สมองเสื่อม พญ. สิรินทร ฉันศิริกาญจน สาขาวิชาเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Palliative Treatment : From Cure to Care
Advertisements

โดย รศ.ประคอง อินทรสมบัติ
RN. M.Ed (Nursing Administration)
The prevention of progression of arterial disease and diabetes (POPADAD) trial: factorial randomised placebo controlled trial of aspirin and antioxidants.
Geriatric Case Conference
ANSI/ASQ Z1.4 Acceptance Sampling Plans
Diabetes mellitus By kraisorn inphiban.
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
นพ.นิวัฒน์ชัย นามวิชัยศิริกุล อาจารย์แพทย์ประจำสำนักวิชาแพทยศาสตร์
สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนา หลักประกันสุขภาพไทย Health Insurance System Research Office Social Protection Floor: Situation and Way Forward Thaworn Sakunphanit.
Skills Development and Lifelong Learning: Thailand in 2010s Tipsuda Sumethsenee Office of the Education Council Thailand’s Ministry of Education.
นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ
ความเท่าเทียม เพื่อเด็กไทยทุกคน
สมาชิก น.ส. กานต์ธีรา ปัญจะเภรี รหัสนักศึกษา ลำดับที่ 21 น.ส. มินลดา เหมยา รหัสนักศึกษา ลำดับที่ 22 น.ส. กรกฎ อุดมอาภาพิมล รหัสนักศึกษา
การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ตามรอยครู :
การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Moderate Class More Knowledge
Case study 4 Iron overload in thalassemia intermedia
Executive Functions of the Brain
Dementia prevention สิรินทร ฉันศิริกาญจน สาขาวิชาเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ
โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย Peripheral arterial disease
Andrographis paniculata
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
การส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล ในโรงพยาบาล RDU Hospital
โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ.
(Attention-Deficit Hyperactivity Disorder)
วสันต์ ลิมปเจต กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
การวัดและประเมินการปฏิบัติ
Burden of disease measurement
โครงการพัฒนาทีมจัดการระบบ การจัดการโรคเรื้อรัง ในระดับจังหวัดปี 2554
Facilitator: Pawin Puapornpong
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
Facilitator: Pawin puapornpong
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
การบำบัดรักษาทางสังคมจิตใจ สำหรับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ในการอบรมการบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ หลักสูตรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
การแบ่งส่วนตลาด การตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ Market Segmentation, Market Targeting, and Product Positioning การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
การจัดบริการอาชีวอนามัย สำหรับแรงงานสูงวัย
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
Rehabilitation in Spinal Cord Injury
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
นวัตกรรมการบริการสารสนเทศ ในยุคประเทศไทย 4.0
Obesity พญ. หทัยทิพย์ ต่างงาม โรงพยาบาลนครพิงค์.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยผู้สูงอายุ
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
บทที่ 6 การแบ่งส่วนตลาด การตลาด เป้าหมาย และการวางตำแหน่ง ผลิตภัณฑ์
EDT2303 การออกแบบเว็บไซต์เพื่อการศึกษา 3 (2-2-5)
การพยาบาลผู้ที่มีนึกคิดและการรับรู้ผิดปกติ : Dementia, Delirium
สารสื่อนำกระแสประสาท
การแบ่งส่วนตลาด การตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ Market Segmentation, Market Targeting, and Product Positioning การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
Public Health Nursing/Community Health Nursing
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care: LCT ) จังหวัดกำแพงเพชร
พว.พิมพ์วรา อัครเธียรสิน
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 7 การจัดการสุกร.
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมองเสื่อม พญ. สิรินทร ฉันศิริกาญจน สาขาวิชาเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี

เนื้อหา ความสามารถสมองมนุษย์ การวินิจฉัย ภาวะ สมองเสื่อม สาเหตุ สมองเสื่อม ระยะของผู้ป่วยสมองเสื่อม ชนิดอัลไซเมอร์ การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม ด้านสมรรถภาพสมอง ด้านอาการทางจิตประสาทและปัญหาพฤติกรรม ด้านการดูแล ทั่วไป

การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ John Houghlings Jackson “Law of cerebral structure / function dissolution” “วัยกลับ” “คนแก่กลายเป็นเด็กใหม่”

สมองเสื่อม สมองเดิมต้องดี ต้องทำได้ แล้วเลวลง เกี่ยวกับ ความรอบรู้ ความสามารถของสมอง จนมีผลต่อการใช้ชีวิตของผู้ป่วย (การงาน ส่วนตัว)

