กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบัน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)
Globalization and the Law II
ธรรมาภิบาล และ การปฏิรูปราชการ
PPA 1106 สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ
การทำตัวอักษรขึ้นต้นด้วย ตัวใหญ่ นางสาว ลลิตา เจริญผล
Power Point ประกอบการบรรยาย แก่ “ประธานกรรมการและเลขานุการ กรรมการสถานศึกษา ตามโครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการดำเนินงานของกรรมการสถานศึกษา” วันที่ 19 ธันวาคม.
นำเสนอ “นวัตกรรมดีเด่น” และ
Public International Law & International Criminal Law
การศึกษา ปริญญาตรี - ศิลปศาสตร์บัณฑิต(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
Chapter 3 The Law of Treaties
Public International Law & International Criminal Law
ส่วนที่ 1 ความเบื้องต้น
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law
เอกสารรายวิชา: : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
กฎหมายการค้าของเอกชนระหว่างประเทศ วิวัฒนาการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law (ตอน 02)
สรุปภาพรวมกระบวนการประมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction)
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law (ตอน 02)
วิธีการศึกษากฎหมายกับสังคม
จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม
ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
ตอนที่ 2 ขอบเขตการบังคับใช้ พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร 2552 VS 2558
Globalization and the Law
การจัดทำรายละเอียดและ การประเมินรายวิชา (มคอ. ๓ และ มคอ. ๕)
วิชา กฎหมายกับสังคม (Law and Society) (SSP 2403) อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขา สังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 1-4.
“การใช้สิทธิของประชาชนและชุมชนในการคุ้มครองสุขภาพและสิ่งแวดล้อม”
การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ หลักสูตร นายทหารฝ่ายการส่งกำลังบำรุง (ฝอ.๔) ณ รร.กบ.ทบ. ๕ มิ.ย. ๖๐.
กฎหมายอาญา(Crime Law)
แนวบรรยาย เรื่อง หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง
โครงการแลกเปลี่ยนความรู้ การเสวนาแนวทางเพื่อสร้างมาตรฐานในการทำงานของเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ ; (การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน (Work Manual) วันที่ 22 มีนาคม.
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มหาวิทยาลัยนเรศวร
“สัมมนา 1 (Seminar I)” Part 1 การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทย Part 2 ความรับผิดชอบต่อสังคมกับธุรกิจท่องเที่ยว จัดโดย วิทยาลัยการจัดการ.
มนุษย์กับเศรษฐกิจ.
หลักการตลาด บทที่ 16 การประชาสัมพันธ์.
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่
การพัฒนาการจัดการ และมาตรฐานการบริการ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการเกษตรสมัยใหม่ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
รัฐธรรมนูญในฐานะกฎหมายสูงสุดแห่งรัฐ
สิงหาคม 2558.
รายวิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
บทที่4 การควบคุมการใช้อำนาจรัฐ
กฎหมายและ โลกสมัยใหม่
รายวิชา IFM4301 การจัดการเครือข่ายทางสังคม 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
ปัญหาเกี่ยวกับการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Dr.Pokkrong Manirojana
งานและพลังงาน.
ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
ผู้สอนวิชากฎหมายธุรกิจและภาษีอากร(bus226)
สัญญาซื้อขายเฉพาะอย่าง
เอกสารการสอนรายวิชา Introduction to Robotics Yr60T2 (ผศ. ดร
โรเบิร์ต บอยล์ Robert Boyle
การคัดกรองตาบอดสี กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการศึกษา
Introduction to Public Administration Research Method
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
วัน เวลา และห้องสอบ เวลาสอบวันอังคารที่ 30 เมษายน 2562 เวลา 8.00 – สอบที่อาคารคณะนิติศาสตร์ (ห้อง 1401 และ 1404) ที่ปกสมุดคำตอบทุกเล่ม ต้องเขียนsection.
Introduction to Public Administration Research Method
วิธีการศึกษากฎหมายกับสังคม
โดย อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
ลักษณะภูมิประเทศแอฟริกกา
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson
โดย สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดจันทบุรี
รพีพัฒน์ จันทนินทร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การปกครองท้องถิ่นไทย PPA 1103
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law รองศาสตราจารย์ดิเรก ควรสมาคม ครั้งที่ 4

