การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่ น.อ.ศิรัส ลิ้มเจริญ
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ New Public Management
มุมมองทางการบริหารที่เปลี่ยนแปลงไป ทรัพยากร มีอะไรบ้าง สภาวะแวดล้อมภายใน/ภายนอก อดีต คือใคร ต้องการอะไร ปัจจุบัน ตรงตามที่คาดหวัง อย่างสม่ำเสมอ ประสิทธิภาพ การใช้ทรัพยากร แผนปฏิบัติงาน ที่ชัดเจน Stakeholder Input Process Output Customer ผู้ส่งมอบ ทรัพยากร ทรัพยากรที่ใช้ การปฏิบัติงาน ผลผลิต ผลลัพธ์ มุ่งผลสัมฤทธิ์ ประหยัด คุ้มค่า เกิดประโยชน์ สินค้า/บริการ คืออะไร กระบวนการที่เหมาะสม เป็นอย่างไร - ผู้รับบริการคือใคร - มีความต้องการอะไร
แนวทางไปสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูง 1 ผู้นำต้องเป็นผู้ทำการขับเคลื่อนและเปลี่ยนแปลงองค์กร 2 แปลงยุทธศาสตร์สู่สิ่งที่สามารถจับต้องได้ 3 ทำให้ทั้งองค์การสอดคล้องและเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ 4 จูงใจให้ทุกคนให้ความสำคัญและปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ 5 ดูแลให้การบริหารยุทธศาสตร์เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่อง Robert Kaplan and David Norton
เกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ บันไดสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง
ซักซ้อมความเข้าใจ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ไม่ใช่มาตรฐานการบริหารงาน เป็นเพียงเครื่องสะท้อนภาพ การบริหารขององค์กรเราเท่านั้น ไม่ได้บอกเราว่าต้องทำอะไร แต่ให้เราค้นหาตัวเราเองว่าควรบริหารหน่วยงานของเราอย่างไร เพราะการบริหารงานเป็นหน้าที่ของผู้บริหารแต่ละท่าน
องค์กรของเรา บริหารอะไร? บริหารความสัมพันธ์ (ผู้เกี่ยวข้อง/เครือข่าย) บริหารความสัมพันธ์ ลูกค้า Supplier ปัจจัยนำเข้า (ทรัพยากร) กระบวนการทำงาน ผลผลิต/ บริการ ผลลัพธ์ บริหารผลงาน HRM บริหารงาน (การผลิต) คน KM บริหารกระบวนงาน(ออกแบบ/ปรับปรุง) บริหารงาน(แผน) เงิน บริหารต้นทุน บริหารข้อมูล สิ่งของ บริหารพัสดุ Logistic Management สถานที่ บริหารทรัพยากร บริหารโครงการ เวลา
องค์กร และ การจัดการ องค์กร ประกอบด้วย ระบบคน Work Force ระบบงาน Work System เรามีโครงสร้างการจัดหน่วยงานอย่างไร ? เรามีระบบและวิธีการทำงานอย่างไร ?
วัตถุประสงค์ของ แต่ละหน่วย องค์กร และ การจัดการ หน่วยงาน ที่ 1 หน่วยงาน ที่ 2 หน่วยงาน ที่ 3 หน่วยงาน ที่ 4 กระบวนการ ที่ 1 เป้าหมายที่ 1 กระบวนการ ที่ 2 เป้าหมายที่ 2 ผู้รับบริการ กระบวนการ ที่ 3 เป้าหมายที่ 3 วิสัยทัศน์ กระบวนการ ที่ 4 เป้าหมายที่ 4 ผู้รับบริการ วัตถุประสงค์ของ แต่ละหน่วย ผู้บังคับบัญชา
กระบวนการรอง (Sub-Process) ระบบงาน (Work System) วิสัยทัศน์ (Vision) ระบบงาน (Work System) กระบวนการ (Process) กระบวนการรอง (Sub-Process) กิจกรรม (Activities)
กระบวนการ Work Process & Work Flow Inbound Logistics Operations Outbound Logistics Marketing & Sales Service กระบวนการสร้างคุณค่า ผลผลิต ทร. กระบวนการรอง ผลผลิตย่อย กระบวนการรองที่ 1 + ตัวชี้วัด กระบวนการรองที่ 2 + ตัวชี้วัด กระบวนการรองที่ 3 + ตัวชี้วัด กระบวนการรองที่ 4 + ตัวชี้วัด กระบวนการรองที่ 5 + ตัวชี้วัด กิจกรรม และ Work Flow Start Stop
คุณภาพ คือ มาตรฐาน
Shape & Color Standard
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA Public Sector Management Quality Award “เพื่อให้ส่วนราชการปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง”
ระดับของรางวัล PMQA ระดับยอดเยี่ยม Excellence Level Quality Award 1000 ระดับยอดเยี่ยม Excellence Level Quality Award 650 Quality Class 350 ระดับก้าวหน้า Progressive Level โดดเด่นรายหมวด 300 ระดับพื้นฐาน Fundamental Level ควรมีเป็นอย่างน้อย 1 2 3 4 5 6 7
PMQA Framework ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2
ลักษณะสำคัญของเกณฑ์ เกณฑ์ PMQA ประกอบด้วยคำถามต่างๆ ที่มีลักษณะสำคัญดังนี้ เกณฑ์มุ่งเน้นให้การปฏิบัติงานเกิดผลสัมฤทธิ์ และมีการปรับปรุง การทำงานอย่างต่อเนื่อง โดยในส่วนที่เป็นกระบวนการจะพิจารณาถึง 4 ปัจจัย ได้แก่ แนวทางการปฏิบัติงาน (Approach) การถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ (Deploy) การประเมินเพื่อปรับปรุง (Learning) และการบูรณาการ (Integration) เกณฑ์ไม่ได้กำหนดวิธีการทำงานไว้ จึงสามารถนำเกณฑ์ไปปรับให้เหมาะกับองค์กรได้ เกณฑ์เน้นการเชื่อมโยงและสอดคล้องบูรณาการกัน ระหว่างข้อกำหนดต่างๆของเกณฑ์