สมองเสื่อมจะสูญเสีย ความสามารถของสมอง หลายส่วน

ความสามารถของสมอง การรับรู้ จินตนาการ ความจำ เหตุผล ความคิด การตัดสินใจ

เกณฑ์การวินิจฉัย สมองเสื่อม เกณฑ์การวินิจฉัย สมองเสื่อม ผู้ป่วยจะต้องสูญเสียความสามารถ ความรอบรู้ของสมองอย่างน้อย 1 ด้าน ดังต่อไปนี้

การวินิจฉัยสมองเสื่อม คิด วางแผน จัดลำดับไม่ได้ ไม่เข้าใจเหตุผล:executive function พูดไม่ถูก เรียกไม่ถูก พูดไม่ได้:language มีปัญหาเรื่องการเรียนรู้สิ่งใหม่ ความจำ ความเข้าใจที่มีอยู่เดิมก็หายไป:learning & memory ยากลำบากในการใช้มือและอื่น ๆ ในการทำกิจกรรมต่างๆ:motor function ไม่มีสมาธิ ไม่จดจ่อสิ่งใด:attention บกพร่องในเรื่องการเข้าสังคม และการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในงานสังคมนั้น ๆ:social activities

รุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ บกพร่องลงจากระดับเดิม รุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ บกพร่องลงจากระดับเดิม ทำให้มีผลกระทบต่ออาชีพและสังคม ผู้ป่วยต้องรู้ตัวดี ไม่ให้การวินิจฉัยในช่วงที่มีอาการสับสนเฉียบพลัน

Normal Cognitive Aging Cognitive changes associated with truly healthy aging Memory Learning new information Compensatory strategies – enable to function independently Severity of cognitive changes – minimal and non-disabling

Mild Cognitive Impairment (MCI) Subjective memory impairment, preferably corroborated by an informant Objective memory impairment when compared with persons of similar age and education Normal general cognitive function Normal competence for activities of daily living Impairment not serious enough to meet criteria for dementia-DSMIV, NIN CDS/ADRDA

M C I D E M N T I A Alzheimer’s disease Vascular dementia Frontotemporal dementia Lewy body dementia Primary Progressive dementia Depression Mild cognitive impairment as a prodromal state for dementia that ultimately differentiates into a variety of clinical and pathological condition

สมองเสื่อมเกิดจากสาเหตุอะไรบ้าง 1.ปัญหาของสมองโดยตรง เป็นการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาท (neurodegenerative disease) เช่น โรคอัลไซเมอร์ โรคพาร์กินสัน เป็นต้น

อัลไซเมอร์ กับ สมองเสื่อม

สมองปกติ อัลไซเมอร์

Normal Hippocampus

Severe AD

Pathology of AD Outside : amyloid (senile) plague Inside : neurofibrillary tangle

สมองเสื่อมเกิดจากสาเหตุอะไรบ้าง 2.ปัญหาจากส่วนอื่น ๆ ของร่างกายแต่มีผลให้ความสามารถสมองเลวลง 2.1 ปัญหาหลอดเลือดสมอง 2.2 การปรวนของระบบในร่างกาย เช่น โรคเกี่ยวกับทัยรอย์ โรคตับ โรคไต

สมองเสื่อมจากปัญหาหลอดเลือดสมอง หลอดเลือดแดงใหญ่ตีบหลายตำแหน่ง

Vascular dementia Multiple lacunar infarction

Vascular dementia multiple subcortical white matter lesions (Leukoariosis)

สมองเสื่อมเกิดจากสาเหตุอะไรบ้าง 2.3 การขาดสารอาหาร การขาดวิตามิน บี 1 พบในผู้ที่ดื่มสุราเป็นประจำ การขาดวิตามินบี 12 พบใน ผู้ที่กินอาหารมังสวิรัติ์ติดต่อกันเป็น เวลานาน (> 10 ปี) ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดกระเพาะอาหารและ ลำไส้เล็กออกไป

อาการขาดวิตามินบี 12 ซีด เดินไม่ไหว ขาชา สมองเสื่อม

ขาดวิตามิน B12 ขาด B12 MCV สูง > 100 ซีด (Anemia) MCV = Mean corpuscular volume ในคนปกติ MCV 85 - 94 ขาดเหล็ก MCV ต่ำ 60 – 70 เม็ดเลือดแดงตัวเล็ก (microcytic anemia) ขาด B12 MCV สูง > 100 เม็ดเลือดแดงตัวโต (megaloblastic anemia)

