มอบนโยบายการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทาย โดย นายอาทิตย์ วุฒิคะโร โดย นายอาทิตย์ วุฒิคะโร ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม วันที่ 24 เมษายน 2559 ณ โรงแรมฮอลิเดย์ อินน์ จังหวัดเชียงใหม่
นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล เช่น อุตสาหกรรมแห่งอนาคต สภาวะเศรษฐกิจโลก ภาวะโลกร้อน นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล เช่น อุตสาหกรรมแห่งอนาคต ภัยแล้ง สังคมผู้สูงอายุ ความเหลื่อมล้ำ การเปลี่ยนแปลง ที่ท้าทาย 1
การเปลี่ยนแปลงภารกิจหลักที่ท้าทาย 1. การส่งเสริมพัฒนาอุตสาหกรรม (Promoter) 2. การกำกับดูแลตาม กฎหมาย (Regulator) 3. การบริหารจัดการองค์กร (Organizer) 4. ขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล 2
1. การส่งเสริมพัฒนาอุตสาหกรรม (Promoter) 3
เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 1. การส่งเสริมพัฒนาอุตสาหกรรม (Promoter) โครงการปรับแผนธุรกิจและเพิ่มขีดความสามารถเอสเอ็มอี (SMEs Turn Around) เป้าหมาย 7,000 ราย ภาคการผลิต 6,568 ราย ภาคการค้า 236 ราย ภาคบริการ 185 ราย เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 6,989 ราย (99.84%) 4 ข้อมูล ณ วันที่ 11 เม.ย. 59
Start Up 1. การส่งเสริมพัฒนาอุตสาหกรรม (Promoter) มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) Start Up 5
2. การกำกับดูแลสถานประกอบกิจการโรงงาน และเหมืองแร่ ตามกฎหมาย (Regulator) 6
2. การกำกับดูแล (Regulator) กำกับ ดูแลโรงานและเหมืองแร่ จัดการเรื่องร้องเรียน และภาวะเหตุฉุกเฉิน จากการประกอบกิจการโรงงาน แก้ไขปัญหา อุปสรรคด้านผังเมือง ปรับลดขั้นตอนการขออนุญาต พิจารณาอนุญาตฯ พ.ร.บ. อำนวยความสะดวกฯ โครงการต่างๆ เช่น Green Industry / Eco Town / กากอุตสาหกรรม 7
3. การบริหารจัดการองค์กร (Organizer) 8
3. การบริหารจัดการองค์กร (Organizer) เร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณ การแต่งตั้งโยกย้ายในระบบคุณธรรม ความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน ปรับปรุงวิธีคิด วิธีการทำงาน เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง 3. การบริหารจัดการองค์กร (Organizer) 9
4. ขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล 10
เร่งรัดการ เริ่มประกอบกิจการโรงงาน 4. ขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล 4.1 นโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ภัยแล้ง /หมอกควัน IUU เร่งรัดการ เริ่มประกอบกิจการโรงงาน ปรับปรุงกฎหมายต่างๆ มาตรฐาน 11
4. ขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ภัยแล้ง 12
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 12 คณะภาคธุรกิจสนับสนุนรัฐบาล 4. ขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล 4.2 นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ Cluster/ Super Cluster 10 อุตสาหกรรมแห่งอนาคต Productivity เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 12 คณะภาคธุรกิจสนับสนุนรัฐบาล 13
4. ขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจ (New Engine of Growth) 14
4. ขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล นโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบคลัสเตอร์ Cluster อื่น ๆ Super Cluster ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี เชียงใหม่ ภูเก็ต นครราชสีมา อยุธยา ปทุมธานี คลัสเตอร์ยานยนต์และชิ้นส่วน คลัสเตอร์เครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์โทรคมนาคม คลัสเตอร์ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม คลัสเตอร์ดิจิทัล คลัสเตอร์เกษตรแปรรูป คลัสเตอร์สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 15
4. ขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล นโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบคลัสเตอร์ (ต่อ) กลไกการขับเคลื่อน คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (คนพ.) ประธาน : นรม. เลขานุการฯ : สศช. คณะกรรมการบริหารการพัฒนาพื้นที่ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (คบพ.)ร ประธาน : รอง.นรม. ที่ได้รับมอบหมาย เลขานุการฯ : ปลัด ก.อุตฯ คณะกรรมการเร่งรัดนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบคลัสเตอร์ คณะทำงานร่วม รัฐ-เอกชน-ประชาชน อนุฯ ยานยนต์ อนุฯ ไฟฟ้า อนุฯ ปิโตรเคมี อนุฯ ดิจิทัล อนุฯ เกษตรแปรรูป อนุฯ สิ่งทอ อนุฯ หุ่นยนต์ อนุฯ อากาศยาน อนุฯ การแพทย์ครบวงจร ความคืบหน้าการดำเนินงาน : กำหนดผลิตภัณฑ์เป้าหมาย / นักลงทุนรายใหญ่ / ประเทศเป้าหมายแล้ว กำหนดมาตรการสนับสนุนแล้ว 16
4. ขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ขับเคลื่อนแผนแม่บทการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 1 การยกระดับผลิตภาพภาคอุตสาหกรรม โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม และระบบบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การยกระดับผลิตภาพแรงงานให้มีทักษะสามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของภาคอุตสาหกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาปัจจัยแวดล้อม เพื่อสนับสนุนและผลักดัน การเพิ่มผลิตภาพ การยกระดับอุตสาหกรรมรองรับ Industry 4.0 การวางแผนและพัฒนาสมรรถนะแรงงานให้มีทักษะรอบด้านเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของภาคอุตสาหกรรม การพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่าย การจัดการองค์กรสู่ความเป็นเลิศ ให้กับหน่วยงานภาครัฐ (Public Sector Productivity Excellence) การเพิ่มผลิตภาพการผลิตด้วย เทคโนโลยีอัตโนมัติและหุ่นยนต์ การยกระดับมาตรฐานระบบการจัดการ การเพิ่มผลิตภาพแรงงาน ในอุตสาหกรรมรายสาขา จัดตั้ง Center of Excellence for Foresight การพัฒนาผลิตภาพด้วย Green Productivity ติดตามและประเมินผลการเพิ่ม ผลิตภาพภาคอุตสาหกรรม การเพิ่มผลิตภาพอุตสาหกรรมรายสาขา 17
4. ขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ระยะแรก 3 พื้นที่ Special Economic Zone: SEZ) พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดตาก ตั้งอยู่บริเวณเขตตำบลท่าสายลวด อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ขนาดพื้นที่ 822 ไร่ ซึ่งคาดว่าจะสามารถประกอบกิจการได้ภายในปี 2560 พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดสระแก้ว ตั้งอยู่บริเวณเขตตำบลป่าไร่ อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ขนาดพื้นที่ 660 ไร่ ซึ่งคาดว่าจะสามารถประกอบกิจการได้ภายในปี 2561 พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดสงขลา ตั้งอยู่บริเวณถนนเพชรเกษม เขตตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ขนาดพื้นที่ 1,069 ไร่ ซึ่งคาดว่าจะสามารถประกอบกิจการได้ภายในปี 2561 18
4. ขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล 12 คณะภาคธุรกิจสนับสนุนรัฐบาล 19
20
มอบนโยบายการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทาย โดย นางสาวนิสากร จึงเจริญธรรม โดย นางสาวนิสากร จึงเจริญธรรม รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม วันที่ 24 เมษายน 2559 ณ โรงแรมฮอลิเดย์ อินน์ จังหวัดเชียงใหม่