กรอบความคิดทางธุรกิจและการวางแผนกลยุทธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
LOGO Array. ประเภทของ Array - อาเรย์ 1 มิติ (One) - อาเรย์ 2 มิติ (Two) - อาเรย์ 3 มิติ (Three) 2.
Advertisements

Introduction to Earned Value Analysis.
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
ครูรุจิรา ทับศรีนวล “Travel plan”. “Travel plan”
ภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปึที่ 4 Grammar & Reading ครูรุจิรา ทับศรีนวล.
องค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และผจญภัย
ฝ่ายอำนวยการ งานธุรการและงาน สารบรรณ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานการเจ้าหน้าที่ งานสวัสดิการ งานนโยบายและที่รับ มอบหมาย ยิ้มงาม ถามไถ่ เต็มใจบริการ.
การจัดซื้ออะไหล่ และการจ้างงานซ่อมบำรุง
Operations in the Tourism Industry
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
สื่อประสมทางการศึกษา
แผนยุทธศาสตร์และการบริหารโครงการ
แนวทางการตลาดและขายลูกค้า SMEs
การท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว
Art & Architecture Medieval Age
การวิจารณ์งานศิลปะ การวิจารณ์ศิลปะในแง่สุนทรียศาสตร์ คือการประเมิน
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
ทรัพยากรการท่องเที่ยว (TIM 1301)
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โรคที่เป็นปัญหา ของพื้นที่
วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 7 การจัดการสุกร.
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2548 เห็นชอบให้สำนักงาน กพร
“สัมมนา 1 (Seminar I)” จัดโดย วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยพะเยา ณ อาคารเวฟเพลส ชั้น 8 วันเสาร์ที่ 19 กันยายน 2558 เวลา – น. โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
แผนการตลาด Marketing Plan.
ประเภทของการจัดนำเที่ยว
Case Study : 12 จัดซื้อเครื่องฉายโปรเจคเตอร์เกินราคามาตรฐานครุภัณฑ์ จัดซื้อเครื่องฉายโปรเจคเตอร์ ความสว่าง 3,500 ANSI Lumens พร้อมติดตั้ง จำนวน 1 ชุด.
ตรายี่ห้อ บรรจุภัณฑ์ และฉลาก
Student activity To develop in to the world community
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
บทที่ 2 อุปสงค์และอุปทานการท่องเที่ยว
ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (L0ng Term Care)
การประชุมจัดทำ Roadmap กระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
กรมกิจการเด็กและเยาวชน
ศิลปะการทำงานอย่างมีความสุข
พชรวรรณ ธัญญาดี ส่วนจัดการงบประมาณ สำนักแผนงานและสารสนเทศ
การท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษา/ การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
โครงงานนิทานภาพเคลื่อนไหว ด้วยโปรแกรม Paint และ PowerPoint
การออกแบบธุรกิจออนไลน์
อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ
บทที่ 6ทฤษฎีเกม Game Theory
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (New Product Development or NPD)
I WISH YOU A GREAT DAY! ฉันขอให้คุณ มีความสุขมากๆในวันนี้ นะคะ!
ภาพรวมการขับเคลื่อนงานในฐานะ Chief of Operation และ Operation Team
รูปแบบการท่องเที่ยว.
กลุ่มควบคุมโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์สากล
Case Study: Four Golden Brothers Painting
เรื่องอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
ข้อความสั่งควบคุม.
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
. เขาคิดกับเอาอย่างไง !!!????.
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
แบบฟอร์มที่ 2 ชื่อวิชา THM การวางแผนจัดนำเที่ยว (Tour Planning)
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
ใบงาน Work Shop หน่วยงานสนับสนุน
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
การพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอำเภอ ปี
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557
ความหมายประเภทนักท่องเที่ยว
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ อสม. สู่การทำงานสุขภาพเชิงรุก
การผ่าตัดเสริมซิลิโคน
Decision: Multi Selection (if-else-if, switch)
การเขียนรายงานการวิจัย
ใบงานกลุ่มย่อย.
โปรแกรม Thai cancer based Version 6.0
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รูปแบบลักษณะการวางแผนการจัดการ พัฒนาและจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และผจญภัยทั้งในและต่างประเทศ กรอบความคิดทางธุรกิจและการวางแผนกลยุทธ์ 1. การประเมินและหาโอกาสทางธุรกิจ 2. ระบุกลุ่มเป้าหมายในตลาด 3. การพัฒนาส่วนประกอบของบริการ 4. การปรับแผนกลยุทธ์ในการทำธุรกิจ Adventure tourism: Preparing a business concept and strategic plan

