การค้นหาโอกาสพัฒนาจากการทบทวนเวชระเบียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
รพ.พุทธมณฑล.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
RCA อย่างเรียบง่ายและได้ผล
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) 6 กรกฎาคม 2559
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
COMPETENCY DICTIONARY
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
การส่งต่อข้อมูลเฉพาะโรคโดยใช้ โปรแกรม ThaiRefer
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
ปัญหาที่พบในการเรียกเก็บชดเชย
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยรับยาต้านไวรัสเอดส์
NKP Nursing Care Model : Integrated of Care from Entry to COC
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การติดตาม (Monitoring)
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
CLT Profile ภาควิชา/ทีมนำทางคลินิก
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
ศูนย์รับเรื่องราวร้องเรียน รพ.บางไทร
Service Profile หอผู้ป่วย กุมารเวชกรรม
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การค้นหาโอกาสพัฒนาจากการทบทวนเวชระเบียน รศ.พญ.ยุวเรศมคฐ์ สิทธิชาญบัญชา อ.กนกรัตน์ แสงอำไพ

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ สามารถทบทวนเวชระเบียนเพื่อเรียนรู้จุดแข็ง จุดอ่อนในกระบวนการดูแลรักษา สามารถนำผลการทบทวนมาวิเคราะห์สาเหตุ นำสู่การปรับปรุงกระบวนการดูแลรักษาและระบบงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผลลัพธ์การดูแลรักษาดีขึ้น ออกแบบให้การทบทวนอยู่ในการทำงานประจำ 2

คุณค่าจากการทบทวนเวชระเบียน ข้อมูลใดที่ทีมต้องการนำไปใช้ประโยชน์จากการทบทวนเวชระเบียน? การทบทวนเวชระเบียนโดยใช้แนวคิดการตามรอยกระบวนการดูแลรักษาจะทำให้เห็นจุดแข็ง จุดอ่อนของกระบวนการดูแลรักษา ข้อมูลที่ได้มีคุณค่าอย่างมากต่อการนำไปปรับปรุงเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการดูแลผู้ป่วย 3

ภาระงานมากเป็นอุปสรรคต่อการทบทวน? ภาระงานมาก ยิ่งต้องทบทวนว่าอะไรคือข้อมูลที่จำเป็น การทบทวนต้องนำมาสู่ความเข้าใจว่าอะไร คือข้อมูลที่จำเป็นและเป็นประโยชน์ ถ้าไม่มีการทบทวน จะยิ่งเสียเวลากับเรื่องไม่จำเป็น ไม่มีโอกาสสร้างคุณค่าใหม่ๆ ให้กับผู้รับบริการ ออกแบบให้สามารถใช้ช่วงเวลาการปฏิบัติงานปกติในการทบทวนเวชระเบียน ตามรอยทางคลินิกอย่างเรียบง่าย ด้วยเวลาสั้นๆ 4

ปัญหาที่พบจากการทบทวนเวชระเบียน ? 5

ปัญหาที่พบจากการทบทวนเวชระเบียน การบันทึกข้อมูลที่ไม่เพียงพอ ขาดความครอบคลุมปัญหา ขาดความต่อเนื่อง การประสานงานภายในทีมดูแลรักษา การประเมินที่แยกส่วน ขาดการประสานการประเมินร่วมกันในทีม การประเมินที่ไม่ครอบคลุมองค์รวม การประเมินซ้ำที่ไม่เหมาะสมกับความรุนแรงของการเจ็บป่วย แผนการดูแลที่ไม่ได้ระบุเป้าหมายร่วมกันอย่างชัดเจน ขาดการสื่อสารแผนร่วมกันในทีมอย่างชัดเจน การเฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลง ก่อนผู้ป่วยเข้าสู่ภาวะวิกฤต อาการทรุดลง อย่างทันการณ์ 6

ปัญหาที่พบจากการทบทวนเวชระเบียน การให้ข้อมูล เสริมพลังที่มีความเหมาะสม สอดคล้องกับปัญหาของผู้ป่วยรายบุคคล การวางแผนจำหน่าย ที่มีความคลอบคลุมตามปัญหาความต้องการของผู้ป่วย ครอบครัว และทีมสหวิชาชีพมีส่วนร่วมในการวางแผนจำหน่ายกับครอบครัวผู้ป่วย การประสานข้อมูลในการส่งต่อการดูแลต่อเนื่อง ที่ระบุปัญหา ความต้องการผู้ป่วย ครอบครัวอย่างชัดเจน และกำหนดเป้าหมายในการดูแลต่อเนื่องร่วมกัน 7

