Introduction SQLite Prawit Pimpisan Computer Science RERU.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
System Requirement Collection (2)
Advertisements

การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
JSP ติดต่อฐานข้อมูล.
ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Server Object. 2 z ใช้ในการควบคุม และบริหารเว็บเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งทำด้วยการเขียนสคริปต์ใน แอปพลิเคชั่น ASP ( โดยเรียกใช้เมธอด หรือกำหนดค่าพรอพเพอร์ตี้ของ.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
การใช้งานโปรแกรม SPSS
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
Winrar โปรแกรมย่อไฟล์ หลายครั้งที่เมื่อเราโหลดข้อมูลมาจากเว็บไซต์ ต่างๆ แล้วไฟล์ที่ได้มีนามสกุลเป็น.rar ซึ่งเราต้อง นำไฟล์นั้นมาแตกออกเพื่อที่เราจะได้ข้อมูลจริงๆที่
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
การสร้างฐานข้อมูลใหม่ หมายถึง การสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่บน Access สามารถกำหนด ได้ดังต่อไปนี้ ภาพแสดงการสร้างฐานข้อมูลใหม่
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
SQL Structured Query Language.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
Android Programming Multimedia Prawit Pimpisan Computer Science RERU.
Introduction List View Prawit Pimpisan Computer Science RERU.
BC320 Introduction to Computer Programming
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
เครื่องมือเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
Basic Input Output System
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
Android Programming Getting Start Prawit Pimpisan Computer Science
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
การใช้งานเครื่องมือพื้นฐานของ BI
ยินดีต้อนรับสู่ PowerPoint
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
Object-Oriented Programming Paradigm
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
Week 5 C Programming.
Integrated Information Technology
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การออกแบบแบบสอบถาม การออกแบบแบบสอบถาม
บทสรุป ความหมายของ Query ความหมายของ Query
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
ProQuest Dissertations & Theses
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction SQLite Prawit Pimpisan Computer Science RERU

การเก็บข้อมูล ข้อมูลที่ต้องการเก็บไว้ในเครื่องสามารถทำได้หลายวิธีขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งาน เก็บข้อมูลลงไว้ใน App โดยตรง เก็บข้อมูลไว้ที่ Public Directory ที่ App อื่นๆสามารถเปิดดูได้ เก็บลงฐานข้อมูล SQLite ข้อมูลเกี่ยวกับการ Setting จะเก็บด้วย Preference ที่ Android ซึ่งเป็น primitive data เก็บไว้ในเครื่อง

การใช้งานฐานข้อมูล Android รองรับการใช้งานกับฐานข้อมูล Sqlite เป็นฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพและได้รับความนิยมอย่างสูงในอุปกรณ์พกพา มีรูปแบบการใช้งานลักษณะเดียวกันกับ SQL database โดยทั่วไป

การสร้าง Database และ Table ถ้าเป็นฐานข้อมูลที่ใช้กับ Computer หรือ Server มักสร้าง database ด้วยเครื่องมือจัดการ เช่น MsSQL phpMyAdmin …. อุปกรณ์พกพาจะต้องให้ App นั้นๆ สร้าง Database ให้ โดยทำการสร้างเพียงครั้งเดียว หลังจากนั้นก็ทำการ Read/Write ตามปกติ

ตัวอย่างการสร้างฐานข้อมูลและ Insert ทดลองสร้างฐานข้อมูล การสร้างฐานข้อมูลจะทำการสร้างเพียงครั้งเดียว โยมีการกำหนดพารามิเตอร์เอาไว้คือ CREATE_IF_NECESSARY เมื่อสร้างตารางแล้วตัวอย่างนี้จะทดลองสร้าง insert ข้อมูล

Android Device Monitor Android Device Monitor ใช้สำหรับตรวจสอบไฟล์ และการทำงานของทรัพยากรภายในเครื่อง Android กรณีที่เปิดไม่ได้ ให้เปิดโปรแกรมด้วยสิทธ์ Administrator

