การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถาปัตยกรรมเทียร์ TIER ARCHITECTURE.
Advertisements

Introduction To Web Application
การควบคุมวัตถุดิบสำหรับร้านอาหารโดยใช้ RFID ร่วมกับ Web Service
Intro : การเขียนโปรแกรมบนอินเตอร์เน็ต
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
Browser-Based Application Development
งานศึกษาค้นคว้ารายงาน 10 คะแนน
วิวัฒนาการของ Remote Access
System Integration.
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
ทวีวัฒน์ เหลืองวิริยะ
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
ปิยพจน์ และคณะ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
Introduction to Server Services
Software ส. อ. ประกาศิต วรนุช ไมโครคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเฉลิมกาณจนา บุรีรัมย์ ลิขสิทธิ์ โดย ส. อ. ประกาศิต วรนุช ไมโครคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย เฉลิมกาณจนา บุรีรัมย์
Seminar in Information Knowledge and Technology Management ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
การเตรียมเครื่องก่อนการอบรม
Teerachai Laothong Perf Enterprise Co., Ltd. Certified IT Professional (NECTEC)
สรุปผลการดำเนินงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ 2558 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่
โปรแกรมนี้ เป็นโปรแกรมที่ โปรแกรมจัดเก็บ เอกสารให้ง่ายต่อการค้นหานำกลับมาใช้แก้ไข ครับ สำหรับใครที่มีเอกสารเยอะๆ และเวลาจะ นำมาใช้ทีนึงแล้วรู้สึกอยากต่อการเข้าถึง.
การสื่อสารข้อมูล.
ระบบคอมพิวเตอร์.
ศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อบริหารจัดเก็บและใช้ประโยชน์
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 8 เครือข่ายการสื่อสารทางไกลระหว่างประเทศ
Wireless Network เครือข่ายไร้สาย
Computer Network.
ผู้บริหารกรมชลประทานกับระบบEIS
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Toward National Health Information System
LAB03 : BASIC NETWORK DESIGN
เรื่องน่ารู้ ตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
โปรแกรม GG2 Prompt.
ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น
โครงการแผนการจ่ายเงินการรับเงิน และนำเงินส่งคลังของ เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการบริหาร ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ – กองทัพเรือ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ e-Payment.
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ * Management Information Systems
Data mining สุขฤทัย มาสาซ้าย.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
INTRO MOBILE COMP ผู้สอน ชัชวิทย์ อาภรณ์เทวัญ
Client/Server Computing and Web Technologies (2-0-4)
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
การใช้โปรแกรมเบื้องต้น (Application Overview)
การออกแบบระบบ System Design.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
แบบฟอร์มการรายงานข้อมูลพื้นที่แปลงบำรุงป่า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
โครงสร้างอัตรากำลังของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
งานระบบคอมพิวเตอร์และบริการ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา โดย อาจารย์สุวิสาข์ เหล่าเกิด
Database ฐานข้อมูล.
บทบาทของกระทรวงสาธารณสุขกับการดำเนินงานOSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
การปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงาน โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
บทที่ 9 การออกแบบระบบ และการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟช
แอปพลิเคชันขององค์กรในยุคอินเทอร์เน็ต
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
เครือข่ายการเรียนรู้
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
การให้บริการไฟล์ File Transfer Protocol
สรุปผลงานประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
การพัฒนาข้อมูลสาเหตุการตาย
Group Decision Support systems: GDSS
การออกแบบเชิงสถาปัตยกรรม
การพัฒนา IT ให้บูรณาการเข้ากับโครงสร้างและระบบงาน
TOT e-Conference Bridge to Talk : Simple & Clear.
Distributed Computers and Web Technologies (3-0-6)
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
บทที่ 2 ระบบเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น

Software & Application การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น (Application Architecture Design) เป็นการออกแบบสภาพแวดล้อมการทำงานของ app. โดยกำหนดว่าจะให้ app. ทำงานบนระบบคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะการทำงานแบบใดและบนเครือข่ายชนิดใด พิจารณาเปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสียของทางเลือกต่างๆ แล้วเลือกทางเลือกที่เหมาะสมกับองค์กรและความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด

Tier Architecture เป็นการแบ่งการทำงานของ app. ออกเป็นระดับชั้น แต่ละระดับชั้นมีการติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน การแบ่งหน้าที่การทำงานของ app เป็นระดับชั้นจะพิจารณาจากความซับซ้อนของระบบและโอกาสที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบ

Tier One-tier Architecture Two-tier Architecture Three-tier Architecture N-tier Architecture

One-tier Architecture App ประมวลผลอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียว (Stand Alone) ไม่มีการแบ่งภาระการประมวลผลทั้งข้อมูล (Data) และการนำเสนอ (Presentation) หากระบบขนาดใหญ่จะทำงานได้ช้า

Two-tier Architecture Client/Server Architecture แบ่งการทำงานเป็น 2 ชั้น Application Layer Data Layer

Two-tier Architecture ทำหน้าที่ด้านการนำเสนอ เป็นส่วนติดต่อกับผู้ใช้ทางจอภาพ (GUI) ทำหน้าที่ทางด้าน Application Logic คือติดต่อกับฐานข้อมูลซึ่งอยู่ในระดับ Data Layer ควบคุมการทำงานของระบบให้เป็นไปตาม Business Rule อาศัย Driver ของฐานข้อมูล เช่น ODBC

Two-tier Architecture Application Layer: Client: -Presentation Logic -Application Logic Data Layer: Database Server Server ทำหน้าที่จัดเก็บข้อมูล คอยรับคำร้องขอข้อมูลจาก Client โดย Client ทุกเครื่องจะต้องติดตั้งโปรแกรมไว้ เพื่อทำหน้าที่ในการติดต่อกับผู้ใช้ และติดต่อกับฐานข้อมูล

ข้อดี & ข้อเสีย ข้อดี ข้อเสีย ลดภาระการทำงานของคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูล เหมาะกับระบบงานขนาดกลางและไม่ซับซ้อน ข้อเสีย กรณีเป็นระบบขนาดใหญ่ จะทำให้ client ทำงานหนักเกินไป หาก app. มีการเปลี่ยนแปลง จะต้องเสียเวลาในการติดตั้งตัว app. เพิ่มเติม เนื่องจากต้องติดตั้งให้กับ client ทุกเครื่อง

Three-tier Architecture Presentation Layer : ทำหน้าที่นำเสนอหรือแสดงผล, ตรวจสอบข้อมูลที่จะเข้าสู่ระบบ Business Rule Layer หรือ Middle Tier : ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานกับข้อมูลให้เป็นไปตามเงื่อนไขทางธุรกิจ, ติดต่อกับ Database Server อาจเรียกอีกชื่อว่า Application Layer Data Layer : จัดเก็บและจัดการข้อมูลใน Database Server

Three-tier Architecture Presentation Layer: Client: -Presentation Logic Business Rule Layer: Application Server: -Business Logic Data Layer: Database Server

ข้อดี & ข้อเสีย ข้อดี ข้อเสีย หากมีการเปลี่ยนแปลงในบาง Layer จะส่งผลกระทบต่อ Layer อื่นน้อยมาก สนับสนุนหลักการ Reusability ในบางส่วน เช่น Business Rule สามารถนำไปใช้ใหม่ได้ คอมพิวเตอร์แต่ละตัวรับภาระน้อยลง รองรับการทำงานในปริมาณมากๆ ได้ ข้อเสีย ออกแบบและพัฒนาระบบค่อนข้างยาก

N-tier Architecture ตัวอย่างเช่น Web-based Application แบ่งเป็นหลาย Layer Web Browser (Client) ex. PC, PDA, Mobile Application Layer (Web Server) Business Logic Layer Web Database Server

N-tier Architecture Client / Web Browser: Application Layer: Web Server -Presentation Logic Business Rule Layer: Application Server / Web Server -Business Logic Data Layer: Web Database Server

ลักษณะการทำงานของระบบ ระบบงานแบบรวมศูนย์ (Single-location System) ระบบงานแบบกระจาย (Distributed System)

ระบบเครือข่าย LAN WAN Internet Intranet Extranet

รูปแบบ Application สำหรับ LAN File Server (ทำงานที่ Client) Client/Server (ทำงานที่ Server) รูปแบบ Application สำหรับ WAN Web-based Application Web Service (เรียกใช้ app. อื่น จาก web อื่นได้)