วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศักยภาพของคนไทยในการผลิตและวิจัยวัคซีนใหม่
Advertisements

การพิจารณาเลือกชนิด วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค นพ.พรศักดิ์ อยู่เจริญ สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค.
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
By Charung Muangchana MD, Ph.D. National Vaccine Committee Office (NVCO) July 26, 2009 Update on H1N Vaccine Development.
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine. วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine.
INFLUENZA.
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine.
Consult the expert ? Thank you การดูผลการตรวจ serology ของ hepatitis B virus ดูอย่างไรคะ ?
 รอบ 3 เดือน,พัฒนาบุคลากร เครือข่ายคณะกรรมการในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล วางแนวทางการ ดำเนินงาน  รอบ 6 เดือน ดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด.
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
Cr อ.เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
ระบาดวิทยาของโรคติดเชื้อ ที่เป็นปัญหาสาธารณสุข ของประเทศ
มาตรฐานที่ ๒ การให้บริการวัคซีน
ประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งกรมปศุสัตว์
Intern Kittipos Wongnisanatakul
แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2559
มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
Market System Promotion & Development Devision
พลังวัชร์ แพ่งธีระสุขมัย คณะวิศวกรรมศาสตร์
สถานการณ์ของโรคไข้หวัดใหญ่ในปี ๒๕๕๘
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
แนวทาง การให้บริการวัคซีนโปลิโอ
วาระประชุมเดือนกันยายน 2559
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
ขั้นตอนการร้องเรียน.
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
โรคไข้เลือดออก เห็ดพิษ รณรงค์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คลีนิกวัคซีนผู้ใหญ่
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2558
สหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จำกัด
แนวทางการให้บริการวัคซีนโปลิโอ
โดย ภญ. ปิยะนาถ เชื้อนาค สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน
ชี้แจงการตอบคำถาม/ ค่าคะแนน แบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ. ศ
เพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
โครงการ สร้างโปรแกรมต้นแบบเพื่อคำนวณค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินของหน่วยงาน
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
การบริการพื้นฐานของห้องสมุด
ประกาศ มหาวิทยาลัยมหิดล (มีผลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2556)
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2560
การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
กลไกการตอบสนองของร่างกายแบบไม่จำเพาะ และแบบจำเพาะต่อสิ่งแปลกปลอม
แนวทางการดำเนินงานให้บริการ
โดยคุณอัมพวัน คุลภ์อนันต์
ศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยจังหวัดสมุทรปราการ
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์สายพันธุ์ SA
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
การดำเนินกิจการ ของสหกรณ์ออมทรัพย์.
โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic)
Product Champion Cluster วัยเรียน : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะ โรงพยาบาลราชบุรี
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2558 กองทุนหลักประกันสุขภาพ
บ้านเรียนดี สรรสร้างสื่อดี
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
การประชุมสรุปงานสภาอาจารย์ วิทยาเขตปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2561
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine

โรคไข้หวัดใหญ่ เกิดจาก : Influenza virus จำแนกได้ 3 ชนิด คือ A B C    โรคไข้หวัดใหญ่ เกิดจาก : Influenza virus จำแนกได้ 3 ชนิด คือ A B C Influenza virus A : ทำให้เกิดโรคได้ในคน และสัตว์ การระบาดเกิดขึ้นได้บ่อย และมักเป็นสาเหตุของการระบาดใหญ่ไปทั่วโลก Influenza virus B : ทำให้เกิดโรคในคน และเกิดการระบาดในวงจำกัด Influenza virus C ทำให้เกิดโรคได้ในคน และไม่มีการระบาด

Structure of the Influenza Virus

มีมานาน ~ 50 ปีแล้ว Influenza Vaccine คุณภาพดีขึ้น ( split product และ subunit vaccine ) ลดอัตราป่วย อัตราตาย เพิ่มคุณภาพชีวิต ป้องกันการผสมกลายพันธุ์ ( reassortment ) ระหว่าง เชื้อไข้หวัดใหญ่ในคนและสัตว์ปีก

- การเลี้ยงในไข่ไก่ฟัก เป็นวิธีมาตรฐาน

Currently available vaccines วัคซีนไข้หวัดใหญ่ชนิดเชื้อเป็น Live Attenuated Influenza vaccine (LAIV) เป็นวัคซีนเชื้อมีชีวิต แต่ทำให้อ่อนฤทธิ์ลง ไม่ก่อโรคในคน เชื้ออยู่ได้ในที่อุณหภูมิต่ำ คือโพรงจมูก แต่จะตายเมื่ออยู่ในอวัยวะส่วนอื่นที่มีอุณหภูมิสูงกว่า ให้โดยการพ่นทางจมูกเพื่อเลียนแบบการติดเชื้อโดยธรรมชาติ สร้างภูมิคุ้มกันเฉพาะที่ และภูมิคุ้มกันอยู่ได้นานกว่า 1 ปี ผู้ที่ได้รับวัคซีนอาจมีไวรัสแพร่ออกมาทางเดินหายใจได้

