Dr. Chanthana Wech-o-sotsakda

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
Advertisements

การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
แบบสอบถาม (Questionnaire)
System Database Semester 1, 2009 Worrakit Sanpote 1.
Entity-Relationship Model E-R Model
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร Database Training Manager Book Promotion & Service Co,. Ltd.
งานบุคลากร กลุ่มพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
LOGO แนวคิดเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศ นางสาวกนกรัตน์ นพ โสภณ SMET
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft office power point การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Power Point.
15 กันยายน 2558 หมวดงบลงทุน. งบ ลงทุน 1) ครุภัณฑ์ 2) ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่าย เพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายใน ลักษณะค่าครุภัณฑ์
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
นางสาวนันทรัตน์ แสวงชัย
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (C.A.I.)
Introduction to VB2010 EXPRESS
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การประชุมวิชาการประจำปี ศสท
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
Meta data.
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 10 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 11 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
Integrated Information Technology
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
Scene Design and Lighting Week1-3
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
บทที่ 7 การจัดเก็บวัสดุและหีบห่อ
Information Repackaging อาจารย์ธนากร อุยพานิชย์ สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์
SMS News Distribute Service
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 7 การจัดเก็บวัสดุและหีบห่อ
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
การดำเนินงานในห้องสมุดเฉพาะฯ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Dr. Chanthana Wech-o-sotsakda Metadata Dr. Chanthana Wech-o-sotsakda

Metadata: ความหมาย Metadata คือ สารสนเทศที่มีโครงสร้าง (structured information) เพื่อพรรณนาวัตถุสารสนเทศ ซึ่งอาจเป็นภาพ หนังสือ บทความวารสาร เอกสาร วีดิทัศน์ บทในหนังสือ เป็นต้น ผู้ใช้ทั่วไปอาจไม่สนใจหรือรู้จัก Metadata แต่สำหรับผู้ทำหน้าที่จัดการสารสนเทศในด้านต่าง ๆ Metadata เป็นเครื่องมือให้สามารถจัดการสารสนเทศได้ เช่น จัดการด้านที่จัดเก็บสารสนเทศ (ไฟล์) ด้านเนื้อหา (จัดหมวดหมู่, ทำรายการ) และด้านการใช้ (สิทธิการใช้, ลักษณะการใช้)

ประเภทของ Metadata (1) จำแนกได้หลากหลายประเภท และอาจคาบเกี่ยวกัน ขึ้นกับการจัดการและการตัดสินใจของแต่ละสถาบัน ในที่นี้จำแนกเป็น 5 ประเภท Descriptive Metadata Structural Metadata Administrative Metadata Technical Metadata Preservation Metadata Use Metadata

ประเภทของ Metadata (2) Descriptive Metadata – ใช้เพื่อการค้นหาและการระบุวัตถุสารสนเทศ เป็นกลุ่มที่บรรณารักษ์คุ้นเคยที่สุด ตัวอย่าง คือ MARC, Dublin Core records. Structural Metadata – ใช้เพื่อแสดงแก่ผู้ใช้ และนำทางให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงวัตถุสารสนเทศนั้นได้ (คลิกไปตามลำดับ) ดังนั้นจึงประกอบด้วยข้อมูลการจัดหมวดหมู่ของวัตถุนั้น (ไม่ใช่จัดหมวดหมู่ด้านเนื้อหา) เช่น ตู้ >> ลิ้นชัก >> โฟลเดอร์ >> แฟ้มแต่ละแฟ้ม >> เอกสารแต่ละชิ้น

ประเภทของ Metadata (3) Administrative Metadata – ใช้เพื่อแสดงข้อมูลการจัดการวัตถุนั้น ๆ เช่น วันที่ที่ผลิต, format ของไฟล์ (JPEG, etc.), ผู้ผลิตหรือหน่วยงานเจ้าของวัตถุนั้น Technical Metadata – ใช้เพื่อแสดงข้อมูลเชิงเทคนิค เช่น ฮาร์ดแวร์-ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลงข้อมูล, format ของไฟล์ (JPEG, etc.), อัตราส่วนของการบีบอัดข้อมูล (compression ration) ฯลฯ

ประเภทของ Metadata (4) Preservation Metadata ใช้แสดงข้อมูลด้านการสงวนรักษา เช่น สภาพทางกายภาพของต้นฉบับ, การสงวนรักษาไฟล์ เป็นต้น Use Metadata ใช้แสดงข้อมูลเกี่ยวกับประเภทของผู้ใช้และลักษณะของการใช้ เช่น version ของวัตถุกับประเภทของผู้ใช้ เป็นต้น