ธุรกิจ ธุรกิจในที่นี้หมายถึง การท่องเที่ยวแบบผจญภัย Adventure Tourism

การท่องเที่ยวแบบผจญภัย (Adventure Tourism) คือ การเดินทางท่องเที่ยวไปยังแหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติที่มีลักษณะพิเศษ ที่นักท่องเที่ยวจะได้รับความ สนุกสนานตื่นเต้น หวาดเสียว ผจญภัย มีความทรงจํา ความปลอดภัย และได้ประสบการณ์ใหม่ๆ Ref. http://www.tatreviewmagazine.com/upload/241/5_Thematic_Tourism.pdf

ตัวอย่าง รูปแบบการท่องเที่ยวแบบผจญภัย Atomic Tourism พาไปเที่ยวสถานที่ๆ มีความสําคัญทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับ ระเบิดนิวเคลียร์ เช่น การไปเยี่ยมชมพื้นที่เมืองฮิโรชิมา และนางาซากิซึ่งเมืองทั้งสองเคย ถูกทิ้งระเบิดนิวเคลียร์เมื่อสมัยสงคราม โลกครั้งที่สอง Dark Tourism (black tourism or grief tourism) พาไปเที่ยว ณ บริเวณที่เกี่ยวข้องกับการสังหาร หรือ พื้นที่เสี่ยงภัย ซึ่งรวมไปถึง ปราสาทและสนาม รบ เช่น Culloden near Inverness, Scotland; บริเวณที่เกิดภัยพิบัติ ทั้งที่เกิดจากฝีมือคน หรือ ธรรมชาติเช่น Ground Zero in New York; อดีตพื้นที่เรือนจํา ชึ่งปัจจุบันได้เปิดพื้นที่ให้คนทั่วไปได้เยี่ยมชม เช่น เรือนจํา Beaumaris ในAnglesey, Wales. และสิ่งที่ผู้คนให้ความสนใจเป็น พิเศษไมแพ้กัน เช่น ค่าย Auschwitz ใน Poland, และเขต Chernobyl ในอดีตสหภาพโซเวียต หรือ Bran Castle, Poienari Castle in Romania Ref. http://www.tatreviewmagazine.com/upload/241/5_Thematic_Tourism.pdf

ตัวอย่าง รูปแบบการท่องเที่ยวแบบผจญภัย Disaster Tourism การท่องเที่ยว ณ บริเวณที่เคยเกิดภัยพิบัติธรรมชาติ นักท่องเที่ยวใน รูปแบบนี้อาจมีส่วนเข้าช่วยเหลือผู้ประสบภัยร่วมด้วยก็ได้ ตัวอย่างเช่นเหตุการณ์ TSUNAMI ที่ผ่านมา Extreme Tourism (or shock tourism) เป็นการไปท่องเที่ยวในสถานที่ อันตราย เช่น ภูเขา ป่า ทะเลทราย ถ้า หรือเหตุการณ์ที่อันตราย Extreme Tourism คล้ายกับExtreme sport เนื่องจากกิจกรรมทั้งสองแบบเน้นไปที่การทำให้เกิด “adrenaline rush " Militarism heritage Tourism เป็นการท่องเที่ยวที่ให้ผู้สนใจได้มีโอกาสไปเยี่ยม ชมเขตพื้น ที่ทหาร ซึ่งเป็นเขตพื้นที่เฉพาะ ดังที่ทราบในอดีตว่า เขตพื้นที่ทหารห้ามเข้า มาเป็น พื้นที่ทหารยินดี ต้อนรับ ซึ่งในบางพื้นที่อาจมีกีฬา Extreme sport ร่วมด้วย เช่น เขต พื้นที่กรมทหารราบที่ 11 รักษา พระองค์ที่มีบริการ กีฬาPaint Ball ให้กับผู้ที่สนใจ Space Tourism เป็นการท่องเที่ยวในสถานีอวกาศรวมถึงการเดินทางโดยยานอวกาศ ซึ่ง การเดินทางรูปแบบดังกล่าวมีค่าใช้จ่ายที่สูงมาก Ref. http://www.tatreviewmagazine.com/upload/241/5_Thematic_Tourism.pdf

