The supply chain management system at

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิสัยทัศน์ (Visions) เป้าหมาย (Objective) ภายใน 2-5 ปี Step 1.0
Advertisements

การควบคุมวัตถุดิบสำหรับร้านอาหารโดยใช้ RFID ร่วมกับ Web Service
Warehouse and Material Handling
Logistics Logistics เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การเคลื่อนย้ายและการเก็บวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต และสินค้าสำเร็จรูป รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากจุดกำเนิด.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ RFID
Assignment 2010/ คลังสินค้าและการขนถ่ายวัสดุ
งานวิชาการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศในองค์กรสมัยใหม่ (ศูนย์ข้อมูล)
02:Information system e Syste m อ. ปกรณ์ วิญญู หัตถกิจ.
Regional Value Chain: กลยุทธ์ โอกาส ประสบการณ์ และข้อควรระวัง
Supply chain management
WINDOW ON MANAGEMENT Wi-Fi : Starbucks’s Solution to Go นายพงษ์เทพ พลีขันธ์ รหัส นายวาที วงษ์อินทร์จันทร์ รหัส นายสุเมธ.
Management system at Dell
วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่ม ผลผลิต (Work Development with Quality Management.
เทคโนโลยีสารสนเทศในห่วงโซ่อุปทาน ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
: หลักการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
ระบบ RIFD.
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ในประเทศไทย
DoGGy Family Care – hOng hOng Dog Care Delivery
บทที่ 8 การจัดซื้อ บทนำ บทบาทของการจัดซื้อ กิจกรรมต่างๆ ของการจัดซื้อ
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
บทที่ 6 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
HOMEWORK # นายวิทยา ศรีอุดร SEC A.
Pattanachai Huangkaew Kapchoeng Wittaya School
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
DoGGy Family Care – hOng hOng Dog Care Delivery
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
E. I. SQUARE. All rights reserved
วิทยากร : ธรรศ ทองเจริญ
การบริหารคลังสินค้า.
Electronic Commerce Law กฏหมายพานิชย์อิเล็กทรอนิกส์
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1
โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า
เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน (Economics for Everyday Life)
ประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ระดับจังหวัด ครั้งที่ 5/2561 วันอังคารที่ 11 กันยายน 2561 เวลา – น. ณ ห้องประชุมสุพรรณิการ์ ศาลากลางจังหวัดอุทัยธานี
ในการพัฒนาการจัดการเชิงกลยุทธ์
บทที่1 ความรู้ทั่วไปสำหรับ การจัดการโซ่อุปทาน
Chapter 9 กฎหมายพาณิชย์ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส Edit
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง
โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
การจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า
การวางแผนระบบการผลิต
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
MG414 Supply Chain and Logistics Management
การจัดการช่องทางการจัดจำหน่าย และการกระจายสินค้า
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รุจิภาส โพธิ์ทองแสงอรุณ
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศในอนาคต
บทที่1 ความรู้ทั่วไปสำหรับ การจัดการโซ่อุปทาน
(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การจัดการกระจายสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การพัฒนา IT ให้บูรณาการเข้ากับโครงสร้างและระบบงาน
การสวัสดิการกองทัพเรือ
บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง
[ บทที่ 1 ] ระบบฐานข้อมูล
การจัดการสินค้าคงคลัง
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน College of Logistics and Supply Chain
สภาพแวดล้อมทางการตลาด
ชีวิตใหม่ของฝ่ายจัดซื้อ
บทบาทของโลจิสติกส์ต่อเศรษฐกิจและสังคม
ตัวอย่างการนำ AI ไปใช้ในระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

The supply chain management system at Wal-Mart ระบบการจัดการห่วงโซ่อุปทานที่ Wal-Mart

จัดทำ โดย 5506105001 นางสาวกนกทิพย์ ชัยวงค์ 5506105001 นางสาวกนกทิพย์ ชัยวงค์ 5506105006 นางสาวจันจุรีย์ ศรีปันหน้อย 5506105015 นางสาวชลทิชา ญาณะ 5506105020 นางสาวถนอมศรี ปัญญาเหล็ก 5506105029 นายพงศธร แก้วมี สาขาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ

จุดเริ่มต้นในอดีตจนถึงปัจจุบันของ Wal-Mart ในปี ค.ศ. 1950 Sam Walton เปิดร้านค้าใน Bentonville และ Arkansas ประมาณ 10 ร้าน ในปี ค.ศ. 1962 สาขาแรกของ Wal-Mart เปิดตัวขึ้น

จุดเริ่มต้นในอดีตจนถึงปัจจุบันของ Wal-Mart (ต่อ)

จุดเริ่มต้นในอดีตจนถึงปัจจุบันของ Wal-Mart (ต่อ) ในปลายปี ค.ศ. 2002 มีสาขาประมาณ 1,200 ร้านค้าที่ตั้ง อยู่นอกอเมริกา และยังเป็นผู้นำทางด้านร้านค้าปลีกใน ประเทศแมกซิโกและแคนาดาอีกด้วย ในปี ค.ศ. 2006 Wal-Mart ร้านค้าปลีกที่ใหญ่ที่สุด มีพนักงานประมาณ 1.5 ล้านคน และมียอดขายประมาณ 312.4 พันล้านบาท นอกจากนี้ยังมีสาขาทั่วโลกทั้งหมด 4,000 สาขา

จุดเริ่มต้นในอดีตจนถึงปัจจุบันของ Wal-Mart (ต่อ) ในปี ค.ศ. 2009 จากรายงานตัวเลขในอุตสาหกรรมค้าปลีก Wal-Mart คือผู้ค้าปลีกที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา,เม็กซิโก และแคนาดา และยังเป็นอันดับ 1 ในระดับโลกด้วย ปัจจุบันWal-Mart ยังคงเป็นบริษัทขายปลีกที่ใหญ่ที่สุด ในโลก และบริษัทที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 1 ของโลก ที่มา : สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ / มิถุนายน / 2553

ผู้ก่อตั้ง Wal-Mart Samuel Moore Walton แซม วอลตัน เกิดเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 1918 ที่เมือง Kingfisher รัฐ Oklahoma ในปี 1940 จบปริญญาตรีสาขาเศรษฐศาสตร์ จาก University of Missouri at Columbia ในปี 1942-45 เข้าทำงานกับกองทัพสหรัฐ ในปี ค.ศ. 1962 สาขาแรกของ Wal-Mart เปิดตัวขึ้น ในปี 1992 แซม วอลตัน เสียชีวิตลง

ข้อมูลปัจจุบันของ Wal-mart Wal-Mart Corporate office: สำนักงานใหญ่ของ Wal-Mart ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ 702 SW 8th Street Bentonville, Arkansas 72716-8611 Tel : 479-273-4000

ข้อมูลปัจจุบันของ Wal-mart (ต่อ) จำนวนลูกค้าที่มาซื้อของร้านใน Wal-Mart ใน 1 สัปดาห์ของสหรัฐมีมากกว่า 137 ล้านคน และกว่า 175 ล้านคนของลูกค้าทั่วโลกที่มาซื้อของที่Wal-Martใน 1 สัปดาห์

ข้อมูลปัจจุบันของ Wal-mart (ต่อ)

รูปแบบร้านค้าของ Wal-Mart ในปัจจุบัน ร้านราคาพิเศษ (Discount stores)

รูปแบบร้านค้าของ Wal-Mart ในปัจจุบัน (ต่อ) ศูนย์การค้าขนาดใหญ่ (Supercenter)

รูปแบบร้านค้าของ Wal-Mart ในปัจจุบัน (ต่อ) ตลาดใกล้บ้าน (Neighborhood Market)

รูปแบบร้านค้าของ Wal-Mart ในปัจจุบัน (ต่อ) ร้านค้าประเภท Market side นอกจากร้านค้ารูปแบบต่างๆดังกล่าวข้างต้นแล้ว ลูกค้าในสหรัฐและแคนาดายังสามารถซื้อ สินค้าและบริการต่างๆออนไลน์ได้โดยผ่านทางเว็บไซต์ www.walmart.com

การดำเนิน กลยุทธ์ ระดับธุรกิจ ด้านการตลาด กลยุทธ์ด้านราคา การส่งเสริมการขาย ช่องทางการจัดจำหน่าย การบริหารจัดการสินค้า

การดำเนิน กลยุทธ์ ระดับธุรกิจ (ต่อ) ด้านการผลิต นำระบบการจัดซื้อสินค้า EDI (Electronic Data Interchange) การจัดการด้านการหมุนเวียนของสินค้าคงคลังที่มีประสิทธิภาพ มีการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในระบบจัดการขนส่งสินค้าและเป็นผู้นำทางด้าน Logistic ในธุรกิจค้าปลีก