Management Quality Cycle มีแผนปฏิบัติงาน มีเป้าหมายชัดเจน เป้าหมายสอดคล้องกับ ความท้าทาย ปฏิบัติงานตามแผน เก็บข้อมูลระหว่างปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานตามมาตรฐาน มาตรฐานกำหนดจากความต้องการผู้รับบริการ หมั่นติดตามตรวจสอบการทำงานว่าเป็นไปตามเป้าหมาย/มาตรฐาน หรือไม่ ทบทวนมาตรฐานการปฏิบัติงาน ปรับแผนให้เป็นไปตามเป้าหมาย
PDCA Cycle
PDCA & ADLI หน่วยงาน งานที่ 1 งานที่ 2 งานที่ 3 Approach Deploy Integration Learning
PMQA Framework 1. การนำองค์กร 2. การวางแผน ยุทธศาสตร์ 4. การวัด 3. การให้ความ สำคัญกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย 4. การวัด วิเคราะห์ และ การจัดการ ความรู้ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล 6. การจัดการ กระบวนการ 7. ผลลัพธ์ การนำองค์กร การจัดทำ ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย การวัด และ วิเคราะห์ ผลการ ดำเนินงาน ระบบ บริหารงาน บุคคล กระบวนการ สร้างคุณค่า ประสิทธิผล คุณภาพ การเรียนรู้ ของบุคลากร และการสร้าง แรงจูงใจ ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม การนำ กลยุทธ์ ไปสู่การปฏิบัติ ความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย การจัดการ สารสนเทศและ ความรู้ กระบวนการ สนับสนุน ประสิทธิภาพ ความผาสุก และความ พึงพอใจ ของบุคลากร การพัฒนา องค์กร
ประเด็นการบริหารที่สำคัญ บริหารองค์กรให้เกิดผลงานที่ดีตามเป้าหมาย บริหารองค์กร ผู้นำกำหนดทิศทางและเป้าหมายที่สำคัญขององค์กร รวมทั้งสื่อสารให้บุคลากรเข้าใจ กำกับการทำงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย (การกำกับดูแลตนเองที่ดี การควบคุมภายใน และการจัดการกับผลกระทบทางลบ) บริหารผลงาน บริหารกระบวนงาน บริหารความเสี่ยง บริหารข้อมูล บริหารความสัมพันธ์ (ผู้รับบริการ, เครือข่าย) บริหารบุคลากร บริหารความรู้
เส้นทางสู่ความเป็นเลิศ Strategic Leadership Excellence Execution Organization Learning การนำองค์การเชิงกลยุทธ์ การปฏิบัติที่เป็นเลิศ การเรียนรู้ขององค์กร 7.1 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผล 1.1การนำองค์การ 1.2 ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม 7.3 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 7.2 ผลลัพธ์ด้านคุณภาพการให้บริการ 3.2 การสร้างความสัมพันธ์และ ความพึงพอใจของผู้รับบริการฯ 2.1 การวางยุทธศาสตร์ 2.2 การถายทอดยุทธศาสตร์เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ 6.2 กระบวนการสนับสนุน 7.4 ผลลัพธ์ด้านการพัฒนาองค์การ 5.1 ระบบงาน 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการฯ 5.3 ความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากรและการสร้างแรงจูงใจ 4.1 การวัด การวิเคราะห์ 2 การจัดการสารสนเทศและความรู้
หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ตรวจประเมินว่า ส่วนราชการเลือก รวบรวม วิเคราะห์ จัดการ และปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศ และจัดการความรู้อย่างไร 1. ต้องมีการรวบรวมข้อมูล ข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผน... ทั้งระยะสั้น-ยาว ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบกับคู่เทียบ เพื่อพัฒนาตนเอง ข้อมูลความต้องการ ความพึงพอใจ และไม่พึงพอใจ การรวบรวมข้อมูลต้องคล่องตัว ทันต่อการเปลี่ยนแปลง 2. นำข้อมูลมาวิเคราะห์ วิเคราะห์ข้อมูล และรายงานให้ผู้บริหารทราบเป็นประจำ 3. นำผลการวิเคราะห์มาปรับปรุงการให้บริการ ทบทวนการวางแผน ทบทวนเป้าหมาย ปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงาน 4. มีการจัดการความรู้ รวมรวม & ถ่ายทอดความรู้ แบ่งปัน Best Practice สร้างนวัตกรรม 5. จัดระบบสารสนเทศเพื่อให้ข้อมูล มีความถูกต้อง แม่นยำ เชื่อถือได้ ทันเวลา ปลอดภัย เป็นความลับ พร้อมใช้งาน และใช้งานง่าย Hardware ต้อง ปลอดภัย เชื่อถือได้ ใช้งานง่าย พร้อมใช้งานในภาวะฉุกเฉิน
หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ก. ความรู้ของส่วนราชการ ข. ข้อมูล สารสนเทศ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1 ตัววัดผลการดำเนินการ 1.1การเลือกรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ที่สอดคล้องเชื่อมโยง เพื่อติดตามผลดำเนินงานองค์กร 1.2KPIระยะสั้น-ระยะยาว 1.3การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อ สนับสนุนการตัดสินใจ สนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม 2 การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบเพื่อ 3 ข้อมูลผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 การเลือกรวบรวมข้อมูล ประสิทธิภาพ สามารถนำไปสร้างนวัตกรรม 3.2 เก็บข้อมูลผ่านสื่อ IT 4 การวัดผลมีความคล่องตัว ทันต่อการเปลี่ยนแปลง 5 ประเด็นที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ผู้บริหาร ทบทวนผลดำเนินงาน วางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ประเมินผลสำเร็จของการเปรียบเทียบ ประเมินความสามารถของการปฏิบัติงาน 9 การจัดการความรู้ (KM) รวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรในองค์กร รวบรวมถ่ายทอดจากคนอื่น แลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ 10 การเรียนรู้ระดับองค์กร สร้างการเรียนรู้ให้ฝังลึกในองค์กร 11 คุณลักษณะข้อมูลและสารสนเทศ แม่นยำ ถูกต้อง เลื่อถือได้ ทันกาล ปลอดภัย เป็นความลับ 12 ความพร้อมใช้งานข้อมูลและสารสนเทศ ให้พร้อมใช้งาน ผู้เกี่ยวข้องเข้าถึงได้ 13 คุณลักษณืของ HW & SW ให้เชื่อถือได้ ปลอดภัย ใช้งานง่าย 14 พร้อมใช้ในภาวะฉุกเฉิน พร้อมใช้งานอย่างต่อเนื่อง ค.การปรับปรุงผลการดำเนินการ 6 แลกเปลี่ยน BP 7 ผลการดำเนินงานในอนาคต ทบทวนผล คาดการณ์ผลในอนาคต วิธีการลดผลกระทบที่จะเกิดในอนาคต 8 ปรับปรุงต่อเนื่องเพื่อสร้างนวัตกรรม นำผลการทบทวนไปจัดลำดับและปรุบปรุง เพื่อสร้างนวัตกรรม ถ่ายทอดลำดับความสำคัญไปยังผู้ปฏิบัติงานภายใน และหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง
เกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน
ลักษณะสำคัญขององค์กร อธิบายภาพรวมในปัจจุบันขององค์กร สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน กับผู้รับบริการ ส่วนราชการอื่น และ ประชาชน ความท้าทายที่สำคัญ ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ
ลักษณะสำคัญขององค์กร P1. ลักษณะ องค์กร P2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ 1 พันธกิจและการให้บริการ 1.1 พันธกิจ หน้าที่ 1.2 แนวทางวิธีการให้บริการ 2 ทิศทาง 2.1 วิสัยทัศน์ 2.2 เป้าประสงค์หลัก 2.3 วัฒนธรรม 2.4 ค่านิยม 3 ลักษณะโดยรวมของบุคลากร 4 เทคโนโลยี อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก 5 การดำเนินการภายใต้กฏหมาย 6 โครงสร้างองค์กร 7 องค์กรที่เกี่ยวข้อง 8 กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 9 สภาพการแข่งขัน 10 ปัจจัยความสำเร็จในการแข่งขัน 11 ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ 12 ข้อจำกัดด้านข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ 13 ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ด้านพันธกิจ ด้านปฏิบัติการ ด้านบุคลากร 14 การปรับปรุงประสิทธิภาพ 15 แนวทางการเรียนรู้ขององค์กร
หมวดที่ 1 การนำองค์กร LD 1 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดทิศทางการทำงานที่ชัดเจน LD 2 ผู้บริหารส่วนราชการมีการเพิ่มอำนาจในการตัดสินใจ (Empowerment) LD 3 ผู้บริหารของส่วนราชการส่งเสริมให้มีกระบวนการและกิจกรรมการเรียนรู้ LD 4 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ และกำหนดให้มีระบบการติดตามและประเมินผล การปฏิบัติราชการ LD 5 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี LD 6 ส่วนราชการต้องจัดให้มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่ดี LD 7 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดให้มีวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคม
หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ SP1 ส่วนราชการต้องมีการกำหนดขั้นตอน/กิจกรรม และกรอบเวลาที่เหมาะสม ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี SP2 ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ (4 ปี และ 1 ปี) ต้องมีการนำปัจจัยทั้งภายในและภายนอกที่สำคัญและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป มาใช้ประกอบการวิเคราะห์ SP3 ส่วนราชการต้องมีการวางแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี SP4 ผู้บริหารต้องมีการสื่อสารและทำความเข้าใจในเรื่องยุทธศาสตร์และการนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ ไปยังบุคลากรที่เกี่ยวข้อง SP5 ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน อย่างเป็นระบบ SP6 ส่วนราชการต้องจัดทำรายละเอียดโครงการเพื่อใช้ในการติดตามผลการดำเนินงาน SP7 ส่วนราชการต้องมีการวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐาน COSO