การพัฒนากระบวนการดูแลผู้ป่วย การกำหนดตัวชี้วัดที่จะใช้ประเมินความสำเร็จ มิติคุณภาพมีส่วนสำคัญต่อการกำหนดเป้าหมาย 8

9

การทบทวนเวชระเบียนตามมิติคุณภาพ Accessibility ผู้ป่วยรายนี้มีปัญหาในการเข้าถึงหรือไม่ อย่างไร? Timeliness เราได้ตอบสนองและให้การดูแลผู้ป่วยในเวลาที่เหมาะสมหรือไม่ Appropriateness เราได้ใช้ข้อมูลวิชาการเป็นพื้นฐานในการดูแลผู้ป่วยรายนี้อย่างไร เราสามารถอธิบายเหตุผลในการตัดสินใจ ณ ขั้นตอนต่างๆในการดูแลอย่างเหมาะสมเพียงใด เราได้บันทึกเหตุผลนั้นไว้ในเวชระเบียนหรือไม่ People-centered เราได้ประเมินความต้องการของผู้ป่วยรายนี้อย่างรอบด้านแล้วหรือไม่ มีความต้องการอะไร ที่ยังไม่ได้รับการตอบสนอง เราได้ใช้หัวใจและมิติด้านจิตวิญญาณในการดูแลผู้ป่วยรายนี้เพียงใด 10

การทบทวนเวชระเบียนตามมิติคุณภาพ Safety ผู้ป่วยรายนี้มีภาวะแทรกซ้อน/ความเสี่ยงที่จะเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์อะไรบ้าง เราได้จัดการกับภาวะแทรกซ้อนหรือป้องกันความเสี่ยงอย่างดีที่สุดแล้วหรือไม่? Effectiveness เราได้สั่งการตรวจรักษาอย่างรอบคอบโดยคิดถึงทางเลือกและความคุ้มค่าของทางเลือกต่างๆแล้วหรือไม่ เราสามารถอธิบายเหตุผลในทุกคำสั่งการตรวจรักษาได้หรือไม่ เราได้ใช้ผลการตรวจ Investigate ต่างๆและทบทวนความจำเป็นในการสั่งตรวจเหล่านั้นหรือไม่ ผลลัพธ์การดูแลเป็นไปตามเป้าหมายที่ควรจะเป็นหรือไม่ เราได้เรียนรู้อะไรจากผู้ป่วยรายนี้ Continuity ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องดีหรือไม่ในระหว่างเวรต่างๆ หรือเมื่อมีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปตามจุดบริการต่างๆ หรือเมื่อมีการส่งต่อ รวมทั้งความต่อเนื่องระหว่างการดูแลที่ รพ.และที่บ้าน 11

การทบทวนคุณภาพและความปลอดภัย ในขั้นตอนต่างๆของการดูแลผู้ป่วย การรับผู้ป่วยไว้ในรพ. อะไรคือเหตุผลที่รับผู้ป่วยรายนี้ไว้ในรพ. การประเมินผู้ป่วย เราประเมินผู้ป่วยครอบคลุมเป็นองค์รวมหรือไม่ เราทำการตรวจวินิจฉัยในสิ่งที่ควรทำหรือไม่ เราประเมินซ้ำในเวลาที่เหมาะสม สอดคล้องกับปัญหา ความรุนแรงของผู้ป่วยรายนี้หรือไม่ อย่างไร การวินิจฉัยโรคและการระบุปัญหา การวินิจฉัยโรคของเราเหมาะสมและสอดคล้องกับข้อมูลที่เราได้รับจากการประเมินหรือไม่ อธิบายปัญหาที่นำผู้ป่วยมาหาเราได้หรือไม่ คลุมเครือหรือมากเกินกว่าสิ่งที่ได้จากการประเมินหรือไม่ การวางแผนการดูแล การวางแผนตอบสนองปัญหาที่ระบุไว้ทุกประเด็นหรือไม่ แผนมีความชัดเจนในเป้าหมายการดูแลเพียงใด รูปแบบของแผนช่วยในการสื่อสารให้วิชาชีพที่เกี่ยวข้องรับรู้ได้ดีเพียงใด 12