Currently available vaccines วัคซีนไข้หวัดใหญ่ชนิดเชื้อตาย Whole virus vaccine Split vaccine Subunit vaccine - Trivalent Inactivated Influenza vaccine (TIV) - Quadrivalent Inactivated Influenza vaccine (QIV)

Inactivated Influenza vaccine Different Generations of Vaccine

Inactivated Influenza vaccine Whole virus vaccine มีอาการข้างเคียงมาก ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว Split vaccine ประกอบด้วย surface antigen และ internal antigen Subunit vaccine ประกอบด้วย surface antigen

ผลข้างเคียงของวัคซีนเชื้อตัวตาย ข้อห้ามใช้ของวัคซีนเชื้อตัวตาย ไข้พบน้อยมาก ( มักพบใน 6-24 ชม. หลังฉีด ) เฉพาะที่พบน้อย ( ~ 10% ) Guillian - Barre syndrome ~ 1 : 1,000,000 dose ข้อห้ามใช้ของวัคซีนเชื้อตัวตาย Severe anaphylaxis reaction to chicken or egg protein or other components

ข้อควรระวังในการใช้วัคซีน ข้อห้ามใช้วัคซีน ผู้ที่มีประวัติแพ้ไข่ไก่ ผู้ที่มีประวัติแพ้สารที่เป็นส่วนประกอบในวัคซีน ได้แก่ Neomycin, Formaldehyde(Octoxinol-9), Thimerosol กรณีเจ็บป่วยและมีไข้สูง หรือมีการติดเชื้อเฉียบพลัน ข้อควรระวังในการใช้วัคซีน ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือผู้ที่ใช้ยาที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกัน

Trivalent Inactivated Influenza vaccine (TIV) รายละเอียดและส่วนประกอบ ประกอบด้วยไวรัส 3 สายพันธุ์ ได้แก่ Influenza virus A (H1N1) Influenza virus A (H3N2) Influenza virus B

องค์การอนามัยโลก จะเป็นผู้พิจารณา คาดเดา และกำหนดว่าสายพันธุ์ใดน่าจะมีการ ระบาดในปีนั้นๆ และแยกผลิตเป็น 2 สูตรเพื่อ ประเทศในซีกโลกเหนือกับซีกโลกใต้

การให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ strain สายพันธุ์ขั้วโลกเหนือ :- ตุลาคม – เมษายน (ฤดูหนาว) สายพันธุ์ขั้วโลกใต้ :- เมษายน - กันยายน(ฤดูฝน) ภูมิคุ้มกันจะสูงพอป้องกันได้ 2 สัปดาห์หลังฉีด ควรได้รับวัคซีนทุกปี วัคซีนอื่นอาจให้พร้อมกันได้แต่ต้องต่างตำแหน่ง ต่าง syringe ( Red Book 2003, P 389. )

วัคซีนไข้หวัดใหญ่สำหรับประเทศไทย ปี 2559 Seasonal Flu Vaccine 2016

ข้อมูลวัคซีนสายพันธุ์ปี 2016

3. ข้อมูลวัคซีนสายพันธุ์ปี 2016 Vaccine Southern strain ประกอบด้วย 3 สายพันธุ์ : ชนิด A (H1N1) , ชนิด A (H3N2) , ชนิด B ปี Vaccine Southern strain ชนิด A (H1N1) ชนิด A (H3N2) ชนิด B 2551 Solomon Islands/3/2006 Brisbane/10/2007 Florida/4/2006 2552 Brisbane/59/2007 2553 Calilfornia/7/2009 Perth/16/2009 Brisbane/60/2008 2554 2555 2556 Victoria/361/2011 Wisconsin/1/2010 2557 Texas/50/2012 Massuchusetts/2/2012 2558 Switzerland/9715293/2013 Phuket/3073/2013 2559 A/Hong Kong/4801/2014

วัคซีนสำหรับประชาชน และบุคลากร วัคซีนสำหรับประชาชน (สปสช.) แบบ single dose ของบริษัท abbott = influvac แบบ multiple (4 dose) ของ เมอริเออร์ชีววัตถุ เป็นบริษัทร่วมทุนของ GPO และ sanofi = influenz วัคซีนสำหรับบุคลากร (กรมควบคุมโรค) เป็นsingle dose ของบริษัท abbott = influvac

Single Doses ประชาชน/บุคลากร

Multinple Doses ประชาชน

การเก็บรักษาวัคซีน เก็บที่อุณหภูมิ +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส ห้ามแช่แข็ง เก็บที่อุณหภูมิ +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส ห้ามแช่แข็ง เก็บในกล่องหรือซองสีชาป้องกันแสง วัคซีน Mutiple dose ที่เปิดใช้แล้ว ให้ใช้ภายใน 8 ชั่วโมง