หมวดที่ 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวดที่ 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS1 ส่วนราชการมีการกำหนดกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS2 ส่วนราชการมีช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS3 ส่วนราชการมีระบบที่ชัดเจนในการรวบรวมและจัดการข้อร้องเรียน /ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น/ คำชมเชย CS4 ส่วนราชการมีการสร้างเครือข่าย และจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS5 ส่วนราชการมีการดำเนินการในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ CS6 ส่วนราชการมีการวัดทั้งความพึงพอใจและความไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละกลุ่ม CS7 ส่วนราชการต้องกำหนดมาตรฐาน คู่มือ แนวทาง การปฏิบัติของบุคลากรในการให้บริการ ระยะเวลาแล้วเสร็จของงานบริการในแต่ละงาน
หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ IT1 ส่วนราชการต้องมีระบบฐานข้อมูลที่ช่วยสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ IT2 ส่วนราชการทบทวนฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า IT3 ส่วนราชการต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน IT4 ส่วนราชการต้องมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร IT5 ส่วนราชการต้องมีระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย (Warning System) IT6 ส่วนราชการต้องมีระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ IT7 ส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ
หมวดที่ 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล HR1 ส่วนราชการต้องกำหนดปัจจัยทีมีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจ ของบุคลากร HR2 ส่วนราชการมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิผล และเป็นธรรม HR3 ส่วนราชการต้องดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 ไปปฏิบัติ HR4 ส่วนราชการต้องมีระบบการประกันคุณภาพของการฝึกอบรม HR5 ส่วนราชการมีแผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงานให้แก่บุคลากร
หมวดที่ 6 การจัดการกระบวนการ PM1 ส่วนราชการต้องกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า จากยุทธศาสตร์พันธกิจ และความต้องการของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของส่วนราชการ PM2 ส่วนราชการต้องจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่า PM3 ส่วนราชการต้องออกแบบกระบวนการจากข้อกำหนดที่สำคัญใน PM 2 PM4 ส่วนราชการต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อการจัดการกระบวนการ เพื่อให้ส่วนราชการจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง PM5 ส่วนราชการต้องกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน ของกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุน PM6 ส่วนราชการต้องมีการปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน
แนวทางดำเนินการ PM 1-3, 5-6 วิเคราะห์ว่ากระบวนการทำงานของเรามีอะไรบ้าง อะไรเป็นกระบวนการสร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุน ระบุความต้องการของผู้รับบริการ และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละกระบวนการ แปลงความต้องการเหล่านั้นเป็นข้อกำหนดที่สำคัญ ออกแบบกระบวนการ ให้ตอบสนองต่อข้อกำหนดที่สำคัญเหล่านั้น และครอบคลุม Plan Do Check (Share) Act กำหนดเป็นมาตรฐานการปฏิบัติงาน หรือ คู่มือปฏิบัติงาน วางแผนเก็บข้อมูลเพื่อปรับปรุงกระบวนการ และปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ PM 4 วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่จะทำให้กระบวนการล้มเหลว ไม่สามารถส่งมอบผลผลิตได้ ทำการบริหารความเสี่ยงเพื่อควบคุม ลดผลกระทบจากปัจจัยเหล่านั้น
PDCSA Share
แนวทางการนำ ไปสู่การปฏิบัติของ ทร. แนวทางการนำ ไปสู่การปฏิบัติของ ทร.