สมองเสื่อมเกิดจากสาเหตุอะไรบ้าง 2.4 การติดเชื้อในสมอง ซิฟิลิส ติดเชื้อเอชไอวี สมอง/เยื่อบุสมองอักเสบ

สมองเสื่อมเกิดจากสาเหตุอะไรบ้าง 2.5 การกระทบกระเทือน กระแทกเสมอ ๆ ( เช่นนักมวย) 2.6 ปริมาณส่วนประกอบในสมองเพิ่มมากขี้น (space occupying lesion) เนื้องอกในสมอง โพรงสมองขยายใหญ่เนื่องจากน้ำเลี้ยงสมองคั่ง

Normal Pressure Hydrocephalus (NPH) โพรงสมองขยายใหญ่จากน้ำเลี้ยงสมองคั่ง อาการ สมองเสื่อม (Dementia) เดินผิดปกติ (Gait ataxia) กลั้นปัสสาวะไม่ได้ (Urinary incontinence) อาการสมองเสื่อมจะเป็นเร็วกว่ากลุ่มที่เกิดจาก การเสื่อมสลายของสมอง และมีอาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้ตั้งแต่ช่วงต้นที่มีอาการสมองเสื่อม

Normal Pressure Hydrocephalus (NPH) Pressure on frontal lobes Dementia Pressure on the cortical centre in the paracentral lobe Incontinence Pressure on the ‘leg fibers’ Gait disturbance

สมองเสื่อมเกิดจากสาเหตุอะไรบ้าง 2.7ยาหรือสารที่เป็นพิษ โดยเฉพาะยาที่มีผลต่อการทำงานของสมอง

Anticholinergic drug and dementia  

Anticholinergic drug and dementia  งานวิจัยที่เป็นหลักฐานที่ดีมากนี้เพิ่งตีพิมพ์ในวารสาร JAMA Intern. Med เมื่อสดๆร้อนเดือนมีค. 58 นี่เอง แต่วงการแพทย์ได้ทราบข้อมูลงานวิจัยนี้มาก่อนหน้านี้พักใหญ่แล้ว

Anticholinergic drug and dementia  ใช้คะแนน ACB (anticholinergic cognitive burden) scale เป็นตัววัด คือยิ่งมีคะแนน ACB scale สูงก็ยิ่งทำให้สมองเสื่อมมาก ซึ่งมีหลักการจำแนกเบื้องตันว่า      (1) ถ้าเป็นยามีฤทธิ์แอนตี้โคลิเนอร์จิกแต่ยังไม่มีหลักฐานชัดว่าทำให้ความจำเสื่อมก็ได้คะแนน ACB scale = 1 คะแนน      (2) ถ้าเป็นยาที่มีหลักฐานว่าทำให้ความจำเสื่อมแน่นอนแต่ผ่านม่านกั้นเข้าสมอง (blood brain barrier) ได้น้อยก็ได้ 2 คะแนน      (3) แต่ถ้าเป็นยาที่มีหลักฐานว่าทำให้ความจำเสื่อมแน่นอนและผ่านม่านกั้นเข้าสมองได้มากก็ได้ 3 คะแนน  

Anticholinergic drug and dementia คะแนน= 1 Alprazolam Atenolol Captopril Codeine Diazepam Digoxin Furosemide Prednisone Nifedipine Warfarin

Anticholinergic drug and dementia คะแนน= 2 Amantadine Belladona Cyclobenzaprine Cyproheptadine Carbamazepine Loxapine Meperidine Molindone Oxcarbazine Pimozide

Anticholinergic drug and dementia คะแนน= 3 Dimenhydrinate Diphenhydramine Hydroxyzine Paroxetine Promethazine Amitriptylline Brompheniramine Chlorpheniramine Clomipramine Clozapine

Anticholinergic drug and dementia ACB scale เพิ่มหนึ่งคะแนน การเกิดสมองเสื่อมจะเพิ่ม 46% และอัตราตายจะเพิ่ม 26% การเพิ่มอัตราตายนี้สัมพันธ์ชัดเจนแน่นอนกับขนาดยา ยิ่งใช้ขนาดมากยิ่งสมองเสื่อมมาก และสัมพันธ์กับระยะเวลาที่ใช้ ยิ่งใช้ยานานยิ่งสมองเสื่อมมาก

สมองเสื่อมเกิดจากสาเหตุอะไรบ้าง ยาหรือสารที่เป็นพิษ เช่น ยานอนหลับหรือยากล่อมประสาท ยาแก้แพ้รุ่นแรก ยารักษาโรคทางจิต ยาต้านเศร้ากลุ่ม ไตรไซคลิก ยาคลายกล้ามเนื้อ