การทบทวนคุณภาพและความปลอดภัย ในขั้นตอนต่างๆของการดูแลผู้ป่วย เราดูแลผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง เต็มความสามารถแล้วหรือไม่ เราดูแลปัญหาของผู้ป่วยครบถ้วนทุกปัญหาหรือไม่ เราตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยอย่างเหมาะสมหรือไม่ เราบันทึกความก้าวหน้าและเหตุผลในการตัดสินใจของเราไว้ในเวชระเบียนเพียงพอที่ผู้อื่นจะสามารถให้การดูแลต่อเนื่องได้หรือไม่ ผู้ป่วยนอนอยู่ใน รพ.นานเกินกว่าที่ควรหรือไม่ มีภาวะที่ไม่พึงประสงค์อะไรเกิดขึ้นบ้าง การจำหน่าย เราคาดการณ์ปัญหาและความต้องการที่จะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยหลังจำหน่ายไว้อย่างไร เราเตรียมพร้อมที่จะให้ผู้ป่วยและครอบครัวสามารถดูแลตนเองและแก้ปัญหาดังกล่าวอย่างไร เรามีระบบสนับสนุนเมื่อผู้ป่วยประสบปัญหาอย่างไร เรานัดหมายผู้ป่วยมาดูแลต่อเนื่องอย่างไร มีเป้าหมายและความคาดหวังอะไร 13

Needs & Experience of Patients ความปลอดภัยทางด้านร่างกาย : การผ่าตัดผิดคน ผิดข้าง ผิดที่ ผิดตำแหน่ง การได้รับภาวะแทรกซ้อนทางการรักษา การให้ผู้ไม่ชำนาญการรักษาพยาบาลมาดูแลรักษา ความปลอดภัยด้านจิตใจ : ความวิตกกังวลในแผนการรักษา ผลการรักษาหรือเปลี่ยนแปลงการรักษาที่ไม่ได้สื่อสาร ไม่มีใครใส่ใจรับฟังความรู้สึกเจ็บปวด อาการผิดปกติ การปฏิเสธการรักษาเนื่องจากสิทธิ/ ปฏิเสธการส่งต่อ ความปลอดภัยทางด้านสังคม : การไม่เคารพสิทธิ การเปิดเผยความลับ การสื่อสาร ตอบโต้ข้อมูลที่ไม่เป็นจริงทางสื่อ ความปลอดภัยทางด้านเศรษฐกิจ การเงิน : การเสียค่าใช้จ่ายสูงเกินความจำเป็น การไม่ชี้แจงค่าใช้จ่ายก่อน ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นหลังจากเกิดภาวะแทรกซ้อน สิ่งที่ผู้ป่วยรู้สึกกังวลนั้น เราสามารถนำมากระตุ้นเตือนในกระบวนการรักษาพยาบาลว่า มีการเตรียมความพร้อม ป้องกันประเด็นต่างๆอย่างไร รวมถึงสามารนำไปประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วยประจำวัน มีส่วนร่วมกับผู้ป่วยและญาติด้วยการเปิดใจรับฟังประเด็นที่ผู้ป่วยคำนึงถึงและกังวลใจ 14

Evidence & Professional Standard การเริ่มต้นด้วยความรู้วิชาการและการกำหนดเป้าหมาย การเริ่มต้นด้วยความรู้เชิงปฏิบัติที่ฝังอยู่ในตัวคน (Tacit knowledge) 15

Waste & Safety Unable to access, waiting ผู้ป่วยรายนี้มีโอกาสเข้าไม่ถึงบริการเรื่องใดที่สำคัญ หรือมีการรอผล/รอหัตการใดที่ล่าช้า ซึ่งอาจส่งผลกระทบกับความปลอดภัยของผู้ป่วย Delayed & wrong diagnosis ผู้ป่วยรายนี้มีโอกาสวินิจฉัยล่าช้า หรือวินิจฉัยคลาดเคลื่อนหรือไม่อย่างไร Delayed & wrong treatment ผู้ป่วยรายนี้มีโอกาสให้การรักษาล่าช้าหรือคลาดเคลื่อนประเด็นใดหรือไม่อย่างไร Over-use/under-use intervention & technology ผู้ป่วยรายนี้ได้รับหัตถการหรือเทคโนโลยีทางการรักษามากกว่าหรือน้อยกว่าที่ควรจะเป็นหรือไม่ 16

