อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนครั้งที่ 9 บทที่ 4: “Telecommunications, the Internet, Intranets, and Extranets” โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์ อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Advertisements

ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของการสื่อสาร
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เป็นกระบวนการถ่ายโอนข้อมูล/สารสนเทศจาก แหล่งกำเนิดข่าวสารผ่านสื่อกลาง เพื่อส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ.
หนังสืออ้างอิง Course Syllabus
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
เครือข่าย LAN แบบ IEEE 802 IEEE 802.X Network
ระบบเครือข่ายและการสื่อสารธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ ( )
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
บทที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Fundamental of Data Communications and Networks) อ.ถนอม ห่อวงศ์สกุล.
4/4/2017 การสื่อสารข้อมูล เทคโนโลยีเพื่อการส่งสัญญานข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยมีองค์ประกอบพื้นฐาน 4 อย่าง คอมพิวเตอร์ หรือ หน่วยรับข้อมูล หรือ.
นายพีระภานุพันธ์ แจ้งอนันต์
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
ความรู้พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
Introduction to Network
Data transfer rate(bandwidth) protocol file server web server.
1 IS516 การสื่อสารคอมพิวเตอร์และและเครือข่าย (Computer Communication and Networks) Asst. Dr. Surasak Mungsing
NETWORK.
CC212 Internet Technology : Network Technology :
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ต. LAN Overview LANs were created to save time, money, and enable users to share information and resources more easily.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดมาตรฐานเครื่องดับเพลิง แบบเคลื่อนย้ายได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 11 มีนาคม 2556.
© 2006 Cisco Systems, Inc. All rights reserved.Cisco PublicITE I Chapter 6 1 CCNA Cisco Certified Network Associate.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 3 ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ Computer Network System.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : การรักษาความปลอดภัยข้อมูล Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
การสื่อสารข้อมูล.
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา
ผู้อำนวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์ความปลอดภัยแรงงาน สำนักความปลอดภัยแรงงาน
แนวทางการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทย นางสาวรุ่งรัตน์ จิณะเสน นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด.
Information Technology For Life
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 8 เครือข่ายการสื่อสารทางไกลระหว่างประเทศ
Wireless Network เครือข่ายไร้สาย
บทที่ 6 โลกของเครือข่าย.
Crowded Cloud e-services: Trust and Security
Computer Network.
ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต Internet Technology
พื้นฐานการอินเตอร์เฟส
LAB03 : BASIC NETWORK DESIGN
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 6 : เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
การประชุมวิชาการประจำปี ศสท
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK)
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Data Communications and Networking)
คำอธิบายรายวิชา การเขียนผังงาน รหัสเทียม ตรรกศาสตร์เบื้องต้น การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบโครงสร้าง ชนิดตัวแปร ตัวดำเนินการทางตรรกะ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น
เครือข่ายสารสนเทศ ครั้งที่ 1
การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่าย
บทที่ 2 การบริหารจัดการข้อมูลและลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล
(ร่าง) พระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. ....
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขั้นสูง
บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต.
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
Database ฐานข้อมูล.
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 11 การประกันคุณภาพในศูนย์สารสนเทศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 การประกันคุณภาพในศูนย์สารสนเทศ
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 6 : เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
การจัดการความปลอดภัยระบบสารสนเทศ (Information Security Management System : ISMS) ด้วย เกณฑ์มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ISO/IEC และ ISO/IEC
Network Security : Introduction
Mobile and Wireless Computing (2-0-4)
บทที่ 6 การเขียนผังงาน (Flowchart)
องค์กรออกใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ Certificate Authority
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
Data Communication and Computer Networks 3 (3-0-2)
บทที่ 2 ระบบเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline ทิศทางการไหลของข้อมูล (Direction of Data Flow) เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) ประโยชน์ของเครือข่าย เกณฑ์วัดประสิทธิภาพของเครือข่าย (Network Criteria) มาตรฐานเครือข่าย (Network Standard) ประเภทของเครือข่าย (Categories of Networks) อินเทอร์เน็ต (The Internet)