สมองเสื่อมที่รักษาได้ 1 ใน 10 สมองเสื่อมที่รักษาได้ 1 ใน 10 ต่อมทัยรอยด์ทำงานผิดปกติ (ต่ำ / สูง) ขาดวิตามินบี 12 โพรงสมองขยายใหญ่ เนื่องจากน้ำเลี้ยง สมองคั่ง ยาหรือสารที่เป็นพิษ

ของโรคอัลไซเมอร์ระยะแรก สัญญาณเตือน 10 ประการ ของโรคอัลไซเมอร์ระยะแรก 1. สูญเสียความทรงจำที่กระทบต่อการทำงาน 2. กิจวัตรประจำวัน หรืองานง่าย ๆ ก็เริ่มมีปัญหา 3. มีปัญหาด้านภาษา 4. ไม่รู้เวลาและสถานที่ 5. สูญเสียการตัดสินใจ

สัญญาณเตือน 10ประการ ของโรคอัลไซเมอร์ระยะแรก สัญญาณเตือน 10ประการ ของโรคอัลไซเมอร์ระยะแรก 6. ปัญหาความคิดที่เป็นนามธรรม 7. วางของผิดที่แบบแปลก ๆ 8. อารมณ์หรือพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง 9. บุคลิกเปลี่ยนแปลง 10. สูญเสียความริเริ่ม

หมอรู้ได้อย่างไรว่า เป็นสมองเสื่อมหรือเปล่า ถามประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจสมรรถภาพสมอง การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์

Management of Dementia

Management of dementia Memory complaint History Physical exam. Mental tests Blood tests Neuro. Image? DDx depression other ? dementia Yes No Degenerative Cause of dementia Non-degenerative Management of dementia

ABC: the key symptom domains of dementia ADL Behaviour Cognition

สมองเสื่อม บกพร่อง สติปัญญา บุคลิกภาพ ความรู้ กิจวัตรประจำวัน พฤติกรรม การดูแลตนเอง สติปัญญา ความรู้ ความคิด กาตัดสินใจ อารมณ์ บุคลิกภาพ พฤติกรรม อาการทางจิต / ประสาท

แสดงระยะการถดถอยของ กิจวัตรประจำวัน ตามระยะความรุนแรงของโรคสมองเสื่อม แสดงระยะการถดถอยของ กิจวัตรประจำวัน ตามระยะความรุนแรงของโรคสมองเสื่อม ระยะแรก (1) อาชีพการงาน กิจกรรมสังคม การจัดการธุรกิจ ระยะกลาง (2) การดูแลตนเอง ระยะสุดท้าย (3) รู้จักตนเอง

ความบกพร่องในการดำเนินกิจวัตรประจำวันตามความรุนแรงของโรค ปีที่ 0 2 4 6 8 10 จัดตารางการนัดหมาย การใช้โทรศัพท์ การรับประทานอาหารตามเวลา การเดินทางโดยลำพัง การใช้อุปกรณ์เครื่องใช้ส่วนตัว การหาสิ่งของเครื่องใช้ส่วนตัว กิจวัตรประจำวัน การเลือกเครื่องแต่งกาย การแต่งกายด้วยตนเอง ดูแลความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย การทำกิจกรรม งานอดิเรก การดูแล เก็บกวาด สิ่งของเหลือใช้ การดูแลความสะอาดของโต๊ะทำงาน การเดิน การกิน 25 20 15 10 5 0 ระยะแรก ระยะกลาง ระยะรุนแรง ความรุนแรงของโรค

เป้าหมายในการดูแล ผู้ป่วยสมองเสื่อม เป้าหมายในการดูแล ผู้ป่วยสมองเสื่อม คงความสามารถของสมองด้านต่าง ๆ (ชะลอการสูญเสีย) ดูแลตนเองได้มากที่สุด อยู่ร่วมในสังคมนานที่สุดอย่างมีความสุขทุกฝ่าย

แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม พฤติกรรม อาการทางจิต / ประสาท การจัดการทั่วไป ด้านสติปัญญา

แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม ด้านสติปัญญา การจัดการทั่วไป พฤติกรรม อาการทางจิต / ประสาท