การเข้าไปตรวจสอบฐานข้อมูลในเครื่อง

ตรวจสอบ SQLite file ทำการ export ไฟล์ sqlite จาก DDMS

SQLiteOpenHelper การสร้าง Database และ table สามารถสั่งงานโดยตรงได้ Google แนะนำให้สร้าง abstract class ชื่อ SQLiteOpenHelper ไว้สำหรับจัดการฐานข้อมูล การใช้งานจริงต้อง Extends คลาส SQLiteOpenHelper

การ Query ข้อมูล การ query ของ SQLiteOpenHelper สามารถทำได้ 2 วิธี rawQuery – เป็นการ query โดยมีรูปแบบคล้ายกับฐานข้อมูลทั่วไป โดยใช้ Cursor เป็นตัวชี้ ซึ่งใช้ในการตรวจสอบและชี้ไปที่ row query – ใช้อ่านข้อความจากตารางเดียว โดยส่ง argument 7 รายการ

การ Query ข้อมูล - rawQuery เช็คตำแหน่ง isFirst(), isLase(),…. ชี้ไปยังเรคอร์ด moveToFirst(), moveToLase, ….. อ่านค่า/ข้อมูล จากฟิลด์คอลัมน์ที่ต้องการ getInt, getString, … อ่านข้อมูลโครงสร้างหรือ Schema getColumnName, getColumnIndex, …

การ Query ข้อมูล - query ส่ง Argument ตามลำดับดังนี้ String ชื่อตาราง String[] คอลัมน์ที่ทำการเลือก String เงื่อนไข (Where clause) String[] Argument ของเงื่อนไข String Group by String เงื่อนไข having String เงื่อนไขการจัดเรียง

SQLiteOpenHelper ทดลองสร้าง class สำหรับทำหน้าที่ช่วยในการเชื่อมต่อ Database เวลาใช้งานจริงจะเรียกผ่าน Main Activity ให้ทำงานตามต้องการ

การใช้งาน DatabaseHandler ทดสอบเรียกใช้งานฐานข้อมูล

การแสดงข้อมูลด้วย List แสดงการดึง database record ออกมาแสดงเป็น list รายการ เป็นการสร้างแอพในลักษณะของการ Search ข้อมูล เรียกดูข้อมูลโดยการแตะที่รายการ list

Row Layout สร้าง Layout สำหรับ Row เพื่อทำการแสดง Record แต่ละบรรทัด สร้างไฟล์ layout ชื่อ row_layout.xml

activity_main layout แก้ไขไฟล์ activity_main layout ประกอบด้วย ช่องค้นหา(EditText), ปุ่ม และ ListView

MainActivity แก้ไขไฟล์ Java ทำการ extends ListActivity อ่านข้อมูลจาก database แล้วนำมา list ออกรายการ มีเมธอดสำหรับค้นหาข้อมูล เมื่อแตะที่ item แล้วจะไปแสดงผลรายละเอียดในหน้าถัดไป

InputMethodManager คลาสสำหรับซ่อนและแสดง Keyboard โดยจะแสดง Keyboard เมื่อมีการแตะที่ช่อง EditText ซ่อนเมื่อออกจาก EditText หรือกด Enter

getAllRecord Method เมธอดสำหรับเรียกเก็บทุก Record จากฐานข้อมูล

getSearchRecord Method เมธอดสำหรับค้นหารายชื่อ(name) ที่ตรงกับ keyword ที่ค้นหา

ViewRecordActivity สร้าง Ativity แบบ Emply Activity ขึ้นมาเพิ่ม ที่ layout ให้มีเพียง textview ตัวเดียว เพื่อทำการแสดงข้อมูลของ Record ที่ activity มีการทำงานคือ รับข้อมูล intent หมายเลข record มาจากหน้าแรก ทำการอ่าน record ที่เลือก แล้วส่งออกมาเป็น output View activity

Manifest จะมีคลาส ViewRecordActivity เพิ่มเข้าไปในไฟล์โดยอัตโนมัติ