บ่อเกิดที่มา : กฎหมายมหาชน คำถาม : เราจะค้นหาแหล่งที่มา/บ่อเกิดของ “กฎเกณฑ์แห่งกฎหมาย”กฎหมายมหาชน ได้ที่ไหน ??? ที่ห้องสมุด?? ที่สวนสัตว์ ?? ที่อินเตอร์เน็ต/เพสบุ๊ค?? ที่นี่

ที่มา / บ่อเกิด กม.มหาชน 1. มาจาก กฎหมายลายลักษณ์อักษร 2. มาจาก จารีตประเพณี 3. มาจาก ศาลหรือองค์กรอื่น 4. มาจาก หลักกฎหมายทั่วไป

ที่มาของกฎหมายมหาชน

กฎหมายลายลักษณ์อักษร บรรดากฎหมายที่เกิดจากการเขียนหรือการบัญญัติให้ปรากฏขึ้นเป็นตัวอักษร เป็นหนังสือ หรือเป็นตัวบทกฎหมายแต่ละฉบับ

กฎหมายลายลักษณ์อักษร -รัฐธรรมนูญ -พระราชบัญญัติ, พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ , ประมวลกฎหมาย -พระราชกำหนด -พระราชกฤษฎีกา -กฎกระทรวง กฎทบวง ประกาศกระทรวง ประกาศทบวง -ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกำหนด กฎ และประกาศ คำสั่ง -กฎหมายองค์กรปกครองท้องถิ่น -มติคณะรัฐมนตรี ,หนังสือเวียนภายในหน่วยงาน

รัฐธรรมนูญ บทกฎหมายสูงสุดที่จัดระเบียบการปกครองประเทศ -กำหนดรูปแบบของรัฐ -ระบอบการปกครองของรัฐ -สถาบันและองค์กรการใช้อำนาจอธิปไตย -หลักประกันเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพและหน้าที่ของประชาชน -การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน -องค์กรตามรัฐธรรมนูญ การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ

แนวความคิดเบื้องหลังรัฐธรรมนูญ อำนาจอธิปไตย (Soveriengty) สัญญาประชาคม (Social Contract) การแบ่งแยกอำนาจ (Seperation of Power)

พระราชบัญญัติ บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดย คําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติตามระบบรัฐสภา) กำหนดเกี่ยวกับสิทธิอำนาจและหน้าที่ ตลอดจนความรับผิดชอบแก่บุคคลและหน่วยงานของรัฐ ใช้ในการบริหารงานราชการตลอดจนเพื่อการบริการประชาชน อาจมีสภาพบังคับ

พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติ --- กฎหมายตามเนื้อความ พระราชบัญญัติ --- กฎหมายตามเนื้อความ พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 พ.ร.บ.โรงแรม พ.ศ.2547 เป็นต้น

พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติ --- กฎหมายตามแบบพิธี พระราชบัญญัติ --- กฎหมายตามแบบพิธี -พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2535 -พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2549 -พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 -พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2551

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ -พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฯ - พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการ เลือกตั้ง - พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง - พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ - พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีของศาลรัฐธรรมนูญ - พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง - พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน (ดู มาตรา138 -141 รัฐธรรมนูญ 2550)

ประมวลกฎหมาย ประมวลกฎหมายเป็นกฎหมายที่รวบรวมบรรดาเรื่องต่างๆไว้เป็นอย่างเป็นหมวดหมู่สามารถอ้างอิงถึงกันและกันได้ -ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา -ประมวลกฎหมายอาญาทหาร -ประมวลกฎหมายที่ดิน ประมวลรัษฎากร

คำถาม ประมวลกฎหมายอาญา เป็นกฎหมายตามแบบพิธีหรือกฎหมายตามเนื้อความ ?? เพราะเหตุใด ??