การเก็บรักษาวัคซีน ในตู้เย็น ระหว่างการขนส่งและขณะให้บริการ

การดูแลรักษาวัคซีนในขณะให้บริการ ควรให้บริการในที่ร่ม เก็บวัคซีนในกระติกหรือกล่องโฟมที่มีอุณหภูมิอยู่ในช่วง +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส วางขวดวัคซีนให้ตั้งตรง ห้ามวางขวดวัคซีนสัมผัสกับ icepack หรือน้ำแข็งโดยตรง ห้ามปักเข็มคาขวดวัคซีน ในระหว่างรอบริการ หลังเปิดใช้แล้วไม่ควรเก็บไว้นานเกิน 8 ชั่วโมง เปิดกระติกเท่าที่จำเป็นเท่านั้นและปิดฝาให้สนิท

การฉีดวัคซีน 1. ฉีดเข้ากล้าม (IM) 2. DOSE : ผู้ใหญ่ และเด็ก อายุ > 3 ปี 0.5 ml เด็ก 6 เดือน – 35 เดือน 0.25 ml 3. เด็กต่ำกว่า 9 ปี ถ้ายังไม่เคยได้รับวัคซีนมาก่อนให้ฉีด เข็ม 2 ห่างจากเข็มแรก 4 สัปดาห์ 4. ให้ผู้รับบริการพักสังเกตอาการ 30 นาที ภายหลังฉีดวัคซีนในบริเวณที่จัดเตรียมไว้ในหน่วยบริการ

การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับวัคซีน ให้ผู้รับบริการพักสังเกตอาการ 30 นาที ภายหลังฉีดวัคซีนในบริเวณที่จัดเตรียมไว้ในโรงพยาบาล เพื่อสังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นได้ เพราะอาการแพ้ที่รุนแรง (Anaphylaxis) มักเกิดภายใน 30 นาที หลังฉีดวัคซีน อาการที่สังเกต ได้แก่ อาการคันที่ผิวหนัง บวมตามปาก หน้า ลำคอ หายใจลำบาก วิงเวียน ใจสั่น เป็นลม เหงื่อออก ชีพจรเบา ช็อก เป็นต้น และจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์/บุคลากรพร้อมในการรักษาแก้ไขอาการได้ทันท่วงที

อาการไม่พึงประสงค์ของวัคซีนที่ไม่รุนแรง (ประมาณร้อยละ 1-10) อาการไม่พึงประสงค์ของวัคซีนที่ไม่รุนแรง (ประมาณร้อยละ 1-10) อาการเฉพาะที่ เช่น ปวด บวม แดง จ้ำเลือด ส่วนอาการทั่วไป เช่น ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ ไข้ต่ำ ๆ มักหายได้เองภายใน 1-3 วัน และบรรเทาอาการได้ด้วยยาแก้ปวดลดไข้ (เช่น พาราเซตามอล)

อาการไม่พึงประสงค์ของวัคซีนที่รุนแรง (พบได้น้อยมาก ต่ำกว่า 1 ใน 100,000 ) ได้แก่ อาการแพ้รุนแรง ไข้สูงแล้วชัก ปากเบี้ยว กล้ามเนื้ออ่อนแรง สับสน เป็นต้น

อาการแพ้อย่างรุนแรง (Anaphylaxis) มักเกิดภายใน 30 นาทีหลังฉีดวัคซีน ส่วนใหญ่มีผื่นลมพิษขึ้นตามตัว คันที่ผิวหนัง บวมตามปาก หน้า ลำคอ หายใจลำบาก ชีพจรเบา ช็อก ปวดท้อง ในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ให้ผู้เกี่ยวข้องดำเนินการสอบสวนตามแนวทางที่สำนักระบาดวิทยากำหนด รวมถึงการช่วยเหลือเยียวยาเบื้องต้นตามสมควรและทันท่วงที

แนวทางการดำเนินงานให้บริการวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล กำหนดช่วงเวลาการรณรงค์ วันที่ 1 พฤษภาคม ถึง 31 กรกฎาคม 2559 การจัดสรรและสนับสนุนวัคซีน วัคซีนสำหรับบุคลากร จัดสรรโดยกรมควบคุมโรค จัดส่ง 2 รอบ : รอบแรก 10-16 พ.ค.59 รอบสอง 23-27 พ.ค.59 ถ้ามีปัญหาหรือต้องการวัคซีนเพิ่ม วัคซีนสำหรับบุคลากร ให้แจ้งความต้องการมาที่กลุ่มบริหารเวชภัณฑ์ สำนักโรคติดต่อทั่วไป โทรศัพท์ 02-590-3222 วัคซีนสำหรับประชาชน จัดสรรโดย สปสช. ตามที่ สปสช. แจ้ง