Waste & Safety Error & adverse event ผู้ป่วยรายนี้มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือความคลาดเคลื่อนทางการรักษาอย่างไรบ้าง Communication failure ผู้ป่วยรายนี้มีโอกาสสื่อสารข้อมูลสำคัญใดที่อาจก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อนทางการรักษา Co-ordination failure ผู้ป่วยรายนี้มีการประสานการรักษากับทีมสหสาขาครบถ้วนหรือไม่ มีการประสานใดที่มีโอกาสล่าช้าหรือไม่สัมฤทธิ์ผล Inadequate knowledge & skill การวินิจฉัยและรักษาที่เกิดขึ้นเกิดจากองค์ความรู้ที่ได้รับการพิสูจน์ยืนยันแล้วหรือไม่ ทีมผู้ดูแลได้รับการฝึกมาอย่างถูกต้องและมีความชำนาญเพียงใด 17

Thai HA Trigger tool คัดกรองเวชระเบียนที่มีโอกาสพบ AE มาทบทวนให้มีโอกาสได้รับรู้และเรียนรู้ AE มากที่สุด ทำอย่างไรให้การใช้ Trigger tool อยู่ในงานประจำ 18

จะดูการบันทึกตรงส่วนใดเพื่อประเมินคุณภาพ การเข้าถึงที่รวดเร็ว ทันเวลา การประเมินที่ครอบคลุมปัญหาสำคัญ / รวดเร็ว / ถูกต้อง การวินิจฉัยโรคที่ชัดเจนโดยมีข้อมูลสนับสนุน การกำหนดเป้าหมายการดูแลที่ชัดเจน การเฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย การให้การดูแลอย่างเหมาะสม ปลอดภัย ทันเวลา การเสริมพลังผู้ป่วยและการสร้างเสริมสุขภาพ การดูแลต่อเนื่องที่ตอบสนองตามปัญหา ความต้องการผู้ป่วย 19

ถ้าจะตอบคำถามเหล่านี้ จะค้นหาข้อมูลจากเวชระเบียนตรงส่วนใด ถ้าจะตอบคำถามเหล่านี้ จะค้นหาข้อมูลจากเวชระเบียนตรงส่วนใด 20

การตามรอยเพื่อประเมินคุณภาพการดูแล เป้าหมายการดูแลรักษาที่ทีมกำหนดไว้ ? (จาก ...... NEWS) ตามรอยจากบันทึกในเวชระเบียนใบใด? ( ... Critical Care process?) ใช้มิติคุณภาพใด? ตั้งคำถาม : How to? Why? 21

ค้นหาข้อมูลจากเวชระเบียน ดูใบสรุป Chart ว่าวินิจฉัยอะไร นอน รพ.นานเท่าไร มีการผ่าตัดอะไร มีการรักษาสำคัญอะไร มีภาวะแทรกซ้อนอะไร ผลลัพธ์เป็นอย่างไร การประเมินแรกรับสอดคล้องกับอาการนำอย่างไร การสั่งตรวจ Lab / X-ray /การตรวจอื่นๆที่สำคัญ มีการบันทึกผลหรือไม่ อย่างไร มีการเปลี่ยนแปลงการวินิจฉัยโรคอะไรบ้าง ในช่วงเวลาใด ด้วยข้อมูลอะไร ตอบสนองต่อการรักษาอย่างไร การสั่งใช้ยาที่สำคัญอะไรบ้าง บันทึกการให้ยาสะท้อนการให้ที่ถูกต้องหรือไม่ - Doseแรก 22

ค้นหาข้อมูลจากเวชระเบียน ใบบันทึกสัญญาณชีพ มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญอะไร ในช่วงใด ทีมสหวิชาชีพบันทึกเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตจากสัญญาณชีพอย่างไร Progress note , บันทึกทางการพยาบาล มีการวิเคราะห์สาเหตุและความเหมาะสมของการวางแผนการรักษา/ ปรับเปลี่ยนแผนการรักษาอย่างไร มีบันทึกที่อธิบายการเปลี่ยนแปลงหรือประเมินการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวหรือไม่ การให้ข้อมูล การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนจำหน่ายเป็นอย่างไร 23