ภารกิจ “กองทัพเรือมีหน้าที่เตรียมกำลังกองทัพเรือ การป้องกันราชอาณาจักร และดำเนินการเกี่ยวกับการใช้กำลังกองทัพเรือตามอำนาจหน้าที่ของกระทรวงกลาโหม มีผู้บัญชาการทหารเรือเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ” การเตรียม กำลังทางเรือ ให้มีความพร้อม ในการปฏิบัติการ การใช้กำลัง ตามอำนาจ หน้าที่ของ กห. การใช้กำลัง ป้องกันประเทศ ภารกิจยามปกติ ภารกิจยามสงคราม
การรักษา กฎหมายและ ช่วยเหลือ ประชาชน บทบาทของกองทัพเรือ PEACE การลาดตระเวนตรวจการณ์ทางทะเล การค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัย การบรรเทาสาธารณภัย การช่วยเหลือรัฐบาลในการแก้ไข ปัญหาของชาติ การสนับสนุนหน่วยงานภาครัฐ การบริหารจัดการทะเล การรักษากฎหมาย การใช้เป็นสัญลักษณ์ การปรากฏตัว วางกำลังเพื่อป้องกัน การบีบบังคับ การปฏิบัติการเพื่อสนับสนุนสันติภาพ การอพยพประชาชน การช่วยเหลือเพื่อมนุษยธรรม การสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ การรักษา กฎหมายและ ช่วยเหลือ ประชาชน Operation Other Than War กองทัพเรือ กิจการ ระหว่างประเทศ การป้องกันประเทศ การควบคุมทะเล การปฏิเสธการใช้ทะเล กองเรือคงชีพ การขยายพลังอำนาจ ทางทะเลขึ้นสู่ฝั่ง 1,500 ไมล์ทะเล 316,000 ตร.กม. Operation at War WAR
วิสัยทัศน์ “เป็นหน่วยงานความมั่นคงทางทะเลที่มีบทบาทนำในภูมิภาค และเป็นเลิศในการบริหารจัดการ” ยกระดับการบริหาร มุ่งสู่การบริหารงาน อย่างมืออาชีพ ทำงานอย่างมีขั้นตอน สุจริต โปร่งใส ตรวจสอบได้ สร้างหลักประกัน ในการเตรียมกำลังกองทัพเรือ ให้มีความพร้อม ในการปฏิบัติการเพื่อป้องกันประเทศ
ความเชื่อมโยงของแผน ยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติ National Security Strategy แผนบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์กระทรวงกลาโหม Defense / Military Strategy แผนยุทธศาสตร์กระทรวงกลาโหม แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี กห. ยุทธศาสตร์ กองทัพเรือ (10 ปี) RTN Strategy แผนยุทธศาสตร์กองทัพเรือ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ทร. คำรับรองการปฏิบัติราชการ ทร. (L0) แผนปฏิบัติราชการประจำปี ทร. โครงสร้างกำลังรบ Force Structure แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี นขต.ทร. แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี นขต.ทร. แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี นขต.ทร. คำรับรองการปฏิบัติราชการ นขต.ทร. (L1) แผนปฏิบัติราชการประจำปี นขต.ทร. แผนปฏิบัติราชการประจำปี นขต.ทร. แผนปฏิบัติราชการประจำปี นขต.ทร.
ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์กับงบประมาณ Threat/ Scenario Strategy Capa-bilities/ Forces Budget Funds Organi- zation Inputs Activities Outputs Outcomes
การถ่ายทอดยุทธศาสตร์ สู่งบประมาณ และประเมินผล Mission Statement Strategic Plan (Level 0) Performance Budget (Level 0) Level 0 Measure Strategic Plan (Level 1) Performance Budget (Level 1) Level 1 Measure Strategic Plan (Level 2) Performance Budget (Level 2) Level 2 Measure Strategic Plan (Level 3) Performance Budget (Level 3) Level 3 Measure Manager’s Performance Budget Level 4 Measure Day to Day Activities $$$$
วงรอบการบริหารจัดการ กองทัพเรือ การประเมินผลการปฏิบัติงาน การกำหนดยุทธศาสตร์ และโครงสร้างกำลังรบ ๑๐ ปี ข้างหน้า นโยบาย ทร./ นโยบาย ผบ.ทร. คำรับรองฯ L0 การวางแผน ระดับยุทธศาสตร์ Strategic Planning แผนยุทธศาสตร์กองทัพเรือ ทิศทางการบริหารจัดการด้านต่างๆ กำกับดูแล รวบรวม ผลการปฏิบัติงานของ นขต.ทร. และหน่วยเฉพาะกิจ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย Level 0 กลยุทธ์ 10 ด้าน คณะกรรมการกลั่นกรองการวางแผนงบประมาณและ การจัดสรรงบประมาณ ทร. แผนที่ยุทธศาสตร์ Level 0 + การควบคุมภายใน + วิเคราะห์ความเสี่ยง คำรับรองฯ L1 รายงานประเมินผล การปฏิบัติงานตนเอง Level 1 แผนที่ยุทธศาสตร์ นขต.ทร. และหน่วยเฉพาะกิจ Level 1 ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย Level 1 แผนปฏิบัติงาน Action Plan การปฏิบัติงานของ นขต.ทร.และหน่วยเฉพาะกิจ Level 1 กระบวนการพิจารณา แบ่งสรร/จัดสรร งบประมาณประจำปี แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี นขต.ทร. และหน่วยเฉพาะกิจ Level 1 + แผนบริหารความเสี่ยง แผนปฏิบัติราชการประจำปี นขต.ทร.และหน่วยเฉพาะกิจ Level 1 ร่างแผนปฏิบัติราชการ ประจำปี นขต.ทร.และหน่วยเฉพาะกิจ Level 1 รักษางานเดิม (As Is) งานริเริ่มใหม่ (To Be) + การควบคุมภายใน
Performance Management Framework (ที่มา : EPM Review, A Performance Management Framework) Strategy Management Planning Objectives Projects Reports Reviews Check Scorecards Act Governance Do Portfolio Plan Maps Daily Operations Operations Management Annually with more frequent refreshes Quarterly to semi-annually with more frequent refreshes
มิติของ BSC vs มิติแผนยุทธศาสตร์ ทร. Balance Score Card การพัฒนาระบบราชการ Financial ประสิทธิผล นำส่งผลผลิต Customer คุณภาพ ได้คุณภาพมาตรฐาน ตรงความต้องการของผู้รับบริการ Internal Process ประสิทธิภาพ ปรับปรุงกระบวนการทำงาน เพิ่มประสิทธิภาพ ลดต้นทุน Learning & Growth การพัฒนาองค์กร พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ
Strategy Map Level 0 vs Level 1 Level 0 - Strategy Map Level 1 - Strategy Map ประสิทธิผล ประสิทธิผล คุณภาพ การพัฒนาองค์การ ประสิทธิภาพ พิทักษ์สถาบัน พัฒนา ประเทศ คุณภาพ ประสิทธิภาพ การพัฒนาองค์การ
การถ่ายทอดเป้าหมายองค์กรสู่บุคลากร Level 0 ระดับ ทร. Level 1 ระดับ นขต.ทร. Level 2 นขต. ของ นขต.ทร.
