ฐานข้อมูลและ ระบบจัดการฐานข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฐานข้อมูลและ ระบบจัดการฐานข้อมูล
Advertisements

System Requirement Collection (2)
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
System Database Semester 1, 2009 Worrakit Sanpote 1.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
Pro/Desktop.
Database & DBMS Architecture วรวิทย์ พูลสวัสดิ์. 2 2 ฐานข้อมูล (Database) - Data and its relation - Databases are designed to offer an organized mechanism.
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
ฐานข้อมูล.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
การทำ Normalization 14/11/61.
Introduction to VB2010 EXPRESS
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
Information System MIS.
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
Chapter 3 Executive Information Systems : EIS
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
บทที่ 2 การประมวลผลข้อมูล
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
กรอบรายการตรวจรับ อุปกรณ์ Firewall สำหรับจังหวัด
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
ตัวแบบข้อมูล (Data Modeling)
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
Database Design & Development
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฐานข้อมูลและ ระบบจัดการฐานข้อมูล บทที่ 5 ฐานข้อมูลและ ระบบจัดการฐานข้อมูล

เนื้อหา โครงสร้างของระบบแฟ้มข้อมูล ฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูล โปรแกรมจัดการระบบฐานข้อมูลด้วยโปรแกรม Microsoft Access

บทนำ ฐานข้อมูล (Database) มีบทบาทสำคัญมากต่องานด้านต่างๆ โดยเฉพาะงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ เช่น - งานด้านธุรกิจ - งานด้านวิศวกรรม - ด้านการแพทย์ - การศึกษา - วิทยาศาสตร์ ฯลฯ เพื่อทำการจัดการข้อมูลอย่างมีระบบ

โครงสร้างของระบบแฟ้มข้อมูล บิต (Bit) ประกอบด้วยข้อมูลที่เป็นเลขฐานสอง (Binary digit) ที่ใช้แทนค่าหน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ไบต์ (Byte) ประกอบด้วยจำนวนบิตหลาย ๆบิตเรียงต่อกัน 1 ไบต์เท่ากับ 8 บิต ฟิลด์ หรือ เขตข้อมูล (Field) คือการนำชุดของไบต์ตั้งแต่ 1 ไบต์ขึ้นไปมารวมกันเพื่อให้เกิดความหมาย เช่น ฟิลด์ชื่อลูกค้า ใช้เก็บข้อมูลชื่อของลูกค้า

โครงสร้างของระบบแฟ้มข้อมูล(ต่อ) ระเบียน (Record) หมายถึง การนำเอาฟิลด์ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันรวมกันเป็นชุดเพื่ออธิบายคุณลักษณะของสิ่งนั้น ๆ เช่น ระเบียนของอาจารย์ 1 คน ประกอบด้วยฟิลด์รหัสอาจารย์ ชื่อ-นามสกุล ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ ตำแหน่งวิชาการ แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง กลุ่มของระเบียนที่มีความสัมพันธ์กัน ถูกเก็บรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูลเดียวกัน

การจัดการข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล เป็นการจัดเก็บข้อมูลในลักษณะแฟ้มข้อมูลที่อิสระจากกัน แฟ้มข้อมูลอาจารย์ ระบบเงินเดือน รายงาน แฟ้มข้อมูล วิชาที่เปิดสอน ระบบตารางสอน รายงาน แฟ้มข้อมูลเกรด ระบบเกรด รายงาน

ข้อเสียของการจัดการข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล 1. เกิดความขัดแย้งของข้อมูลได้ 2. เกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูล 3. สิ้นเปลืองเนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูล 4. ไม่มีการใช้ข้อมูลร่วมกัน ทำให้การแก้ไขเปลี่ยน แปลงข้อมูลทำได้ยาก 5. ข้อมูลไม่มีความน่าเชื่อถือ 6. ไม่สามารถรักษาความปลอดภัยได้ทั่วถึง

แก้ไขข้อเสียโดยใช้ … ระบบฐานข้อมูล ระบบเงินเดือน รายงาน ระบบจัดการ ฐานข้อมูล (DBMS) ข้อมูลอาจารย์ ระบบตารางสอน รายงาน ข้อมูลตารางสอน ข้อมูลเกรด ระบบเกรด รายงาน

ฐานข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันไว้ด้วยกันในรูปแบบที่สามารถนำมาเรียกใช้งานได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ โดยการนำข้อมูลมาจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลนั้น จะต้องใช้โปรแกรมที่มีหน้าที่ในการจัดการกับข้อมูล ที่เรียกว่าระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) มาเป็นเครื่องมือในการสร้างระบบฐานข้อมูล

การจัดการฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ การได้มาซึ่งข้อมูลที่ถูกต้อง จากแหล่งข้อมูลที่ถูกต้อง และเชื่อถือได้ การนำข้อมูลที่ถูกต้องเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล และการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน การประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ อย่างทันกาล

ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่ผู้ใช้งานใช้ ระบบจัดการฐานข้อมูลเป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างฐานข้อมูลกับผู้ใช้งานในการติดต่อไปยังฐานข้อมูล ประกอบด้วยฟังก์ชันต่าง ๆมากมายในการจัดการกับข้อมูล ซึ่งทำให้มั่นใจได้ว่า ข้อมูลที่ถูกจัดเก็บอยู่ในระบบฐานข้อมูลจะมี ความถูกต้อง (Integrity) และมีความสอดคล้องของข้อมูล (Consistency)

โปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล โปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูลที่ใช้งานกันแพร่หลายในปัจจุบัน ได้แก่ Oracle DB2 MySQL ProgreSQL Microsoft SQL Server ซึ่งเน้นกลุ่มผู้ใช้งานระดับองค์การขนาดกลางขึ้นไป สำหรับองค์การขนาดเล็กโปรแกรม Microsoft Access จัดว่าเป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมอย่างหลายสูงสุดในปัจจุบัน

ฟังก์ชันการทำงานของระบบการจัดการฐานข้อมูล 1. การจัดการพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary Management) DB พจนานุกรม เพื่อเก็บรายละเอียด ที่เกี่ยวข้องกับ ฐานข้อมูล ชื่อตาราง ชื่อฟิลด์ คีย์ต่างๆ Database

ฟังก์ชันการทำงานของระบบการจัดการฐานข้อมูล 2. การจัดการในการเก็บข้อมูล (Data Storage Management) กำหนดและเก็บโครงสร้างฐานข้อมูล บรรจุข้อมูลลงฐานข้อมูล ฐานข้อมูล

ฟังก์ชันการทำงานของระบบการจัดการฐานข้อมูล 3. การแปลงและนำเสนอข้อมูล (Data Transformation and Presentation) DBMS Transform and Present Data ABCD 12345

ฟังก์ชันการทำงานของระบบการจัดการฐานข้อมูล 4. การจัดการความปลอดภัยของข้อมูล (Security Management) X ฐานข้อมูล Non-Authorize USER / DBMS Authorize USER

ฟังก์ชันการทำงานของระบบการจัดการฐานข้อมูล 5. การควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้หลายคน (Multi-user Access Control) USER 1 ฐานข้อมูล U1 : U3 : U2 USER 2 DBMS USER 3

ฟังก์ชันการทำงานของระบบการจัดการฐานข้อมูล 6. การจัดการสำรองข้อมูลและการกู้คืนข้อมูล (Backup and Recovery Management) Backup ABCD 12345 ABCD 12345 ABCD 12345 ABCD 12345 Recovery Backup Database

ฟังก์ชันการทำงานของระบบการจัดการฐานข้อมูล 7. การควบคุมความถูกต้องของข้อมูล (Data Integrity Management) Integrity Control ID=1 Name=Somchai ID=01, Name=Somchai ID=02, Name=Somsri ฐานข้อมูลเงินเดือน ฐานข้อมูลประวัติ

ฟังก์ชันการทำงานของระบบการจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) 8. ภาษาที่ใช้ในการเข้าถึงฐานข้อมูลและการเชื่อมต่อกับโปรแกรมประยุกต์ (Data Access Languages and Application Programming Interfaces) DBMS Operating System Application Software ฐานข้อมูล

ฟังก์ชันการทำงานของระบบการจัดการฐานข้อมูล (ต่อ) 9. การติดต่อสื่อสารข้อมูล (Database Communication Interfaces) Client 1 ฐานข้อมูล Internet/ intranet Client 2 DBMS Client 3

บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล 1. ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrators : DBAs) เป็นผู้เชี่ยวชาญในระบบคอมพิวเตอร์และฐานข้อมูล ที่มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลและควบคุมการสร้าง การใช้งานฐานข้อมูล - กำหนดโครงสร้างข้อมูลหรือรูปแบบของฐานข้อมูล - กำหนดโครงสร้างของอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลและวิธีการที่จะเข้าถึงข้อมูล - มอบหมายขอบเขตอำนาจหน้าที่ของการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้

บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล (ต่อ) 2. นักออกแบบฐานข้อมูล (Database Designers) เป็น ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ทำหน้าที่ในการออกแบบฐานข้อมูล 3. นักวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysts) ผู้ที่เชี่ยวชาญในการวิเคราะห์ระบบและออกแบบระบบ 4. โปรแกรมเมอร์ (Programmers) คือ ผู้เชี่ยวชาญในการเขียนโปรแกรม

บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล (ต่อ) 5. ผู้ใช้งานระบบ (End users) คือ ผู้ใช้งานโปรแกรม สามารถแบ่งผู้ใช้งานออกเป็น 2 ชนิด - ผู้ใช้งานทั่วไป (Naive Users) ในที่นี้คือผู้ใช้งานโดยปกติทั่วๆ ไป เป็นผู้ที่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับระบบจัดการฐานข้อมูล - ผู้ใช้งานสมัยใหม่ที่มีความรู้ (Sophisticated Users) คือผู้ใช้งานที่มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล

ระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ แนวคิดของการจัดเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ทำให้ผู้ออกแบบฐานข้อมูลต้องออกแบบฐานข้อมูลในลักษณะของแบบจำลองข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Model) ซึ่งมีผลทำให้ข้อมูลเกิดความถูกต้องเป็นหนึ่งเดียว (Atomic Transmission) เป็นการจัดข้อมูลในรูปแบบของตาราง 2 มิติ คือมี แถว (Row) และ คอลัมน์ (Column) โดยการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างตาราง จะใช้เขตข้อมูลที่มีอยู่ทั้งสองตารางเป็นตัวเชื่อมโยงข้อมูล คอลัมน์ (Column) - Field/Attribute เชื่อมโยงข้อมูล แถว (Row) - Record Table B Table A

โครงสร้างข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Data Structure) ตาราง (Table) เป็นองค์ประกอบย่อยของฐานข้อมูลประกอบด้วย แถวและคอลัมน์ ในแต่ละแถวก็คือข้อมูลแต่ละชุด หรือที่เรียกว่า 1 ระเบียน (record) รายละเอียดของแต่ละระเบียนจะเก็บข้อมูลแยกกันเป็นคอลัมน์ ตัวอย่าง เช่น ตารางรายวิชา (COURSE) ระเบียน : record เขตข้อมูล : field

โครงสร้างข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Data Structure) (ต่อ) ตารางรายวิชา (COURSE) มีเขตข้อมูล “DEPT_CODE” เป็นตัวเชื่อมความสัมพันธ์ ระหว่างสองตาราง ตารางภาควิชา (DEPARTMENT)

คุณสมบัติที่ทำให้ข้อมูลมีความถูกต้อง (Integrity Rules) ในแต่ละตารางจะต้องมีคอลัมน์ที่เป็นคีย์หลัก (ซึ่งอาจจะเป็นคอลัมน์เดี่ยว ๆหรือหลายคอลัมน์มาประกอบกันก็ได้ ที่มีคุณสมบัติที่ไม่ซ้ำกันและไม่เป็นค่าว่าง) ที่ใช้ในการระบุข้อมูลในแต่ละแถวของตาราง เช่น ตารางรายวิชา เราเลือกรหัสวิชาเป็นคีย์หลัก ข้อมูลที่เก็บอยู่ในตารางแต่ละตาราง สามารถที่จะเชื่อมโยงข้อมูลกันได้ โดยการใช้คุณสมบัติของการใช้ข้อมูลร่วมกันผ่านคอลัมน์ที่เรียกว่าคีย์อ้างอิง (Foreign Key) ตัวอย่าง เช่น ตารางรายวิชาสามารถเชื่อมโยงกับตารางภาควิชาด้วยคอลัมน์รหัสภาควิชา (DEPT_CODE)

รู้จักกับการใช้โปรแกรมจัดการระบบฐานข้อมูลด้วยโปรแกรม Microsoft Access การสร้างและการออกแบบตาราง

คุณสมบัติทั่วไปของ Microsoft Access กำหนดความสัมพันธ์ (Relationship) ของข้อมูลระหว่างตาราง

คุณสมบัติทั่วไปของ Microsoft Access (ต่อ) สร้างและออกแบบฟอร์ม (Form)

คุณสมบัติทั่วไปของ Microsoft Access (ต่อ) สร้าง Query

คุณสมบัติทั่วไปของ Microsoft Access (ต่อ) สร้างและออกแบบรายงาน (Report)

คุณสมบัติทั่วไปของ Microsoft Access (ต่อ) สร้าง Data Access Page (เพจ)

คุณสมบัติทั่วไปของ Microsoft Access (ต่อ) สามารถทำงานแบบอัตโนมัติด้วยชุดคำสั่งมาโคร (Macro)

คุณสมบัติทั่วไปของ Microsoft Access (ต่อ) สร้างโมดูล (Module) ด้วยภาษา VBA (Visual Basic for Application)

คุณสมบัติทั่วไปของ Microsoft Access (ต่อ) สามารถนำกราฟหรือแผนภูมิ ภาพนิ่งและวัตถุอื่นๆที่สร้างมาจากโปรแกรมอื่นๆมาใช้ร่วมกันในระบบงานได้ สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยวิธีนำเข้า (Import) หรือส่งออก (Export) กับโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูลอื่น สามารถเชื่อมโยงตาราง (Link Table) กับโปรแกรมประเภทโปรแกรมสเปรดชีตและอื่น ๆ มีเครื่องมือช่วยให้ทำงานได้ง่ายขึ้น (Wizard) สามารถในการเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลแบบ Client-Server รองรับการใช้งานภาษา XML(Extensible Markup Language) สามารถทำงานร่วมกับ SQL Server ได้ เพิ่มความสามารถด้านความปลอดภัย