คงความสามารถของสมอง ด้านต่าง ๆ กระตุ้นทักษะที่มีและเหลืออยู่ เน้นตามความต้องการและกำลัง เลี่ยงจุดที่ทำไม่ได้ อย่าลืม - ไม่สามารถเรียนใหม่ได้ ถ้าคนไข้ หงุดหงิด ทำไม่ได้ (ทั้งที่เคยทำได้) - ต้องหยุด

กระตุ้นจุดแข็งที่เหลือ ทักษะส่วนตัว ให้ทำกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน (ที่ต้องการพัฒนา) กิจวัตรประจำวันซับซ้อน เกมส์ ความสามารถเดิม (เล่นเปียโน, เย็บผ้า, วาดรูป,ระบายสี)

การดูแลด้านสติปัญญา จัดระเบียบชีวิต มีสิ่งกระตุ้นที่เหมาะสม ช่วยเหลือเท่าที่จำเป็น ดูแลสุขภาพทั่วไปและการใช้ยา

ยาที่ใช้ในผู้ป่วยสมองเสื่อม ยาช่วยเรื่องความจำ ยาช่วยเรื่องพฤติกรรม ยานอนหลับ

ยาช่วยเรื่องความจำ 1. สารยับยั้งการทำลายสารสื่อประสาท 2. วิตามิน อี 3. สารสกัดจากใบแปะก๊วย 4. สารช่วยการเจริญเติบโต ของเซลล์ประสาท 5. Memantine

วิตามินอี ( โทโคฟีรอล ) Vit E วิตามินอี ( โทโคฟีรอล ) น้ำมันพืช จมูกข้าวสาลี ถั่วเปลือกแข็ง เมล็ดแข็ง เมล็ดพืช และมาร์การีนบางชนิด ช่วยป้องกันมิให้อนุมูลอิสระทำปฏิกริยาออกซิเดชันกับ กรดไขมันไม่อิ่มตัว ในเยื่อบุเซลล์และเนื้อเยื่ออื่น ๆ ในร่างกายปริมาณที่ควรได้รับ 10 ไมโครกรัมต่อวัน

วิตามินอี มีฤทธิ์ทำลายสารไนไตรท สารที่ก่อให้เกิดมะเร็งช่วยปกป้องผนังเซลล์ เยื่อบุเซลล์ ให้ยืดหยุ่นโดยเฉพาะผนังหลอดเลือด พบในน้ำมันพืชหลายชนิด เนยเทียม, จมูกข้าวสาลี, อัลมอนด์, วอลนัท, งาดำ, อโวคาโดและลูกกีวี

แป๊ะก๊วย Ginkgo อยู่ในรูปของยาและ อาหารเสริม ประกอบด้วยสารเฟลโวนอยด์และ เทอร์ฟีน ประกอบด้วยวิตามินหลายตัว ซึ่งมีผลต่อระบบหลอดเลือด เกล็ดเลือด ทำให้เลือดไปเลี้ยงสมองได้ดีและ ยังช่วยยับยั้งปฏิกิริยาอ๊อกซิเดชั่นของเซลล์เยื่อบุสมอง ถ้ารับประทานมากและเป็นเวลานานมีผลข้างเคียงทำให้ปวดศีรษะ หัวใจเต้นเร็วและความดันเลือดต่ำ

การทำงานของ ยายับยั้งการทำลายสารสื่อประสาท

Cholinesterase Inhibitors: Two Classes Exist for the Treatment of AD Class Inhibit Dual ChE inhibitors Rivastigmine Both AChE Tacrine and BuChE Single ChE inhibitors Donepezil AChE Galantamine AChE + Nicotinic Receptor Modulation Weinstock , 1999

ผลข้างเคียงของยายับยั้ง การทำลายสารสื่อประสาท อาการผิดปกติทางกายทั่วไป อาการผิดปกติที่ระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลาย อาการผิดปกติที่ระบบทางเดินอาหาร อาการผิดปกติทางจิตประสาท อาการผิดปกติของกลไกต่อต้านการติดเชื้อ

อาการผิดปกติทางกายทั่วไป ผลข้างเคียงของยาฯ. อาการผิดปกติทางกายทั่วไป บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า

อาการผิดปกติที่ระบบประสาท ส่วนกลางและส่วนปลาย ผลข้างเคียงของยาฯ. อาการผิดปกติที่ระบบประสาท ส่วนกลางและส่วนปลาย มึนงง ปวดศีรษะ ง่วงเหงา, หาวนอน

อาการผิดปกติที่ระบบทางเดินอาหาร ผลข้างเคียงของยาฯ. อาการผิดปกติที่ระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดท้อง เบื่ออาหาร อาหารไม่ย่อย

