การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บด้วย Moodle
Advertisements

E-Ruejang
Management of International Relation Information System
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
การบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา
ระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ
การอบรมพัฒนาระบบ Learning Managment System ด้วยโปรแกรม Moodle คณะแพทยศาสตร์ศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล วันที่ 4-5 มี.ค.2551.
การพัฒนาระบบการเรียนทางไกลให้อยู่ในรูปแบบของเทคโนโลยีสารสนเทศ Application of Information Technology System into Distance Learning Presented by: Sunadda.
Information Technology
World Wide Web. You will know หัวเรื่องหลักๆทั้งหมด 5 หัวข้อดังนี้ Basic Web Concept Web application in daily life Essential Web Developer Language How.
Seminar in Information Knowledge and Technology Management ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
ระบบบริหารการเรียนการสอน บนเครือข่าย:LMS
E- Learning e- Learning นพ. สิทธิโชค อนันตเสรี ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์
Virtual Learning Environment
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS : Geographic Information System)
แนวทางการบริหารงานบำรุงทาง โดย นายชัชวาลย์ บุญเจริญกิจ รองอธิบดีฝ่ายบำรุงทาง วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2553.
PMQA Organization 2 รหัสแนวทางการดำเนินการ การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ IT1 ส่วนราชการต้องมีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ.
การเขียนแผนการสอน Media Base learning. รายละเอียดแผนการเรียนรู้ 1. สาระสำคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอด หรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกับ.
ศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อบริหารจัดเก็บและใช้ประโยชน์
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่ม ของประชากรจังหวัดพิจิตร ปี ปี 2559 (อัตราต่อปชก.พันคน)
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์
โครงการแผนการจ่ายเงินการรับเงิน และนำเงินส่งคลังของ เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการบริหาร ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ – กองทัพเรือ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ e-Payment.
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ระบบสารสนเทศ (Information System)
มารู้จักหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์
บทที่ 1 ความหมายขอบเขต และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ.
Visual Communication for Advertising Week15-16
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อน การบูรณาการฐานข้อมูลกลางภาครัฐ
Educational Information Technology
Introduction TO Web PRogramming
e-Portfolios Development
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ศูนย์ข้อมูลกลางกระทรวงมหาดไทยและจังหวัด
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
งานระบบคอมพิวเตอร์และบริการ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา โดย อาจารย์สุวิสาข์ เหล่าเกิด
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
งานระบบคอมพิวเตอร์และบริการ
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
เหตุใด... ต้องมีการประกาศราคากลาง
โดย โอฬาริก สุรินต๊ะ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
ชิ้นงานที่ 1 ( 10 คะแนน ) ( งานเดี่ยว ) นักเรียนเขียนผังงาน Flowchart แสดงกระบวนการดำเนินงานในการสร้างเว็บไซต์
ความสำคัญและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
โรงเรียนแพทย์ระดับโลก ที่มีคุณค่าต่อสังคมไทย และมวลมนุษยชาติ
แผนกิจกรรมการสร้างการรับรู้ และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากเน็ตประชารัฐ
นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
คำอธิบาย รายวิชา รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 รหัสวิชา ง23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตัวชี้วัด ม.3/1 อธิบายหลักการทำโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ.
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
การพัฒนาและติดตั้งระบบ
เครือข่ายการเรียนรู้
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ความหมายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ถาวร อ่อนประไพ
กองอสังหาริมทรัพย์ กรมส่งกำลังบำรุงทหารบก.
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
“การปฏิบัติหน้าที่อย่างครูมืออาชีพ”
งานคุ้มครองผู้บริโภค กับการเฝ้าระวังสื่ออย่างชาญฉลาด
แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2561
ณ ห้องประชุมกองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน สามเสน กรุงเทพมหานคร
นายเกรียงไกร แก้วมีศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี
[ บทที่ 3 ] ระบบสารสนเทศ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) 1

การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) 1. หลักการและเหตุผล ปัจจุบันกรุงเทพมหานครมีการนำเทคโนโลยีสารเทศมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการภายใต้กรอบของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556-2575) ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 การบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ย่อยที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ กลยุทธ์ที่ 7.5.3 เพิ่มศักยภาพบุคลากรของกรุงเทพมหานคร ด้านการใช้งานและการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกรุงเทพมหานครระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2556-2559) ในการนี้กองสารสนเทศ-ภูมิศาสตร์ได้เห็นความสำคัญของการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ จึงเห็นควรเพิ่มช่องทางการพัฒนาศักยภาพข้าราชการกรุงเทพมหานครให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน และประชาชนทั่วไป กิจกรรมการปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) เพื่อให้ข้าราชการของกรุงเทพมหานครและประชาชนที่สนใจสามารถเรียนรู้ผ่านระบบนี้ได้ตลอด 24 ชั่วโมง 2

การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) 1. หลักการและเหตุผล ปี 2549 กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยฝ่ายระบบเครือข่ายได้จัดทำระบบ GIS e-Learning บทเรียนสารสนเทศภูมิศาสตร์ออนไลน์ โดยมุ่งหวังเป็นสื่อประกอบการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้พื้นฐานทางสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (หน่วยการเรียนรู้ : สาระภูมิศาสตร์) สำหรับโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร หน่วยงานต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร และผู้ที่สนใจ ซึ่งมีเป้าหมาย ในการฝึกอบรมให้กับอาจารย์ที่สอนเกี่ยวกับวิชาภูมิศาสตร์ของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร ในการจัดทำบทเรียนผ่านระบบ GIS e-Learning ที่ทางฝ่ายระบบเครือข่ายได้พัฒนาขึ้น ซึ่งในปัจจุบันระบบดังกล่าวอยู่ระหว่างการพัฒนาใหม่ให้เหมาะสมกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป 3

การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ๒. หลักการและเหตุผล 1. เพื่อพัฒนาระบบ e-Learning ที่สามารถบรรจุเนื้อหา รายวิชา ด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ให้บริการด้านวิชาการแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานครและประชาชนที่สนใจ 2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและสามารถเลือกสรรการเรียนรู้ได้ตามอัธยาศัยได้ตลอดเวลาในทุกที่ทุกโอกาส 4

การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ๓. เป้าหมาย ระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) พร้อมใช้งาน จำนวน 1 ระบบ 5

การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ๔. ลักษณะกิจกรรม เป็นกิจกรรมใหม่ซึ่งสอดคล้องกับแผนระดับต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 4.1 แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 20 ปี ระยะที่ 1 (พ.ศ.2556 - 2560) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 การบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ย่อยที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ กลยุทธ์ที่ 7.5.3 เพิ่มศักยภาพบุคลากรของกรุงเทพมหานคร ด้านการใช้งานและการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ๔.2 แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกรุงเทพมหานคร ระยะ ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๕๖ – ๒๕๕๙) ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนา/ปรับปรุงเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน 6

การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ๕. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ กรุงเทพมหานครมีระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) เพื่อเป็นช่องทางในการเรียนรู้ การใช้งานโปรแกรมทางด้าน GIS ผ่าน WEB เพื่อให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำองค์ความรู้ทางด้าน GIS ไปประยุกต์และพัฒนางานตามภารกิจอย่างแพร่หลายและเปิดโอกาสให้สามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ๖. ตัวชี้วัด จำนวนระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) พร้อมใช้งานจำนวน 1 ระบบ 7

การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ๗. แนวทางการดำเนินงาน ดำเนินการโดยฝ่ายระบบเครือข่าย กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยมีขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้ ๗.๑ ศึกษาปัญหาในระบบเดิม และศึกษาเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่จะนำมาพัฒนาระบบ GIS e-Learning ๗.๒ กำหนดกรอบแนวทาง รูปแบบของระบบ ๗.๓ ออกแบบระบบ ๗.๔ พัฒนาระบบ ๗.๕ ติดตั้ง และทดสอบระบบ ๗.6 เผยแพร่ผ่าน www.bangkokgis.com 8

๗.๑ ศึกษาปัญหาในระบบเดิม และศึกษาเทคโนโลยี การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ๗.๑ ศึกษาปัญหาในระบบเดิม และศึกษาเทคโนโลยี ที่เหมาะสมที่จะนำมาพัฒนาระบบ GIS e-Learning ระบบเดิม 9

๗.๒ กำหนดกรอบแนวทาง รูปแบบของระบบ การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ๗.๒ กำหนดกรอบแนวทาง รูปแบบของระบบ รวบรวมเนื้อหาและแบบทดสอบจากบุคลากรผู้เชี่ยวชาญเนื้อหาบทเรียน ด้าน GIS และจัดทำโครงสร้างวิชาจำนวน ๖ หมวด ดังนี้ ๑.๑ Geographic Information System (GIS) ๑.๒ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ๑.๓ Software GIS ๑.๔ Database Software ๑.๕ Developer GIS Application ๑.๖ ทั่วไป 10

๗.๒ กำหนดกรอบแนวทาง รูปแบบของระบบ การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ๗.๒ กำหนดกรอบแนวทาง รูปแบบของระบบ ๒. จัดทำ Story board สำหรับการจัดทำ GIS e – Learning ตามวิชาที่ได้จาก ข้อ ๑ 11

๗.๒ กำหนดกรอบแนวทาง รูปแบบของระบบ การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ๗.๒ กำหนดกรอบแนวทาง รูปแบบของระบบ ๓. พัฒนาเนื้อหาบทเรียนตาม Storyboard ตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ในข้อ 2 แบบทดสอบ บทนำ เนื้อหาบทเรียน 12

๗.๓ ออกแบบระบบ การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ๗.๓ ออกแบบระบบ การออกแบบโครงสร้างการทำงานระบบ GIS e-learning 13

๗.๔ พัฒนาระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ๗.๔ พัฒนาระบบ GIS e-Learning การทำงานของระบบ GIS e-Learning แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มหลักประกอบด้วย ๑. กลุ่มผู้ดูแลระบบ (Administrator) Flowchart การทำงานของผู้ดูแลระบบ (Administrator) 14

๗.๔ พัฒนาระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ๗.๔ พัฒนาระบบ GIS e-Learning การทำงานของระบบ GIS e-Learning แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มหลักประกอบด้วย ๒. กลุ่มผู้สร้างเนื้อหาการเรียน (Content Developer) / ครูผู้สอน (Teacher) Flowchart การทำงานของผู้สร้างบทเรียน (Teacher / Content Developer ) 15

๗.๔ พัฒนาระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ๗.๔ พัฒนาระบบ GIS e-Learning การทำงานของระบบ GIS e-Learning แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มหลักประกอบด้วย ๓. กลุ่มผู้เรียน (Student) Flowchart การทำงานของผู้เรียน (Student) 16

๗.๕ ติดตั้ง และทดสอบระบบ การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ๗.๕ ติดตั้ง และทดสอบระบบ ฝึกอบรมการใช้งานระบบ e-Learning ให้กับเจ้าหน้าที่ของสำนักอนามัย จำนวน 5 ราย ในหมวด Health Learning 17

๗.๖ เผยแพร่ผ่าน www.bangkokgis.com การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตส่วนกลาง (BMA GIS ONLINE) ๗.๖ เผยแพร่ผ่าน www.bangkokgis.com http://www.bangkokgis.com/giselearning/ 18