1. การประเมินและหาโอกาสทางธุรกิจ ปัญหาเปิดประเด็น จะทำทัวร์แบบผจญภัยให้ออกมาในลักษณะใด ควรไปทำทัวร์แบบผจญภัยที่ไหน ตลาดใหญ่พอที่จะเข้าไปทำหรือไม่ ก่อนจะเริ่มทำธุรกิจการท่องเที่ยวแบบผจญภัย(adventure tourism) ควรจะต้องตอบคำถามเหล่านี้ให้ได้ก่อน เพื่อให้แน่ใจว่าธุรกิจมีโอกาสอยู่รอดได้

สร้างแบบจำลองธุรกิจ กำหนดว่าจะให้บริการในลักษณะใดเป็นหลัก สถานที่ท่องเที่ยวที่มีอยู่นั้นสามารถทำทัวร์ในลักษณะนี้ได้หรือไม่ จุดขายของสถานที่ท่องเที่ยวนี้คืออะไร มีข้อได้เปรียบทางธุรกิจอะไรบ้าง ทักษะในการประกอบการมีไหม ตัวเองมีประสบการณ์ ความรู้ หรือทักษะเกี่ยวกับ outdoor adventure มากน้อยแค่ไหน

ประมวลผล เมื่อตอบคำถามข้างต้นได้แล้ว ก็จะช่วยให้เห็นความเป็นไปได้ และแนวทางในการ ทำธุรกิจชัดเจนขึ้น จากนั้นให้ลองประมวล กลั่นกรอง ข้อมูลหรือคำตอบที่ได้ออกมาให้ชัดเจน

ประสบการณ์ คือ ความได้เปรียบ ถ้ามีประสบการณ์เกี่ยวกับการท่องเที่ยวแบบผจญภัยมาก่อนก็ถือว่าเป็นข้อ ได้เปรียบในการทำธุรกิจ เพราะเท่ากับว่าได้ผ่านบททดสอบและบทเรียนมาบ้าง แล้ว พอเห็นแนวทางในการทำธุรกิจ จะเห็นได้ว่า มีผู้ประกอบการหลายรายที่เริ่ม ธุรกิจจากความชอบ คือ ชอบเที่ยวแนวนี้ เมื่อถึงจุดหนึ่งก็เปลี่ยนจากคนเที่ยวมา เป็นผู้พาเที่ยว ถ้าไม่เคยมีประสบการณ์ฯ มาก่อน ก็ต้องทำงานหนักขึ้น คือต้องหาข้อมูลให้มาก พอที่จะช่วยลดผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น

ความยากของการทำทัวร์แบบผจญภัย ทำอย่างไรให้นักท่องเที่ยวหันมาสนใจการท่องเที่ยวแบบผจญภัย ต้องรู้ว่านักท่องเที่ยวแนวนี้ต้องการอะไร หรือคาดหวังว่าจะได้พบเห็นหรือมี ประสบการณ์อะไร ในฐานะผู้ประกอบการ จะทำอย่างไรให้นักท่องเที่ยวได้รับประสบกาณ์ที่เต็มอิ่ม ตามความคาดหมายของนักท่องเที่ยว

เริ่มต้น...อย่างไร ต้องรู้ให้ได้ว่านักท่องเที่ยวที่เป็นกลุ่มเป้าหมายนั้นต้องการที่จะได้ประสบการณ์ อะไรบ้างจากการมาเที่ยวแบบนี้ หรือต้องการได้รับประสบการณ์ นักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมายเคยซื้อทัวร์แบบไหนมาบ้าง ที่เป็นการท่องเที่ยวแบบ ผจญภัย ในแหล่งท่องเที่ยวอื่นที่จัดอยู่ในประเภทนี้ รูปแบบการท่องเที่ยวแบบผจญภัยที่จะนำเสนอนั้น เคยมีใครทำมาก่อนแล้วหรือไม่ ถ้ามี มีผู้ประกอบการในลักษณะเดียวกันนี้กี่ราย และที่ตั้งของแหล่งท่องเที่ยวนั้นอยู่ ที่ไหน

เริ่มต้น...อย่างไร (ต่อ) ศึกษาว่าผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จนั้น เขามีวิธีการดำเนินงานอย่างไร มี package ทัวร์แบบไหนบ้าง ซึ่งอาจหาดูได้จากเวบไซต์ของผู้ประกอบการ เหล่านี้ หรือจากองค์กรต่างๆ เช่น ททท. หรือลองไปพูดคุยกับผู้ประกอบการ เหล่านี้โดยตรง ถามความคิดเห็นว่า อะไรทำให้พกเขาประสบความสำเร็จ จุดขาย คืออะไร เคยเจอปัญหาหรืออุปสรรคอะไรบ้างในการทำทัวร์ ตลาดตอนนี้เป็น อย่างไร คิดว่าจะมีอะไรเปลี่ยนแปลงไหม มีอะไรจะแนะนำให้ผู้ประกอบการหน้า ใหม่บ้างไหม ฯลฯ