การถ่ายทอดเป้าหมายสู่หน่วยรองและงบประมาณ ส่วนบัญชาการ นขต. ก. นขต. ข. นขต. ค. นขต. ง. รวม Goal 1 หน่วยงาน 246 236 140 622 Objective 1.1 100 22 78 200 Objective 1.2 161 62 223 Objective 1.3 146 53 199 Goal 2 หน่วยงาน 142 97 112 351 Objective 2.1 77 18 95 Objective 2.2 65 79 256 Goal 3 หน่วยงาน 13 36 24 73 Objective 3.1 34 58 Objective 3.2 10 2 12 Objective 3.3 3 388 133 260 252 1046
การถ่ายทอดเป้าหมายและงบประมาณของหน่วยรอง นขต. ก. Goal 1 นขต. ก. Goal 2 นขต. ก. Goal 3 นขต. ก. รวม Obj 1.1 Obj 1.2 Obj 2.1 Obj 2.2 Obj 3.1 Goal 1 หน่วยงาน 42 50 43 61 246 Objective 1.1 10 24 15 16 35 100 Objective 1.2 Objective 1.3 32 26 28 34 146 Goal 2 หน่วยงาน 27 30 142 Objective 2.1 7 5 23 77 Objective 2.2 8 12 25 65 Goal 3 หน่วยงาน Objective 3.1 Objective 3.2 Objective 3.3 57 85 80 89 388
การจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี นขต.ทร. ตรวจสอบสภาวะแวดล้อม ตรวจสอบแผนยุทธศาสตร์ ทร. ทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ทบทวนวิสัยทัศน์ พัฒนากลยุทธ์เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์หน่วย (แผนปฏิบัติราชการ 4 นขต.ทร.) ตรวจสอบนโยบาย ผบ.ทร. กำหนดกิจกรรมที่ต้องดำเนินการ ตรวจสอบกิจกรรมที่ต้องดำเนินการ จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี นขต.ทร.
ผลสัมฤทธิ์ที่ต้องการ Management Framework WHAT HOW WHAT Supplier / Stakeholder Customer Input Process Output Outcome เครื่องมือ/ ทรัพยากร ขั้นตอน/ บุคลากร ผลสัมฤทธิ์ที่ต้องการ (Result) ? ระบบคน Work Force ระบบงาน Work System คน องค์กร Work Process SubProcess Step Activity
Work System Family next process is customer Input Process Output Input
Supplier/ Stakeholder Input Process Output Customer SIPOC Supplier/ Stakeholder ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Input ปัจจัยนำเข้า Process กระบวนการ Output ผลผลิต Customer ผู้รับบริการ คือใคร กลุ่มไหน ใช้อะไรบ้าง ทำอย่างไร ขั้นตอน/วิธีการ ได้อะไร สินค้า/บริการ ใครใช้ผลผลิต ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต้องการอะไร ข้อกำหนด ที่สำคัญ ผู้รับบริการ ต้องการอะไร ความต้องการ วิธีได้ความต้องการ รักษาความสัมพันธ์ ที่ดีเป็นอย่างไร ตัวชี้วัด
ผลสัมฤทธิ์ที่ต้องการ Management Framework WHAT HOW WHAT Supplier / Stakeholder Customer Input Process Output Outcome เครื่องมือ/ ทรัพยากร ขั้นตอน/ บุคลากร ผลสัมฤทธิ์ที่ต้องการ (Result) ขีดสมรรถนะที่ต้องการ สำหรับปฏิบัติงาน (Competency) ขององค์กร ของบุคคล ผลการดำเนินงาน (Performance) ขององค์กร ของบุคคล คน องค์กร ความสำเร็จ
ผู้บริหารระดับสูงต้องมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในการ ต้องทำอะไรบ้าง ผู้บริหารระดับสูงต้องมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในการ กำหนดเป้าหมายของการพัฒนาองค์กร และ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ขององค์กร (เป้าหมายส่งมอบผลผลิตทั้งเชิงปริมาณ และคุณภาพ) กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยมขององค์กร กำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆที่เกี่ยวข้อง
วิเคราะห์ผลผลิตขององค์กร ผลผลิตหลัก / ผลผลิตย่อยมีอะไรบ้าง ต้องทำอะไรบ้าง วิเคราะห์ผลผลิตขององค์กร ผลผลิตหลัก / ผลผลิตย่อยมีอะไรบ้าง ครบถ้วนทุกพันธกิจหรือไม่
วิเคราะห์กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ต้องทำอะไรบ้าง วิเคราะห์กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ใครได้ประโยชน์จากผลผลิตของเรา / จัดกลุ่ม มีใครเกี่ยวข้องบ้าง / จัดกลุ่ม สำรวจความต้องการจากผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สร้างและรักษาความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างไร ประเมินความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