ทิศทางการไหลของข้อมูล (Direction of Data Flow) Simplex – การสื่อสารแบบทางเดียว เช่น คีย์บอร์ด จอภาพ Half-Duplex – อุปกรณ์ต้องผลัดกันรับ ผลัดกันส่ง เช่น วิทยุสื่อสาร Full-Duplex – การสื่อสารแบบสองทาง เช่น โทรศัพท์

ทิศทางการไหลของข้อมูล

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) ทำไมต้องสร้างเครือข่าย และเครือข่ายมีประโยชน์ อย่างไร? คำตอบ เพื่อให้สามารถเข้าถึงและใช้งานทรัพยากร ร่วมกันได้ แม้ว่าทรัพยากรเหล่านั้นจะไม่ได้เชื่อมต่อกับ เครื่องของตนโดยตรงก็ตาม Client#1 Server Network Client#2 Print Server

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : ก่อนจะเป็นเครือข่าย การใช้งานคอมพิวเตอร์ในยุคแรกเป็นการใช้งานโดย ผู้ใช้คนเดียว (Stand Alone) เมื่อคนใดคนหนึ่งต้องการข้อมูลส่วนอื่นมาใช้ ต้อง เดินไปคัดลอกจากส่วนงานนั้นโดยตรง ปัญหาอย่างหนึ่งคือข้อมูลที่คัดลอกมาอาจไม่ทันสมัย แล้วก็เป็นได้ ปี 1973 บริษัทซีร็อกซ์ (Xerox) ได้นำเทคโนโลยี เครือข่ายมาใช้ เรียกว่า “Ethernet” โดยมีพื้นฐาน การเชื่อมต่อแบบบัส (Bus Topology) และเชื่อมต่อ ด้วยสายโคแอกเชียล มีความเร็วเพียง 3 Mb/Min.

ประโยชน์ของเครือข่าย การใช้ทรัพยากรร่วมกัน ช่วยลดต้นทุน เพิ่มความสะดวกด้านการสื่อสาร ความน่าเชื่อถือและความปลอดภัยของระบบ

เกณฑ์วัดประสิทธิภาพของเครือข่าย (Network Criteria) สมรรถนะ (Performance) ความน่าเชื่อถือ (Reliability) ความปลอดภัย (Security)

เกณฑ์วัดประสิทธิภาพของเครือข่าย (Network Criteria) : สมรรถนะ (Performance) ประเมินจากเวลาที่ใช้ขนส่งข้อมูล (Transit Time) และเวลา ตอบสนอง (Response Time) Transit Time คือเวลาที่ข้อมูลเดินทางจากอุปกรณ์หนึ่งไปยัง อุปกรณ์หนึ่ง Response Time คือช่วงระยะเวลาระหว่างที่มีการร้องขอข้อมูล จนได้รับข้อมูลที่ร้องงขอนั้น ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสมรรถนะของเครือข่าย จำนวนผู้ใช้ ชนิดสื่อกลาง ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์

เกณฑ์วัดประสิทธิภาพของเครือข่าย (Network Criteria) : ความน่าเชื่อถือ (Reliability) ประเมินได้จาก ความถี่ของความล้มเหลว :ยิ่งมีความถี่ของความ ล้มเหลวสูง เครือข่ายยิ่งมีความน่าเชื่อถือต่ำ ระยะเวลาในการกู้คืน :ยิ่งใช้เวลากู้ระบบให้กลับคืน สภาพเดิมสั้น ย่อมดีกว่าการกู้คืนระบบที่ต้องใช้เวลา ยาวนาน การป้องกันภัยพิบัติ : ต้องออกแบบระบบป้องกันภัย ต่างๆที่อาจเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดได้เสมอ เช่นระบบสำรองไฟฟ้า สำรองข้อมูล สำรอง อุปกรณ์