พิจารณาข้อมูลจากเวชระเบียน พิจารณาความเหมาะสมของข้อมูลสนับสนุนการวินิจฉัยโรคในแต่ละช่วงเวลา ประวัติครบถ้วนเพียงใด การตรวจร่างกายครบถ้วนเพียงใด มีการตรวจ investigate ที่จำเป็นหรือไม่ การวินิจฉัยเกินกว่าข้อมูลสนับสนุนที่มีอยู่หรือ พิจารณาการใช้ประโยชน์จากข้อมูลการตรวจ Lab / X-ray /การตรวจอื่นๆที่สำคัญ พิจารณาว่าการดูแลที่ให้แก่ผู้ป่วยมีความเหมาะสมหรือไม่ : ความรวดเร็ว การตอบสนองต่อภาวะวิกฤติ , การดูแลอย่างเป็นองค์รวม , การใช้ evidence/guideline ? 24

พิจารณาข้อมูลจากเวชระเบียน บันทึกเวชระเบียนทำให้ทราบการเปลี่ยนแปลงทางคลินิก/ผลลัพธ์ของการรักษาต่างๆไหม? พิจารณาประสิทธิภาพการสื่อสาร ส่งต่อข้อมูลร่วมกันในทีม ระหว่างหน่วยงาน พิจารณาการเตรียมความพร้อมผู้ป่วย / ครอบครัวก่อนจำหน่ายเหมาะสมกับปัญหาผู้ป่วยไหม? 25

การตามรอยการใช้ข้อมูลวิชาการ แนวทางปฏิบัติ/มาตรฐานในการดูแลผู้ป่วย พิจารณาว่าแนวทางฯ/ มาตรฐานที่ใช้เกี่ยวข้องกับกระบวนการดูแลผู้ป่วยในขั้นตอนใด พิจารณาว่ากระบวนการนั้น มีโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงหรือปัญหาการประสานงานอย่างไร ศึกษาว่าแนวทางฯ / มาตรฐานนั้นได้ระบุแนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกัน ความเสี่ยงหรือเพื่อให้เกิดการประสานงานที่ดีอย่างไร นำประเด็นดังกล่าว วางแผนการทบทวนเวชระเบียน 26

ฝึกการใช้ Timeline เพื่อบันทึกเหตุการณ์ 27

การใช้ Timeline เพื่อบันทึกเหตุการณ์ เรื่องราวจากมุมมองของผู้ป่วย ผู้ป่วยไปพบแพทย์ที่ รพท. (ก) ด้วยอาการปวดท้อง จุดหน้าอกตรงลิ้นปี่ คลื่นไส้ อาเจียน แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคกระเพาะ จึงสั่งยาให้กลับบ้าน กินยาแล้วยังอาเจียนอยู่ ไปพบแพทย์ตอนเย็นวันรุ่งขึ้น แพทย์ให้น้ำเกลือและนอนดูอาการ 1 คืน วันรุ่งขึ้นให้กลับบ้าน ผู้ป่วยแจ้งว่าตาและตัวเริ่มเหลืองมากขึ้น แพทย์จึงมาดูอาการ สั่งเจาะเลือดไปตรวจและให้น้ำเกลืออยู่ห้องฉุกเฉิน 1 คืน วันต่อมาส่งตัวไปให้แพทย์ตรวจและส่งตรวจอัลตร้าซาวนด์ พบว่าเป็นโรคตับอักเสบและอาจเป็นนิ่ว รับไว้รักษาใน รพ. โดยให้น้ำเกลือตลอด และได้ส่งตรวจอัลตร้าซาวนด์อีกครั้ง แพทย์แจ้งว่าเกล็ดเลือดต่ำมากอยู่ที่สามหมื่นกว่า ฉีดยาให้และนอนรักษาต่อ เพื่อดูผลการเพาะเชื้อจากห้องปฏิบัติการ หลังจากนั้นแจ้งว่าจะส่งต่อไปรักษาต่อที่ รพศ. 28

29

วิเคราะห์จุดเปลี่ยน 30

การตามรอยเพื่อประเมินคุณภาพการดูแล - เป้าหมายการดูแลรักษาที่ทีมกำหนดไว้ ? (จาก ...... NEWS) - ตามรอยจากบันทึกในเวชระเบียนใบใด? ( ... Critical Care process?) - ใช้มิติคุณภาพใด? - ตั้งคำถาม : How to? Why? ตอบคำถาม :  How to? Why?  สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว? , สิ่งที่ยังไม่ได้ทำ?, ทำได้ไม่ดี? ปรับปรุง? 31