อาการผิดปกติทางจิตประสาท ผลข้างเคียงของยาฯ. อาการผิดปกติทางจิตประสาท กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ สับสน ซึมเศร้า

อาการผิดปกติของ กลไกต่อต้านการติดเชื้อ ผลข้างเคียงของยาฯ. อาการผิดปกติของ กลไกต่อต้านการติดเชื้อ การติดเชื้อในทางเดินหายใจตอนบน การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ

Memantine Non-competitive NMDA receptor antagonist Reduce excess glutamate stimulation while maintaining glutamate action at hippocampus

Memory formation Memory formation Insuficient signal to noise ratio Suffient signal to noise ratio Suffient signal to noise ratio Memantion decreases noise Noise Normal NMDA treatment NMDA+Memantine

ความจำจะกลับมาดีเป็นปกติไหม อาการคงเดิม ความสามารถสมอง ชะลออาการ ดีขึ้นชั่วคราว เริ่มให้การรักษา ไม่มีผล เวลา

แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม พฤติกรรม อาการทางจิต / ประสาท การจัดการทั่วไป ด้านสติปัญญา

ปัญหาพฤติกรรมและ อาการทางจิต / ประสาท

ปัญหาพฤติกรรมที่พบบ่อย ก้าวร้าว ชอบเที่ยว / เดินเรื่อยเปื่อย ปัญหาเกี่ยวกับการกิน การนอนเปลี่ยนแปลง ถามซ้ำซาก เล่าแล้วเล่าอีก ติดตามเหมือนเงา

อาการทางจิต หลงผิด ภาพหลอน หวาดระแวง ซึมเศร้า วิตกกังวล ทึกทักผิดคน ผิดของ

การดูแลปัญหาพฤติกรรม อาการทางจิต / ประสาท ประเมินและสรุปปัจจัยของปัญหาและแก้ไข ให้ความสนใจสถานการณ์และ สิ่งแวดล้อม

อาการทางจิต บอกเล่า เบี่ยงเบน บอกซ้ำ แบ่งเบา / บำบัด

แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม พฤติกรรม อาการทางจิต / ประสาท การจัดการทั่วไป ด้านสติปัญญา

การจัดการทั่วไป ผู้ดูแล สิ่งแวดล้อม กิจวัตร ประจำวัน ความปลอดภัย การแต่งตัว การกินอาหาร การอาบน้ำ การขับถ่าย การใช้ห้องน้ำ การเคลื่อนย้าย ตารางกิจกรรม การส่งเสริมสุขภาพ ความปลอดภัย บรรยากาศภายในห้อง การย้ายที่อยู่ บทบาทหน้าที่ การช่วยเหลือผู้ดูแล

สิ่งที่สำคัญที่สุด ในการคงสภาพความสามารถร่างกายและสมอง อาหาร อย่าลืมดูแลเรื่องฟันด้วย Physical activities หลากหลาย ตามแต่ระยะของโรค การให้ภูมิคุ้มกันโรค ที่เหมาะสม Social engagement & proper activities Family hold together Good mental health

การจัดการกิจวัตรประจำวัน การกินอาหาร ประมาณปริมาณอาหารและสัดส่วนสารอาหารให้เหมาะสม แบ่งอาหารให้สะดวกที่จะเอาเข้าปาก ช้อน ส้อม มีด จับถือสะดวก ด้ามใหญ่ ดูเรื่องอุณหภูมิอาหาร ปรับเวลาอาหารให้เหมาะสมกับการหลับตื่น

การจัดการกิจวัตรประจำวัน การทำความสะอาดร่างกาย จัดเตรียมอุปกรณ์ตามลำดับ มีกำหนดเวลาให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน ใช้อุปกรณ์ที่คุ้นเคยและสะดวกไม่สลับซับซ้อน ระวังน้ำร้อนลวก

การจัดการกิจวัตรประจำวัน การแต่งกาย ให้เลือกเครื่องแต่งกายเองจนกว่าจะทำเองไม่ได้ จัดเตรียมเสื้อที่สะดวกในการ ใส่ ถอด และทำความสะอาด ให้แนวทางในการจัดเสื้อผ้าที่เหมาะสมกับกาลเทศะ แต่ต้องมีความยืดหยุ่นด้วย