พระราชกำหนด ใครออก = ฝ่ายบริหาร ใครออก = ฝ่ายบริหาร เหตุในการออก = ฉุกเฉิน จําเป็น รีบด่วน ความปลอดภัยของประเทศ สาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ ป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ การภาษีอากรหรือเงินตรา ประเภท = 1.พระราชกำหนดทั่วไป 2.พระราชกำหนดเฉพาะ

ตัวอย่าง พ.ร.ก. พ.ร.ก. การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 พ.ร.ก. การปฎิรูประบบสถาบันการเงิน พ.ศ.2540 พ.ร.ก. การกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ.2527 พ.ร.ก.บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย พ.ศ.2544

พระราชกฤษฎีกา บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจตาม -รัฐธรรมนูญ -พระราชบัญญัติ หรือ -พระราชกําหนด

พ.ร.ฎ.ออกตาม รัฐธรรมนูญ พ.ร.ฎ.ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ร.ฎ.ยุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ร.ฎ.เปิด-ปิดสมัยประชุมรัฐสภา พ.ร.ฎ.ขยายเวลาประชุม

พ.ร.ฎ.ออกตามพ.ร.บ. วางหลักเกณฑ์ วิธีการ ตลอดจนเงื่อนไขต่างๆ ตามที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 .. จำเป็นที่จะต้องได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ .. จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดิน ...... รัฐบาลจะต้องออกเป็น พระราชกฤษฎีกา กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ ......... พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ.2509 มาตรา 5 ... ในท้องที่ใดเพื่อการอนุญาตหรืองดอนุญาตให้ตั้งสถานบริการ ก็ให้กระทำได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา.... พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตพื้นที่เพื่อการอนุญาตให้ตั้งสถานบริการในท้องที่จังหวัดลำพูน พ.ศ. 2547

กฎกระทรวง / ประกาศกระทรวง หมายถึง บทบัญญัติที่รัฐมนตรีฯออกโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติ เพื่อกำหนดรายละเอียดปลีกย่อยต่างๆ เช่น การขออนุญาต การกำหนดค่าธรรมเนียม หรือการกำหนดแบบบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ พระราชบัญญัติการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 มาตรา 11 ผู้ใดเป็นผู้ค้าน้ำมันซึ่งดำเนินกิจการค้าน้ำมันโดยจัดตั้งเป็นสถานีบริการ ต้องยื่นขอจดทะเบียนต่ออธิบดี …. กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบัติของผู้รับใบอนุญาต และหลักเกณฑ์และวิธีการขอ และออกใบอนุญาตหรือใบทะเบียนเป็นผู้ค้าน้ำมันพ.ศ. 2545

ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกำหนด กฎ ประกาศ คำสั่ง พระราชบัญญัติต่างๆ ได้จัดตั้งคณะกรรมการและให้อำนาจไว้เพื่อให้คณะกรรมการหรือหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติออกกฎเกณฑ์เหล่านี้ เพื่อใช้ในทางปฏิบัติ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 ให้มีคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค เช่น คณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณา คณะกรรมการว่าด้วยฉลาก คณะกรรมการว่าด้วยสัญญา ประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญา เรื่อง ให้ธุรกิจการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นธุรกิจที่ควบคุมสัญญา (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 ประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญา เรื่อง ให้ธุรกิจการให้บริการซ่อมรถยนต์เป็นธุรกิจที่ควบคุมรายการในหลักฐานการรับเงิน พ.ศ. 2546

ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกำหนด กฎ ประกาศ คำสั่ง พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 .....ให้เจ้าพนักงานจราจรมีอำนาจออกประกาศข้อบังคับ หรือระเบียบดังต่อไปนี้…(1) ห้ามจอดรถทุกชนิด...........ต่อมา เจ้าพนักงานจราจรจังหวัดสมุทรปราการ จึงออกข้อบังคับเจ้าพนักงานจราจรจังหวัดสมุทรปราการที่ 10/2550 เรื่อง การห้ามจอดรถในถนนสุขุมวิท ตั้งแต่กิโลเมตรที่ 38+800 ถึงกิโลเมตรที่ 39+100 เป็นต้น ถามว่าถ้านาย ก.จอดรถฝ่าฝืน.....???