Doppler U/S : lt thrombosis lt. femoral , Chest film เช้าวันพรุ่งนี้ ผู้ป่วยชาย อายุ 85 ปี no underlying disease มาถึง รพ. 19.30 มาด้วยอาการอักเสบขาซ้าย บวมแดงตั้งแต่ใต้เข่าถึงหัวแม่เท้า คลำอุ่นไม่ปวด ไม่มีไข้ เป็นมา 1 วัน V/S แรกรับ BT 37.4 C PR 150 /min RR 18 /min BP 100/60 mmHg BW 48 Kg Height 165 cm void ออกน้อย แดง void บ่อย , EKG : AF & RVR LAB 19.41 น. : CBC [Hct 29 % Plt 256000, Wbc 42400] , PT/INR , Cr , albumin, U/A , PSA Doppler U/S : lt thrombosis lt. femoral , Chest film เช้าวันพรุ่งนี้ Dx Cellulitis ± DVT lt AF , Plan work up Malignancy การรักษา at ER : 21.55 น. Warfarin [2] 1 tab oral , Lasix [40] oral stat , 22.00 Enoxa 0.4 SC Cordarone 150 mg dilute 20 cc V slow push in 10 min then 850 mg + NSS 250 cc V drip in 24 hrs- Monitor EKG Keep HR 60-160 / min 23.30 น. Admit เข้า Ward .. On lock no IVF , Cef 3 2 gm IV , Cloxa 1 gm IV 24.00 น. good conscious R 20-24/min ฟัง lung : clear both lung HR 153 irregular on Monitor EKG พบ AF BP 75/50mmHg MAP 58 O2 sat 96 % 0.12 น. รายงานแพทย์ BP แขนขวา 72/37 mmHg แขนซ้าย 75/42 mmHg MAP 58 ไม่เหนื่อย ไม่มีเจ็บหน้าอก ไม่มีหน้ามืด ใจสั่น HR 124 -153 / min irregular 0.47 น. 0.9 % NSS v load 400 ml keep BP 80/50 mmHg MAP 60 .. BP 76/54 mmHg P 129-130/min MAP 54 32

1.02 น. load IVF ต่อ 200 ml ... BP 80/50 mmHg P 140-150/min irregular MAP 60 2.15 น. T 38 C Paracet [500] 2 tabs oral 2.00-5.00 น. BP 80/50 79/48 mmHg MAP ≥60 P 131 94 /min RR 20 /min, Urine output..??? 6.25 น. DTX 40 % BP 96/61 mmHg MAP 76 HR 78-100/ min ถามตอบรู้เรื่องดี มีเหงื่อชื้น 6.27 น. 50% Glucose 50ml V push , 10% D/NSS/2 1000 ml V drip 40 ml/hr , ลด rate IVF 0.9% NSS V drip 60 ml/hr [จาก 100 ml/hr] ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย 7.00 หลัง push glucose และเปิด IVF 1 เส้น ผู้ป่วยไม่มีเหงื่อชื้น ไม่มีแน่นหน้าอก ใจสั่น 7.30 Flush และเปลี่ยน pampers ให้ผู้ป่วย ถ่ายปกติ 1 ครั้ง 7.40 น. รายงานแพทย์ Conscious worse ลง E1V1M1 PR 40/min Flow IVF , CPR on ET Tube no 7 8.01-8.34 Adrenaline q 3 min x 12 amps 8.07 , 8.34 น. Adrenaline 12 amps + 5%D/W 100ml v flow x II DTX 140 mg% 8.22 Atropine 1 amp V , 8.32 น. MgSO4 2 gm, 8.34 น. Defib 120 J X I 8.45 น. หลังจากคุยกับญาติเข้าใจพยาธิสภาพของโรค ยุติการ CPR สรุป Principal diagnosis : Cellulitis , Comorbidity : Septicemia , Atrial fibrillation 33