การจัดการกิจวัตรประจำวัน การควบคุมระบบการขับถ่ายและการใช้ห้องน้ำ จัดเวลาให้สอดคล้องกับกิจวัตรประจำวันและมื้ออาหาร ปรับแต่งให้ห้องขับถ่ายมีความสะดวก มองหาและไปถึงสะดวกอยู่ไม่ไกลจากที่พักประจำ ปรับอาหารและน้ำดื่มให้เข้ากับกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ถ้ากลั้นปัสสาวะไม่ได้อาจกำหนดเวลาไปห้องน้ำเป็นระยะแม้จะยังไม่รู้สึกปวดปัสสาวะ 3 การดูแล

การจัดการกิจวัตรประจำวัน การเคลื่อนที่และเคลื่อนย้าย ละเว้นการจำกัดการเคลื่อนไหวของผู้ป่วย เลือกเวลา ทางเดินให้ปลอดภัยและสร้างเสริมสุขภาพ ใช้อุปกรณ์ช่วยเดินที่ไม่สลับซับซ้อน ให้การช่วยเหลือด้านวาจาและทางร่างกายอย่างง่าย ๆ และเป็นขั้นตอน

การจัดการกิจวัตรประจำวัน การส่งเสริมสุขภาพ อาหารถูกต้องตามหลักโภชนาการ ออกกำลังกายให้เหมาะสมกับโรคและสภาพของผู้ป่วย หลีกเลี่ยงโรคติดต่อ ลูกหลานที่เป็นไข้หวัดไม่ควรมาเยี่ยมใกล้ชิดขณะมีอาการ ควบคุมน้ำหนักตัว กิจกรรมทางสังคม เช่น การได้พบเพื่อน หรือญาติ

การจัดการสิ่งแวดล้อม แนวทางการจัดสิ่งแวดล้อม ให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่คุ้นเคย ใช้เฟอร์นิเจอร์ที่มั่นคง ไม่ลื่น เลี่ยงสิ่งของที่มีล้อ เลี่ยงการตกแต่งด้วยกระจกเงา สีห้องและม่านควรเป็นสีโทนเดียวสบายตาไม่มีลวดลาย ทางเดิน พื้น บันได โล่ง สะดวก ยาและสารเคมี จัดเก็บไว้ในที่มิดชิด

การจัดการสิ่งแวดล้อม แนวทางการจัดสิ่งแวดล้อม ป้องกันไฟไหม้ น้ำร้อนลวก จากอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ปลั๊กไฟ อุปกรณ์ไฟฟ้า เตาแก๊ส เครื่องทำน้ำร้อน เก็บสิ่งของชิ้นเล็ก ๆ ที่อาจเอาเข้าปากและจมูก ซึ่งอาจทำให้เกิดอันตรายได้ ห้องน้ำ ควรแยกส่วน แห้ง ส่วนเปียก เพื่อป้องกันการลื่น อุปกรณ์อาบน้ำ ควรอยู่ในระดับสายตา เพื่อให้ใช้สะดวก มีราวสำหรับจับ ยืด เกาะ ไม่มีธรณีประตูหรือทางลาดในห้องน้ำ

การจัดการสิ่งแวดล้อม ในช่วง mild to moderate dementia ไม่ควรย้ายที่อยู่อาศัยหรือปรับย้ายเครื่องเรือนหลัก เพราะอาจทำให้ผู้ป่วยสับสนมากขึ้น ความสามารถสมองส่วนอื่น ๆ ลดลงด้วย

การช่วยเหลือแนะนำผู้ดูแล การให้คำปรึกษาแก่ผู้ดูแล 1. ประเมินสภาวะจิตใจของญาติผู้ดูแล เพื่อให้คำปรึกษาในระยะที่เหมาะสมเมื่อญาติได้รับทราบการวินิจฉัยของผู้ป่วยจะมีการเปลี่ยนแปลงด้านภาวะจิตใจตามลำดับดังนี้

ปฏิเสธ ไม่ยอมรับว่าผู้ป่วยมีปัญหาและควรได้รับการดูแล ซึมเศร้า เริ่มมีอาการซึมเศร้าสับสนว่าจะทำอย่างไรดี โกรธ เริ่มเข้าใจมากขึ้นว่าผู้ป่วยต้องการการดูแลจากผู้อื่น ปฏิกิริยา ของครอบครัวก็จะมีการโกรธ ต่อโรคสมองเสื่อมโกรธโชคชะตาตัวเอง และอาจพาลโกรธผู้ป่วยด้วย