ลำดับของกฎหมายลายลักษณ์อักษร กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติ พ.ร.บ, พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ,ประมวลกฎหมาย สนธิสัญญาและข้อตกลงระหว่างประเทศ กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหาร -พระราชกำหนด -พระราชกฤษฏีกา - กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง -กฎเกณฑ์ของหน่วยงาน/เจ้าหน้าที่ -มติคณะรัฐมนตรี -หนังสือเวียน แนวปฏิบัติภายในฝ่ายปกครอง

ลำดับของกฎหมายลายลักษณ์อักษร 1. กฎหมายสูงสุด = รัฐธรรมนูญ 2. กฎหมายตามเนื้อความ/เนื้อหา = พ.ร.บ. ,ประมวล 3. กฎหมายลำดับรอง = พ.ร.ฎ. ,กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ,ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ กฎ ประกาศ คำสั่ง 4. กฎหมายองค์กรปกครองท้องถิ่น = - ข้อบัญญัติจังหวัด/กรุงเทพฯ - เทศบัญญัติ - ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล

ศักดิ์หรือลำดับชั้นของกฎหมาย ได้แก่ ศักดิ์ของกฎหมาย ศักดิ์หรือลำดับชั้นของกฎหมาย ได้แก่ 1. รัฐธรรมนูญ 2. พระราชบัญญัติ / พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ / พระราชกำหนดที่ได้รับอนุมัติจากรัฐสภา /ประมวลกฎหมาย 3. พระราชกฤษฎีกา 4. กฎกระทรวง / ประกาศกระทรวง 5. กฎหมายองค์กรปกครองท้องถิ่น เช่น เทศบัญญัติ ข้อบังคับ อบต. เป็นต้น 6. ประกาศ ข้อบังคับ ข้อกำหนด ระเบียบ กฎของหน่วยงาน เจ้าหน้าที่ คณะกรรมการต่างๆ

ศาลรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ/พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ /พระราชกำหนดที่ได้รับอนุมัติจากรัฐสภา/ประมวลกฎหมาย ขัดหรือแย้งกับ รัฐธรรมนูญ

ศาลปกครอง 1.พ.ร.ฎ VS ขัดหรือแย้ง กับรัฐธรรมนูญ 2. หนังสือเวียนของกระทรวงมหาดไทย ขัดหรือแย้งกับขัดหรือแย้ง กับรัฐธรรมนูญ ประกาศคณะกรรมการสรรหากรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ VS ขัดหรือแย้ง พระราชบัญญัติ ข้อบังคับมหาวิทยาลัย VS ขัดหรือแย้ง กับรัฐธรรมนูญ

สรุปที่มาของกม.มหาชน : จากกม.ลายลักษณ์อักษร รัฐธรรมนูญ พ.ร.บ, พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ,ประมวลกฎหมาย สนธิสัญญาและข้อตกลงระหว่างประเทศ พระราชกำหนด พระราชกฤษฏีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง -คำสั่ง ประกาศ กฎ ของหน่วยงาน/เจ้าหน้าที่ -มติคณะรัฐมนตรี -หนังสือเวียน แนวปฏิบัติภายในฝ่ายปกครอง -กฎหมายองค์กรปกครองท้องถิ่น

จารีตประเพณี 1.เป็นเรื่องที่ประชาชนประพฤติปฏิบัติต่อกันเป็นประจำติดต่อกันมาสม่ำเสมอเป็นระยะเวลานาน (องค์ประกอบภายนอก) 2.คนทั่วไปต่างเห็นพ้องกันหรือรู้สึกร่วมกันว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องจนต้องปฏิบัติตาม (องค์ประกอบภายในจิตใจ)

