โครงการสำคัญปี2556 1.โครงการพระราชดำริ - รพ.สายใยรักแห่งครอบครัว เป้าหมาย - รพ.สายใยรักแห่งครอบครัวผ่านเกณฑ์ระดับทองร้อยละ 95 - รพ.สต. ผ่านเกณฑ์ รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว ร้อยละ 35 ของอำเภอ (อำเภอละ 1 ตำบล)

2.โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัย อย่างองค์รวม (EWEC) 2.1 การดูแลหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ 2.2 การดูแลสุขภาพเด็กแรกเกิด-2 ปีอย่างมีคุณภาพ 2.3 การดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ(3-5ปี)

เป้าหมายการดำเนินงาน 1.อัตราตายมารดาไม่เกิน 18:100,000 การเกิดมีชีพ 2.หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ร้อยละ 60 3.ภาวะขาดออกซิเจนระหว่างคลอด ไม่เกินร้อยละ 25:1,000 การเกิดมีชีพ 4.ANC คุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 5.WCC คุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 6.ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1.โครงการพระราชดำริ การส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร เป้าหมาย - บุคลากรและประชาชนในพื้นที่เป้าหมายเฉพาะ ได้รับการพัฒนา ด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 2,500 คน 2.โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ - โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับเพชร 154 แห่ง 3.โครงการเด็กไทย ทำได้

ส่งเสริมสุขภาพวัยทำงาน 1. การป้องกันมะเร็งเต้านมในสตรี เป้าหมาย - สตรีอายุ 30 -70 ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองร้อยละ 80 2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ - โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 180 แห่ง 3.ส่งเสริมสุขภาพชาย – หญิงวัยทอง 4.ส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ

แนวคิดการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ แพทย์/พยาบาล ฯลฯ - บริการโรคเรื้อรัง - สมรรถนะ - ระบบส่งต่อ ผู้ช่วยผู้ดูแล หลักสูตร มาตรฐาน พัฒนาสมรรถนะ ต้องพึ่งคนอื่น - บริการทางการแพทย์ - การดูแล กาย ใจ สังคม กองทุนเงินออม แห่งชาติ ส่งเสริมสุขภาพ ไร้พุง คัดกรอง สมองดี อาสาสมัคร สภา / ชมรม นโยบายที่บูรณาการ ยุทธศาสตร์ที่ปฏิบัติได้ คุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ พึ่งตนเอง ช่วยคนอื่นได้ ผู้ช่วยผู้ดูแล - หลักสูตร - มาตรฐาน - พัฒนาศักยภาพ การดูแลในชุมชน - อาสาสมัคร - ชมรม - พระ - ระบบบริการทางการแพทย์คุณภาพ - การมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ดูแลตนเองได้บ้าง - การดูแลทางกาย ใจ - การดูแลทางสังคม การดูแลที่บ้าน ศูนย์ดูแลกลางวัน วัดส่งเสริมสุขภาพ

โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ การส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่พึงประสงค์ การดูแลผู้สูงอายุในชุมชน การพัฒนาความพร้อมตามเกณฑ์สถานบริการรองรับผู้สูงอายุ วัดส่งเสริมสุขภาพ เป้าหมาย ผู้สูงอายุที่ได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

สวัสดี