Workshop เป้าหมายการดูแลรักษาผู้ป่วยรายนี้คืออะไร ? ( จาก NEWS ) จะตามรอยกระบวนการดูแลรักษาใดจากบันทึกในเวชระเบียน (Critical Care process?) ดูจากเวชระเบียนใบใด? จะทบทวนโดยใช้มิติคุณภาพใด? การดูแลรักษาในขั้นตอนดังกล่าวเป็นอย่างไร? ประเด็นที่ทำได้ดีแล้ว? ประเด็นที่ยังไม่ได้ทำ / มีโอกาสพัฒนา ? จะทำให้ดีขึ้นอย่างไร ? 34

จะดูการบันทึกตรงส่วนใดเพื่อประเมินคุณภาพ กระบวนการดูแลรักษา มิติคุณภาพ แบบบันทึก Entry & Access Assessment Investigate Diagnosis Treatment Medication Reassess 35

37

Treatment Sepsis : ATB , IVF proper Diagnosis : Sepsis , DVT Treatment Sepsis : ATB , IVF proper Refer : DVT & Sepsis 38

มิติคุณภาพ ภาพใหญ่ของโรงพยาบาล Accessibility การเข้าถึง Appropriateness ความเหมาะสม Acceptability การยอมรับ Competency ความสามารถ Continuity ความต่อเนื่อง Coverage ความครอบคลุม Effectiveness ประสิทธิผล Efficiency ประสิทธิภาพ Equity ความเป็นธรรม Humanized/Holistic องค์รวม/ดูแลด้วยหัวใจ Responsiveness การตอบสนอง Safety ความปลอดภัย Timeliness ความรวดเร็ว/ทันการณ์

Adverse event Delayed diagnosis sepsis Complication : hypoglycemia, hypovolemia – Renal failure??? Delayed treatment of sepsis [ Load IVF, ATB ] Investigate blood sugar ตั้งแต่แรกรับ?, assess volume status Delayed investigate / Treatment of AF, delayed transfer to ICU/Refer [HR 150 ควร refer ) Inadequate work up for AF (ถ้าเป็นครั้งแรก หรือไม่รู้มาก่อน work up หาสาเหตุ... จาก hypoglycemia? ) Reassess : Inadequate monitoring urine output , Blood sugar , HR , V/S

Resus IVF : 30 cc/kg ใน ½ ชม.แรก (นน. 50 kgs ให้ 1500cc ใน ½ ชม.แรก) Golden period 3 ชม. แรก Resus IVF , และควรใช้ MEWS เป็น criteria refer (ใช้ EBP ) Score น่าจะประมาณ 4 -5 U/S Thrombosis – clot femoral ให้นึกถึง clot เหนือขาหนีบขึ้นไป บวมเลยเข่าขึ้นมา เส้นเลือดดำไม่มีลิ้นกั้น เกิด PE สูง ควร refer เมื่อทราบผล U/S

ระบบที่เกี่ยวข้อง PCT – Guideline : Early warning sign , Sepsis bundle , criteria refer (จาก MEWS Score, U/S thrombosis) MSO NSO X-RAYS : Case severe on call Drug : HAD (cordarone) เกณฑ์การให้ , การ Monitor BP ต่ำได้ , เป้าหมาย HR ที่ต้องการ 110 , case นี้ไม่ควรให้ Cordarone

จุดเปลี่ยน Refer 1. Doppler U/S : lt thrombosis lt. femoral เสี่ยง PE สูง 2.Sepsis – delay diag PR 150 BP 100/60 CBC – Delay ATB ไม่ให้ IVF อย่างเหมาะสม ใน 3 ชม.แรก 3.Investigate Chest film ช้าไป – R/O PE? 4.Assess แรกรับ BS ? Volume ขาดน้ำ? Work up for AE ? Treatment 1. IVF ใน 3 ชม.แรกไม่พอ load ตอน 0.12 , 0.47 ,1.02 ไม่ทันและไม่พอ 2.ATB มาให้ 23.30 น. 3.cordarone - ORDER keep HR 60-160 ต่ำไป ก่อนให้ก็ 156 แล้ว ไม่หา สาเหตุ AF ก่อนให้ Cordarone , เสี่ยงด้วยหาก load น้ำไม่พอ Cordarone ทำให้ BP ต่ำได้ ต้อง reassess HR , V/S, Urine output, BS , volume , cordarone เป็น HAD ต้องเฝ้าระวังให้เหมาะสม เกิด Hypoglycemia , Hypovol. Shock …..