ตกผลึกทางความคิด เมื่อรวบรวมข้อมูลได้มากพอแล้ว ให้หาแนวทางของตัวเองให้เจอ จะจัดทัวร์ให้ออกมาในรูปแบบไหน ที่เป็นการดึงเอาศักยภาพที่มีอยู่ออกมาใช้ให้ ได้มากที่สุด และคิดว่าสามารถทำได้ดีที่สุด

หาตัวช่วย ลองมองหาผู้ประกอบการที่ทำธุรกิจในวงการเดียวกันกับเรา แต่ไม่ใช่คู่แข่งโดยตรง กับเรา เพื่อหาข้อมูลเชิงลึก ทั้งนี้เราอาจโทรไปขอนัดหมายเพื่อเยี่ยมชมกิจการของ เขา แล้วเตรียมคำถามไป

ตัวอย่าง คำถามเชิงลึก ในแต่ละปีมีลูกค้าจำนวนเท่าไหร่ ลูกค้าส่วนใหญ่เป็นคนในพื้นที่ ในประเทศ หรือมาจากที่อื่น ถ้าคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ แต่ละกลุ่มคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ คำถามทำนองนี้จะช่วยให้เราวางแผนการขายได้ง่ายขึ้น

วางแผนจัดโปรแกรมทัวร์ จะทำทัวร์แบบ part-day tour หรือ multi-day tour ซึ่งอาจพิจารณาจาก - พฤติกรรมของคนที่เข้ามาในแหล่งท่องเที่ยว - ศักยภาพของผู้จัดทัวร์ - ลักษณะของแหล่งท่องเที่ยว เช่น สามารถเข้าถึงได้ง่ายหรือยาก หรือมีข้อจำกัด อื่นๆ

กลยุทธ์ในการทำธุรกิจ ผนวกเอากลุ่ม piggybacking มาเป็นจุดเด่นในการทำทัวร์ เรียนลัดจากการทำงานและผลงานของคู่แข่ง ดูว่าคู่แข่งทำอะไรแล้ว work ทำ อะไรแล้ว fail หาข้อได้เปรียบในการทำธุรกิจให้เจอ เรามีอะไรเป็นจุดดีจุดเด่นที่คู่แข่งไม่มี หรือ เราทำได้ดีกว่า

กลยุทธ์ในการทำธุรกิจ (ต่อ) ถ้ากลุ่มลูกค้าเป้าหมายเป็นคนในพื้นที่หรือในภูมิภาคเดียวกับแหล่งท่องเที่ยวที่เรา ทำทัวร์อยู่ ให้เข้าหาองค์กร เช่น ททท.จังหวัด ขอข้อมูล คำชี้แนะหรือปรึกษาเรื่อง ต่างๆ เช่น สถิติจำนวนนักท่องเที่ยว ช่วงเวลาที่เป็น high season สไตล์การ เที่ยวของนักท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวเคยเขียน complain อะไรไว้บ้าง หรือว่า ประทับใจอะไรเป็นพิเศษ แนวโน้มธุรกิจท่องเที่ยวแบบนี้เป็นอย่างไร มี case study อะไรที่น่าสนใจบ้าง

กลยุทธ์ในการทำธุรกิจ (ต่อ) พูดคุยแลกเปลี่ยนทัศนคติกับผู้ประกอบการรายอื่น ที่ทำทัวร์ประเภทเดียวกับเรา เช่น ถามว่าเคยมีลูกค้าถามถึงทัวร์แบบที่ไม่เคยจัดบ้างไหม เขาขายทัวร์ได้เยอะ ไหม ตอนนี้มีขายทัวร์แบบไหนอยู่บ้าง

2. ระบุกลุ่มเป้าหมายในตลาด ต้องชัดเจนว่ากลุ่มเป้าหมายหลักของธุรกิจคือใคร เพื่อจะได้วางโปรแกรมทัวร์ให้โดน ใจกลุ่มเป้าหมาย