เกณฑ์วัดประสิทธิภาพของเครือข่าย (Network Criteria) : ความปลอดภัย (Security) การป้องกันบุคคลที่ไม่มีสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล : ข้อมูลที่บันทึกอยู่ในคอมพิวเตอร์ ถือเป็นทรัพยากร อันมีค่าต่อองค์กร บุคคลที่สามารถเข้าใช้งาน เครือข่ายได้จึงจำเป็นต้องมีบัญชีผู้ใช้ ผู้ใช้จะต้อง ถูกกำหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลที่แตกต่างกัน และข้อมูลสำคัญจำเป็นต้องถูกเข้ารหัส ไวรัสคอมพิวเตอร์ : ไวรัสจะทำให้ข้อมูลหรือระบบ เสียหาย จึงจำเป็นต้องมีโปรแกรมป้องกันไวรัส และไฟร์วอลล์ (Firewall)

มาตรฐานเครือข่าย (Network Standard) เป็นข้อกำหนดเพื่อให้เกิดความแน่นอนของ ระบบสื่อสารระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ และ เป็นการกำหนดแนวทางให้ผู้ผลิตสามารถผลิตหรือ พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด ไว้ เป็นผลดีกับผู้บริโภคคือสามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อเดียวกัน แต่สามารถใช้งาน ร่วมกันได้อย่างปราศจากปัญหา

มาตรฐานเครือข่าย (Network Standard) : องค์กรมาตรฐาน (Standards Organizations) ที่สำคัญ ISO (International Organization for Standardization) : เป็นองค์กรมาตรฐานสากลของ โลก ITU-T (International Telecommunications Union-Telecommunication Standards Sector) : เป็นองค์กรสหภาพที่กำหนดมาตรฐานด้านการ สื่อสารโทรคมนาคมระดับสากล IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานการสื่อสาร กำหนดทฤษฎี คิดค้น และวิจัยผลิตภัณฑ์ เพื่อ นำมาใช้งานกับซอฟต์แวร์และอุปกรณ์ในชั้น สื่อสารฟิสิคัล และดาต้าลิงก์

มาตรฐานเครือข่าย (Network Standard) : องค์กรมาตรฐาน (Standards Organizations) ที่สำคัญ (ต่อ) ANSI (American National Standards Institute) : ทำหน้าที่ประสานงานระหว่างองค์กรกำหนด มาตรฐานอื่นๆ EIA (Electronics Industries Association) กำหนดมาตรฐานสำหรับวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่า จะเป็นปลั๊กเชื่อมต่อหรืออินเตอร์เฟซ สัญญาณที่ใช้ สื่อสาร FCC (Federal Communications Commission) เป็นผู้กำหนดกฎระเบียบการใช้คลื่นวิทยุ โทรทัศน์ การสื่อสารผ่านสายและไร้สาย

ประเภทของเครือข่าย (Categories of Networks) เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Networks : LANs) ระยะทางสั้นๆ ถูกออกแบบให้ใช้งานการเชื่อมต่อในระดับท้องถิ่น เช่น ภายในอาคาร เครือข่ายระดับมหานคร (Metropolitan Area Networks : MANs) ใช้เชื่อมต่อภายในเมืองใหญ่ เครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Networks : WANs) ระยะทางไกล (ข้ามประเทศหรือทวีป)

LANs

MANs

WANs

WANs (ต่อ)

เครือข่ายแบบผสม (Heterogeneous) ประกอบไปด้วย WANs 4 เครือข่าย และ LANs 2 เครือข่าย

อินเทอร์เน็ต (Internet) internet เกิดจากคำว่า inter+network Internet จัดเป็นเครือข่ายสาธารณะ (Public Network) ที่ทั่วโลกสามารถ ใช้บริการได้ ประกอบไปด้วยเครือข่ายที่หลากหลาย จึงต้องมี อุปกรณ์ช่วยในการสื่อสาร เราเตอร์ (Router) เชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายเข้า ด้วยกัน เกตเวย์ (Gateway) ทำให้ระบบที่มีแพลตฟอร์มแตกต่าง กัน สามารถสื่อสารร่วมกันเป็นเครือข่ายเดียวกันได้ จำเป็นต้องมีองค์กรเพื่อบริการอินเทอร์เน็ต เรียกว่า ISP (Internet Service Provider) เป็นศูนย์กลาง การเชื่อมต่อเพื่อให้สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อ สื่อสารได้ทั่วโลก

ลำดับชั้นของโครงสร้างในระบบอินเทอร์เน็ต