มีวิธีการทำงานเพื่อนำส่งผลผลิตอย่างไร ต้องทำอะไรบ้าง วิเคราะห์กระบวนการ มีวิธีการทำงานเพื่อนำส่งผลผลิตอย่างไร จำแนกเป็นกระบวนการสร้างคุณค่า และ สนับสนุน แปลงความต้องการเป็นข้อกำหนดสำคัญ ออกแบบกระบวนการทำงานให้ครอบคลุมวงจร Plan Do Check (Share) Act และปรับปรุงอยู่เสมอ ทำให้มั่นใจว่ากระบวนการเหล่านี้สามารถบรรลุเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ขององค์กรได้ ทั้งเชิงปริมาณ และคุณภาพ จัดทำคู่มือ มาตรฐาน การปฏิบัติงาน
การวางแผนการปฏิบัติงาน กำหนดขั้นตอนและวิธีการวางแผน ต้องทำอะไรบ้าง การวางแผนการปฏิบัติงาน กำหนดขั้นตอนและวิธีการวางแผน รวบรวมข้อมูลที่ต้องการใช้ในการวางแผน และบริหารองค์กร กำหนดกลยุทธ์ และ เป้าหมายการทำงาน (พันธกิจ/ความท้าทาย/ผลผลิต) กำหนดตัวชี้วัดที่สะท้อนถึงความสำเร็จ วิเคราะห์และบริหารความเสี่ยง ถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติ (สื่อสารเป้าหมาย)
ประเมินผลการปฏิบัติงาน รวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการประเมินผล ต้องทำอะไรบ้าง ประเมินผลการปฏิบัติงาน รวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการประเมินผล ติดตามความสำเร็จ เป็นประจำ ประเมินผลทั้งระดับองค์กรและระดับบุคคล นำผลการประเมินไปใช้วางแผน และปรับปรุงการทำงาน
ทำงานอย่างมีความผาสุก ต้องทำอะไรบ้าง พัฒนากำลังพล สร้างขวัญและกำลังใจ อบรมให้ความรู้ พัฒนาสมรรถนะ ทำงานอย่างมีความผาสุก
รวบรวมและกลั่นกรองความรู้ แบ่งปันความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนในองค์กร ต้องทำอะไรบ้าง การจัดการความรู้ วิเคราะห์และบ่งชี้ความรู้ที่จำเป็น และสัมพันธ์กับกระบวนการ Plan Do Check (Share) Act รวบรวมและกลั่นกรองความรู้ แบ่งปันความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนในองค์กร ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงานให้เอื้อต่อการเรียนรู้ (ใจว่าง พื้นที่ว่าง เวลาว่าง)
สร้างธรรมาภิบาลในองค์กร ต้องทำอะไรบ้าง สร้างธรรมาภิบาลในองค์กร นำนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดีของ ทร. มาปฏิบัติ สร้างกลไกในการรับฟังข้อร้องเรียน ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และนำมาปรับปรุงกระบวนการทำงาน วางระบบควบคุมภายใน วางระบบจัดการกับผลกระทบทางลบ เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงาน
สรุปสิ่งที่หน่วยต้องดำเนินการ วิเคราะห์ภารกิจตนเอง (ทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร) ประเมินตนเองเทียบกับเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (เพื่อหาโอกาสในการปรับปรุง) ทำแผนปรับปรุง/ดำเนินการปรับปรุง ปรับปรุงกระบวนงานให้มีความชัดเจน สามารถทำซ้ำได้ ระบุให้ได้ว่าเรา ทำงานอะไร เกิดผลผลิตอะไร ใครใช้ผลผลิตนั้น ปรับปรุงการระบบวัดและประเมินผล (รวมรวมข้อมูลและรายงาน) เปลี่ยนแปลงทัศนคติของกำลังพลให้ทำงานโดยผลงาน และคุณภาพงาน
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ให้ข้อมูล (Inform) เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชน ปรึกษาหารือ (Consult) รับฟังความเห็นจากประชาชน เข้ามาเกี่ยวข้อง (Involve) ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย แผนงาน รัฐยังเป็นผู้ดำเนินการทั้งหมด ร่วมมือ (Collaborate) ประชาชนเป็นหุ้นส่วนหรือ มีส่วนร่วมในการทำงาน เสริมอำนาจประชาชน (Empowerment) ประชาชนเป็น ผู้ตัดสินใจ รัฐเป็นเพียงผู้กำกับดูแล
Service Blueprint
Service Blueprint PLAN Do Check/ Share/ Act
“การที่จะให้งานประสานกันนั้น หลักสำคัญอยู่ว่า ทุกฝ่ายจะต้องไม่แบ่งแยกกัน ไม่แย่งประโยชน์ ไม่แย่งความชอบกัน แต่ละฝ่าย แต่ละคนต้องทำงานด้วยความบริสุทธิ์ใจ มุ่งหวังผลสำเร็จของงานเป็นใหญ่ยิ่งกว่าสิ่งอื่น” พระบรมราโชวาท 10 ก.พ.22 http://www.navy.mi.th ขอบคุณครับ