จารีตประเพณี (1) จารีตประเพณีในทางรัฐธรรมนูญ หรือธรรมเนียมปฏิบัติในรัฐธรรมนูญ (2) จารีตประเพณีในทางกฎหมายปกครอง คือ ระเบียบแบบแผนทางการบริหารราชการ

จารีตประเพณี รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 7 “ในเมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้วินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข” มาตรา 22 (กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์) ภายใต้บังคับมาตรา 23 การสืบราชสมบัติให้เป็นไปโดยนัยแห่งกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ในระหว่างที่สภาผู้แทนราษฎรสิ้นอายุหรือสภาผู้แทนราษฎรถูกยุบ ให้วุฒิสภาทำหน้าที่รัฐสภาในการรับทราบตามวรรคสอง

จารีตประเพณีในทางกฎหมายมหาชน - แพทย์รับราชการสามารถเปิดคลินิกส่วนตัว (นอกเวลาราชการได้) - การที่อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐสามารถใช้เวลาราชการไปสอนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนได้ไม่เกินสัปดาห์ละ 4 ชั่วโมง - มติ ครม.ที่ห้ามข้าราชการเล่นแชร์เปียหวย กรณีไม่มีสภาผู้แทน ฯ ใช้วุฒิสภาทำหน้าที่แทน…

ศาล หรือ องค์กรอื่น ศาล ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง / ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง / ศาลยุติธรรม องค์กรอื่น องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ = กกต. ปปช. สตง. องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ = อัยการ ,คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ,สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คณะกรรมการกฤษฎีกา

หลักกฎหมายทั่วไป (มหาชน) ในกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (กม.เอกชน) -หลัก “สัญญาต้องเป็นสัญญาหรือบุคคลต้องปฏิบัติตามสัญญา” (Pacta Sunt Servanda) -หลักผู้รับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผู้โอน -หลักผู้ซื้อต้องระวัง ในกฎหมายมหาชน ??? ฎีกาที่ 912/2536 หากไม่มีการกำหนดให้องค์กรใดตัดสิน …….ก็เป็นหน้าที่ของศาล

คำพิพากษาฎีกาที่ 912/2536 ตามหลักกฎหมายทั่วไป ศาลมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดี จึงมีอำนาจหน้าที่พิจารณาว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดจะใช้บังคับแก่คดีได้หรือไม่เพียงใดและย่อมมีอำนาจวินิจฉัยว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายนั้น ๆ ขัดหรือแย้งต่อกฎหมายรัฐธรรมนูญหรือไม่ด้วย เว้นแต่จะมีบทกฎหมายใดโดยเฉพาะบัญญัติให้อำนาจนี้ไปตกอยู่แก่องค์กรอื่น อำนาจในการพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดว่า บทบัญญัติแห่งกฎหมายใดขัดหรือแย้งต่อธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2534 หรือไม่ จึงตกอยู่แก่ศาลตามหลัก กฎหมายทั่วไป

คำพิพากษาฎีกาที่ 225/2506 เมื่อยังไม่มีรัฐธรรมนูญการปกครองประเทศเป็นการแน่นอนและไม่มีคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ การวินิจฉัยบทกฎหมายใด ตลอดทั้งการตีความตามรัฐธรรมนูญ อันมิใช่เป็นเรื่องในวงงานของสภา ศาลย่อมมีอำนาจกระทำได้

ตัวอย่างคำสั่ง/ระเบียบ ขัดกับกฎหมาย คำสั่งขัดต่อกฎหมาย กฎหมาย พระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัวพุทธศักราช 2478 มาตรา 10 วรรคแรกบัญญัติว่า "เมื่อมีการร้องขอ ให้จดทะเบียนสมรสแล้ว ให้นายทะเบียนรับจดทะเบียนสมรสให้" คำสั่งตามหนังสือกระทรวงมหาดไทยที่ 649/2496 “หญิงต่างด้าวมาร้องขอจดทะเบียนสมรสกับคนไทย” -ใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวและสำมะโนครัวของหญิงต่างด้าว -ยังไม่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว ให้นายทะเบียนบอกปัดไม่ยอมรับจดทะเบียนให้