รู้ได้อย่างไรว่ากลุ่มเป้าหมายควรเป็นใคร เราถนัดทำทัวร์แบบไหน หรือทำทัวร์แบบไหนได้ดีกว่าคู่แข่ง สาระสำคัญของทัวร์แบบนี้คืออะไร ตลาดใหญ่พอหรือไม่ที่จะเข้ามาทำธุรกิจ ในตอนนี้ ข้อจำกัดของตลาดเช่น เป็นการท่องเที่ยวตามฤดูกาล บางฤดูจัดท่องเที่ยวไม่ได้ หรือไม่ ปัจจุบันมีคู่แข่งในตลาดจำนวนมากหรือไม่

ข้อควรรู้ เพิ่มเติม นักท่องเที่ยวยินดีจ่ายให้กับการท่องเที่ยวแบบผจญภัยขนาดไหน เรามีงบในการทำตลาดหรือไม่ และถ้าทำไปแล้วจะได้ผลหรือไม่ มีวิธีวัดผล อย่างไร หา Agents ช่วยขายทัวร์ให้ได้หรือไม่ ถ้าหาได้ต้องจ่ายเท่าไหร่ คุ้มหรือไม่ คิดว่าตลาดจะยังดีอยู่อีกนานแค่ไหน ตลาดไหนกำลังจะรุ่ง หรือ ตลาดไหนกำลังจะดับ

3. การปรับแผนการท่องเที่ยว แม้จะได้กำหนดแผนธุรกิจไว้แล้วว่าจะทำทัวร์แบบไหน แต่เราก็อาจต้องทำการ ปรับเปลี่ยนเพื่อความเหมาะสม เช่น เคยตั้งใจจะทำทัวร์แบบ multi-day tour หรือ ทำแบบ packages แต่ปรากฏว่าตลาดนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ใน ขณะนี้นิยมเที่ยวแบบ half to one day tour เราก็ต้องปรับเปลี่ยน แผนการท่องเที่ยว

ปัจจัยที่ใช้พิจารณาปรับเปลี่ยนแผนการท่องเที่ยว เน้นที่ตลาดหลักเป็นสำคัญ ว่ามีลักษณะอย่างไร เปลี่ยนไปหรือไม่อย่างไร ศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวเอง ศักยภาพของผู้จัดทัวร์ในการเข้าถึงการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวแบบผจญภัย ความสามารถในการนำเสนอจุดขายและข้อได้เปรียบให้แก่ลูกค้าแต่ละกลุ่ม การตั้งราคา ข้อจำกัดเกี่ยวกับฤดูการท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวแต่ละแห่ง การเสนอ package เพื่อทำตลาดร่วมกับคู่ค้า ความสามารถของผู้จัดทัวร์ในการจัดหาอุปกรณ์เครื่องมือและสิ่งอำนวยความ สะดวกแก่นักท่องเที่ยว

4. การปรับแผนกลยุทธ์ในการทำธุรกิจ ควรเขียนแผนกลยุทธต่างๆ ลงบนกระดาษ โดยพยายามเอาข้อมูลด้านต่างๆ มา ประกอบกัน เช่น ระยะเวลาในการจัดทัวร์ ประเภทของลูกค้า ลักษณะของแหล่ง ท่องเที่ยว ลองปรับเปลี่ยน จับคู่องค์ประกอบต่างๆ แล้วจะได้ package tour หลายๆ รูปแบบ

ตัวอย่าง การปรับแผนกลยุทธ์ ปีที่ 1 วางแผนทำตลาดเจาะกลุ่ม half-day tour ให้กับนักท่องเที่ยวที่มา เที่ยวตามฤดูกาล โดยจัดเตรียมอาหารให้ด้วย แต่ถ้าลูกค้าต้องการเที่ยวแบบ one day tour ก็จัดกิจกรรมเพิ่มให้ได้ เช่น มีบริการจักรยาน หรือเรือคายัค ให้บริการ โดยคิดค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ปีที่ 2 เมื่อเป็นที่รู้จักในตลาดแล้ว อาจปรับแผนการท่องเที่ยวเป็นแบบ two- day tour จัดหาที่พัก และอาหารให้ลูกค้าด้วย ซึ่งอาจทำตลาดร่วมกับเอเย่นต์ ขายทัวร์ด้วยก็ได้ ปีที่ 3 ปรับแผน เพิ่มจำนวนวัน พาไปเที่ยวหลายที่มากขึ้น มีกิจกรรมหลากหลาย ให้เลือกทำ ซึ่งอาจขายเองโดยตรงหรือให้เอเย่นต์ช่วยทำตลาด