แนวทางการดำเนินงานให้บริการวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล การเตรียมการก่อนให้วัคซีน ควรมีการดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการระดับอำเภอ/จังหวัด สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในข่ายมารับบริการที่โรงพยาบาล กำหนดและจัดเตรียมสถานที่ให้บริการวัคซีน เช่น โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ คลินิกโรคเรื้อรัง หรือคลินิกพิเศษ เป็นต้น ควรดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของแพทย์ โดยต้องมีอุปกรณ์ช่วยชีวิต (Emergency Kit) ที่ครบถ้วนพร้อมใช้งาน การจัดเตรียมอุปกรณ์ วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ตามมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การเตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็นในการให้บริการ ได้แก่ เข็มฉีดยา กระบอกฉีดยา พลาสเตอร์ กระติกสำหรับใส่วัคซีน สำลี แอลกอฮอล์ ยาแก้ปวดลดไข้ และควรจัดเตรียมอุปกรณ์ช่วยชีวิต (Emergency Kits) การจัดทำแผนปฏิบัติการ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพื้นที่ของตนเองรับทราบเรื่องการให้วัคซีน

แนวทางการดำเนินงานให้บริการวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล การปฏิบัติงานในวันรณรงค์ การเตรียมการก่อนให้วัคซีน จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เพียงพอและพร้อมใช้งาน กำหนดผังจุดบริการ ผู้ให้บริการทบทวนแนวปฏิบัติของโครงการจนเข้าใจ ตรวจสอบว่าผู้รับบริการอยู่ในกลุ่มเป้าหมายหรือไม่ ถ้าอยู่แล้วมีข้อห้ามการให้วัคซีนหรือไม่ ชี้แจงให้ผู้รับบริการทราบถึงความจำเป็น ประโยชน์ของการให้วัคซีนและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ และให้ผู้รับบริการพิจารณาตัดสินใจในการรับบริการ ฉีดวัคซีนให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่สมัครใจรับวัคซีน การดูแลรักษาวัคซีนในขณะให้บริการ ให้ผู้รับบริการพักสังเกตอาการ 30 นาที ภายหลังฉีดวัคซีนในบริเวณที่จัดเตรียมไว้ในโรงพยาบาล แจ้งให้ผู้รับวัคซีนทราบสถานที่และวิธีติดต่อสถานบริการ

แนวทางการดำเนินงานให้บริการวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ข้อห้ามในการฉีดวัคซีน ได้แก่ - เด็กอายุน้อยกว่า 6 เดือน - มีประวัติแพ้ไก่และไข่ไก่อย่างรุนแรง - เคยแพ้วัคซีนไข้หวัดใหญ่รุนแรง หรือแพ้สารประกอบอื่นๆ ในวัคซีนอย่างรุนแรง - กำลังมีไข้ หรือกำลังเจ็บป่วยเฉียบพลัน - เพิ่งหายจากการเจ็บป่วยเฉียบพลันมาไม่เกิน 7 วัน - เพิ่งมานอนรักษาตัวและออกจากโรงพยาบาลไปไม่เกิน 14 วัน - โรคประจำตัวเรื้อรังที่ยังมีอาการกำเริบ เช่น เจ็บแน่นหน้าอก ใจสั่น หอบเหนื่อย หรือยังควบคุมอาการของโรคไม่ได้

แนวทางการดำเนินงานให้บริการวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล การปฏิบัติงานหลังรณรงค์ การบันทึกผลการรณรงค์ และการรายงานผลการรณรงค์ สถานบริการบันทึกข้อมูลมาตรฐานด้านสุขภาพ (43 แฟ้ม) โดยขอให้ใช้เลขรหัสวัคซีน 815 และรหัส ICD-10-TM ให้ใช้ Z25.1 การติดตามให้วัคซีนแก่กลุ่มเป้าหมาย ส่วนกลางจะติดตามผลการให้บริการผ่านฐานข้อมูล (43 แฟ้ม) และ สสจ.รวบรวมผลการให้บริการแต่ละกลุ่มเป้าหมายจากสถานบริการทุกแห่งที่ได้รับจัดสรรวัคซีน Flu ส่งให้สคร. ทุก 2 สัปดาห์ เพื่อรายงานข้อมูลผ่าน website ของสำนักโรคติดต่อทั่วไป การสนับสนุนค่าการจัดบริหารวัคซีน ตามที่ สปสช.กำหนด

การฉีดวัคซีนปีละครั้ง Thank you การฉีดวัคซีนปีละครั้ง หลังฉีด 2 สัปดาห์ ภูมิจึงขึ้นสูงพอที่จะป้องกันการติดเชื้อ