Metadata มีหน้าที่อะไร? ช่วยให้สามารถค้นหาได้ (ทั้งในระดับ collection เดียวกันหรือหลาย collections พร้อมกัน >> federated searching) จัดหมวดหมู่วัตถุ (ทั้งในเชิงกายภาพและ ตรรกะหรือเนื้อหา) ช่วยให้บูรณาการข้อมูลทั้งที่เป็นเนื้อหา (ฉบับเต็ม) และของ metadata ได้ ช่วยในการจัดการวัตถุสารสนเทศในระยะยาว

หากไม่มี Metadata ที่เป็นมาตรฐานจะเกิดอะไรขึ้น? การค้นข้าม collections หรือ digital libraries ทำได้ยาก เช่น ต้องค้นทีละ collection หรือทีละ library การโอนย้ายหรือถ่ายโอนข้อมูลทำได้ยาก เช่น การเปลี่ยนซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้อง, การเปลี่ยน/ขยาย servers, การ update ซอฟต์แวร์, การขยาย collections ที่มี formats และมาตรฐานต่างกัน Metadata ที่ผูกติดกับซอฟต์แวร์ใดซอฟต์แวร์หนึ่งเป็นการเฉพาะ ค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยนมาตรฐานและความเสื่อมสภาพที่ต้องคำนึงถึง

มาตรฐาน Metadata ที่สำคัญและจำเป็น Metadata ที่เป็นมาตรฐานสำหรับการพรรณนาเนื้อหา ในลักษณะเดียวกับ AACR2 framework หรือ schema ที่เป็นมาตรฐานเพื่อการเก็บและแลกเปลี่ยน metadata ในลักษณะเดียวกับ MARC record XML (eXtensible Markup Language) เป็นมาตรฐานที่ใช้สำหรับ metadata บนอินเทอร์เน็ต

Open Archival Information Package (ISO 14721:2002)

METS (1) Metadata Encoding and Transmission Standard XML-based language ที่เอื้อให้สามารถบรรจุ metadata ประเภทต่าง ๆ คือ descriptive, administrative และ structural (ซึ่งจำเป็นในการจัดการ นำเสนอ ค้น และสงวนรักษา information objects) ยืดหยุ่น และเอื้อต่อวัตถุทั้งที่เป็นข้อความ ภาพนิ่ง เสียงและวีดิทัศน์ ไม่ซับซ้อน และตรงไปตรงมา (มักคิดว่าซับซ้อนเพราะ declarative statements, documentation และเครื่องหมายรุงรัง)

METS (2) สนับสนุนและอุปถัมภ์โดย Digital Library Federation (http://www.diglib.org) บำรุงรักษาโดย Library of Congress (http://www.loc.gov/standards/mets) open standard non-proprietary developed by the library community extensible modular

METS metadata: โครงสร้าง Header optional optional optional optional Descriptive metadata Administrative metadata Behavioral metadata optional required File Inventory Structure map

METS features Header: describes METS document, creator, editor etc. Descriptive metadata File section: lists all files containing content which comprise electronic versions of the digital object Structural Map: outlines the hierarchical structure of the digital object and links the elements of the structure to content files Structural links: for recording hyperlinks in hierarchy – useful for archiving websites Behavior: allows links between programs and content in the METS object

Linking in METS Documents (XML ID/IDREF links) DescMD mods relatedItem AdminMD techMD sourceMD digiprovMD rightsMD fileGrp file StructMap div fptr

MODS An XML schema สำหรับการพรรณนาวัตถุ (descriptive metadata) Metadata Object Description Schema An XML schema สำหรับการพรรณนาวัตถุ (descriptive metadata) ออกแบบและบำรุงรักษาโดย MARC standards office at LC A richer element set than simple Dublin Core, but more constrained (and more interoperable) than qualified DC Based on MARCXML, but with natural language element names instead of numerical field names Extensible

ความแตกต่างระหว่าง MODS and Dublin Core Names Publication information (originInfo) Related item Subject MODS เหมาะสำหรับข้อมูลที่มีในห้องสมุด Semantics Conversions ความสัมพันธ์ระหว่าง elements ต่าง ๆ เอื้อต่อการจัดการ record เพราะสามารถเพิ่ม administrative metadata ได้

METS & MODS dmdSec Catalog record MODS (MARC >> MODS) fileSec URL: page1.jpg URL: page2.jpg structMap div DMDID=1 div FILEID=1 div FILEID=2 Scanned images (JPEG) Structural metadata

http://www.greenstone.org/

Greenstone: a future with METS GS3: METS as internal storage format MG/MGPP for indexing and text retrieval MySQL for metadata XSLT for presentation to browser Can use GS2 collection as is GS2: (2.6) METS as optional internal format METSPlug (in collect.cfg) import.pl -saveas METS mycol buildcol.pl mycol ภาษาไทย Greenstone METS “profile” (not yet formalized)