ละอาย ระยะนี้สภาพจิตใจของครอบครัวเริ่มสงบ เริ่มรู้สึกรู้สึกละอายในพฤติกรรมที่ผ่านมา ยอมรับ เป็นระยะสุดท้ายของการปรับจิตใจที่จะนำไปสู่ความสำเร็จในการแสวงหาหนทางช่วยเหลือผู้ป่วยในช่วง 3 ระยะแรกควรให้กำลังใจและและคับประคองทางอารมณ์ ส่วนการให้คำปรึกษาในการวางแผนการดูแลที่บ้านควรทำใน 2 ระยะหลัง

การช่วยเหลือแนะนำผู้ดูแล 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคสมองเสื่อม การพยากรณ์โรค และแนวทางการดูแล 3. บอกขีดจำกัดความสามารถของผู้ป่วยให้ผู้ดูแลทราบ เพื่อการวางแผนในการดูแลต่อไป

การช่วยเหลือแนะนำผู้ดูแล 4.แจ้งปัญหาและการสำรวจความเครียดที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ดูแลและญาติ ซึ่งผู้ดูแลหรือเจ้าหน้าที่จากศูนย์บริการสามารถประเมินความเครียดของตนเอง ได้ตามอาการดังนี้

การช่วยเหลือแนะนำผู้ดูแล 5. ต้องดูแลสุขภาพตนเองในเรื่องอาหาร การผักผ่อน และการออกกำลังกาย 6.ให้คำแนะนำเกี่ยวกับกลยุทธ์ในการปฏิบัติต่อผู้ป่วย ซึ่งอาจทำให้อารมณ์พฤติกรรมของผู้ป่วยดีขึ้น 7. ให้คำแนะนำในการดูแลกรณีพิเศษ เช่น ท่อสายยางเพื่อให้อาหาร ท่อเจาะหลอดลม

อาการที่บ่งว่าผู้ดูแลกำลังเครียด การทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันรู้สึกต้องใช้ความพยายามเพิ่มขึ้น รู้สึกปัญหาเป็นเรื่องใหญ่ไปหมด มีความยุ่งยากในการเผชิญกับสิ่งต่าง ๆ ไม่สนุกสนานร่าเริง ปัญหาในการนอนหลับ

การแก้ไขปัญหาความเครียด จัดตารางให้ตนเองมีเวลาผักผ่อน เช่น หาบุคคลอื่นมารับผิดชอบเป็นครั้งคราว หาผู้ที่ตนเองสามารถพูดระบายความรู้สึกออกมาได้บ้าง ซึ่งได้แก่ แพทย์ พยาบาล หรือกลุ่มญาติผู้ป่วยด้วยกันเอง กล้าที่จะบอกและแสดงความต้องการของตนเอง เช่น ต้องการหยุดพัก ต้องการมีเวลาส่วนตัว และขอความช่วยเหลือจากผู้อื่น ถ้ามีปัญหายุ่งยากที่แก้ไขไม่ได้วันนั้นควรหาทางแก้ไขในวันต่อไป

การแก้ไขปัญหาความเครียด มีกิจกรรมนอกบ้านบ้าง เช่น ออกไปตลาด ทำบุญที่วัด ดูภาพยนตร์ เดินซื้อของตามห้างสรรพสินค้า วิธีผ่อนคลายความเครียด เช่น ปลูกต้นไม้ อ่านหนังสือ เย็บปักถักร้อย ดูโทรทัศน์ เมื่อได้ปฏิบัติดังกล่าวขั้นต้นแล้วญาติยังรู้สึกว่าตนมี ความเครียด แพทย์ที่ดูแล ควรแนะนำให้หยุดพักสักระยะหนึ่ง หากว่ายังไม่สามารถเผชิญกับความเครียดได้อีกอาจต้อง ปรึกษาจิตแพทย์

Outcome of dementia care General health and nutritional status Care giver Understanding of the disease Attitude Adaptation Health status Support from family and others

สมาคมผู้ดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมประเทศไทย กรกฎาคม 2541 ก่อตั้งชมรมผู้ดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม พฤศจิกายน 2543 จดทะเบียนเป็น สมาคมผู้ดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม ประเทศไทย ที่ทำการ: 114 ซ.ปิ่นนคร ถ.บรมราชชนนี ตลิ่งชัน กทม.10170 โทร. 02-8808542 กด 2

สมาคมผู้ดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมประเทศไทย - การบริการที่ให้ บริการสายด่วนให้คำปรึกษา จัดทำกลุ่มสนับสนุนญาติ บริการเยี่ยมบ้าน ฝึกอบรมด้านการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมแก่ผู้ดูแลและเจ้าหน้าที่

Thank you