การดำเนิน กลยุทธ์ ระดับธุรกิจ (ต่อ) ด้านบุคลากร ด้านบุคลากร มีวัฒนธรรมองค์กรที่เป็นเอกลักษณ์

การดำเนิน กลยุทธ์ ระดับธุรกิจ (ต่อ) ด้านการบริหารจัดการ ส่วนกลยุทธ์หลัก Wal-Mart จะใช้กลยุทธ์ป่าล้อมเมืองเป็นหลัก กลยุทธ์ราคาถูกทุกวัน หรือ Everyday Low Prices สินค้าที่มีเป็นสินค้า Brand Name เป็นหลัก มีสินค้าให้เลือกที่หลากหลาย มีร้านในหลายรูปแบบ (Multi-Format) ในร้านมีบรรยากาศของความเป็นมิตรและความเป็นกันเอง ใช้กำลังซื้อของตนเองที่มีอยู่อย่างมหาศาลในการได้สินค้าจากผู้ผลิตในราคาที่ถูก ไม่ค่อยเน้นเรื่องของการโฆษณาเป็นหลัก

ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่สำคัญของ Wal-Mart อยู่ที่ความสามารถในการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติให้เกิดผล โดยทางWal-Mart ได้พัฒนาระบบการทำงาน วัฒนธรรมองค์กร ระบบข้อมูล แนวทางการทำงาน ฯลฯ ที่เอื้อและสนับสนุนต่อกลยุทธ์ เริ่มตั้งแต่ระบบในการขนส่งและกระจายสินค้าของ Wal-Mart ที่เรียกได้ว่ามีทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล ด้วยเหตุที่ว่าอเมริกาเป็นประเทศใหญ่และ Wal-Mart มีสาขากระจายอยู่ทั่วประเทศ ดังนั้นเพื่อควบคุมให้สินค้ามีคุณภาพและต้นทุนที่ต่ำ ระบบในการขนส่งและกระจายสินค้าเป็นสิ่งที่สำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง

ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่สำคัญของ Wal-Mart (ต่อ) Wal-Mart ได้ให้ความสำคัญกับระบบดังกล่าวมาก โดยเป็นบริษัทแรกๆ ในโลกที่นำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในศูนย์กระจายสินค้า (Distribution Center) ทำให้ Wal-Mart สามารถรับสินค้าจากผู้ผลิตและกระจายไปยังร้านค้าต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ถึงแม้จะเป็นบริษัทที่มุ่งเน้นในการเป็นผู้นำด้านต้นทุน แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า Wal-Mart จะละเลยในการให้ความสำคัญกับพนักงานและลูกค้า

ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่สำคัญของ Wal-Mart (ต่อ) Wal-Mart เริ่มตั้งแต่ทัศนคติที่ให้ถือลูกค้าเป็นที่หนึ่งเสมอ โดยทัศนคติดังกล่าวถูกปลูกฝังในหัวพนักงานทุกคนและในร้านทุกร้าน พนักงานทุกคนจะถูกปลูกฝังตลอดว่า ลูกค้าคือเจ้านาย และอนาคตของบริษัทก็ขึ้นอยู่กับบรรดาพนักงาน Wal-Mart มีนโยบาย 'Satisfaction Guaranteed' (การรับประกันความพึงพอใจ) และพยายามทุกวิถีทางที่จะทำให้ประสบการณ์ในการมาซื้อสินค้าของลูกค้าเป็นประสบการณ์ที่น่าประทับใจ

ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่สำคัญของ Wal-Mart (ต่อ) Wal-Mart จะมีพนักงานทำหน้าที่เป็น Greeter หรือพนักงานต้อนรับ คอยยืนต้อนรับลูกค้าตั้งแต่หน้าประตู โดยพนักงานคนดังกล่าวจะต้องคอยยิ้มให้ลูกค้า ช่วยในการเอารถเข็น และคอยตอบคำถามว่าสินค้าต่างๆ อยู่ตรงไหน นอกจากนี้พนักงานทุกคนยังจะต้องปฏิบัติตามกฎ 10 ฟุต (10 - foot attitude) ที่ระบุไว้ว่า ถ้าลูกค้าคนไหนก็ตามเข้ามาในระยะ 10 ฟุตของพนักงาน พนักงานคนนั้นจะต้องยิ้ม มองเข้าไปในตาของลูกค้า และทักทายลูกค้า

ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่สำคัญของ Wal-Mart (ต่อ) The Sundown Rule (กฎพระอาทิตย์ตกดิน) ที่คำถามทุกคำถามที่มาจากหน่วยงานอื่นภายในองค์กรจะต้องได้รับการตอบก่อนพระจันทร์ตกดินในวันนั้น ซึ่งแนวคิดดังกล่าวได้รับการยึดถือปฏิบัติอย่างมาก เพราะมองว่าผลการทำงานของแต่ละคนจะต้องขึ้นอยู่กับความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น

ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่สำคัญของ Wal-Mart (ต่อ) นอกจากนี้ผู้บริหารของ Wal-Mart ยังถือว่าพนักงานทุกคนเป็นหุ้นส่วน (Partner) ไม่ใช่ลูกจ้าง (Employee) ผลตอบแทนของ Wal-Mart ที่ให้กับพนักงานก็สูงกว่าอัตราขั้นต่ำ ยังเปิดโอกาสให้พนักงานได้ซื้อหุ้นของบริษัท ในส่วนการบริหารนั้นก็กระตุ้นให้พนักงานแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และยังกระตุ้นให้พนักงานได้มีโอกาสคิดและหาทางปรับปรุงการทำงานด้วยตนเอง

ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่สำคัญของ Wal-Mart (ต่อ) ผู้บริหารของบริษัทเองก็ใช้นโยบาย MBWA (Management by Walking Around) ที่จะไม่นั่งอยู่แต่ในห้องทำงานหรู แต่จะใช้เวลาจำนวนมากในการเดินทางไปเยี่ยมร้านค้าและศูนย์กระจายสินค้าต่างๆ ทำให้บรรดาผู้บริหารได้รับรู้ความเป็นไปและปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น และในฐานะที่ใช้กลยุทธ์ด้านต้นทุนต่ำ ทำให้การบริหารของ Wal-Mart มุ่งเน้นในการเอาใจใส่และให้ความใส่ใจต่อรายละเอียดต่างๆ (Attention to Detail) ไม่ว่าจะเป็นการจัดวางชั้นที่ทำให้สามารถเลือกซื้อสินค้าได้ง่าย หรือในแผนกเสื้อผ้าก็จะมีการปูพรม เพื่อทำให้ลูกค้ารู้สึกเหมือนอยู่ในบ้าน พนักงานในร้านทุกคนจะสวมเสื้อกั๊กสีฟ้า เพื่อให้ลูกค้าสามารถมองหาและมองเห็นได้จากระยะไกลอีกด้วย

วิเคราะห์ Wal-Mart ความสามารถในการดำเนินการ - มีระบบ Supplier อัตโนมัติ [VMI (Vendor Management Inventory)] - ระบบ เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) - มีระบบดาวเทียมในการสื่อสารที่รวดเร็ว[ระบบ VSAT (Very Small Aperture Terminal)] - มีระบบคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพ [ระบบ Data Mining] - ระบบ Logistic [Cross-docking]

วิเคราะห์ Wal-Mart (ต่อ) ทางการตลาด ทำให้ลูกค้าพึงพอใจ ราคาถูกคุณภาพสินค้าดี บริการดี

วิเคราะห์ Wal-Mart (ต่อ) ทรัพยากรมนุษย์ พนักงานพึงพอใจในการทำงาน พนักงานมีความสามารถ TEAM WORK

วิเคราะห์ Wal-Mart (ต่อ) ด้านบริหารงาน ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์เป็นผู้นำมีความสามารถ มีการกระจายอำนาจผู้จัดการสาขา มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อ Supplier เพื่อการวางแผนการดำเนินการร่วมกัน

วิเคราะห์ Wal-Mart (ต่อ) จากการวิเคราะห์คู่แข่งขันมีข้อดีดังนี้ ข้อดี สินค้ามีราคาถูกกว่าคู่แข่งขันและสามารถทำกำไรได้มากกว่ามาตลอด และสนองตอบความต้องการของลูกค้า ทำให้ลูกค้าประทับใจและจงรักภักดี ทำให้คู่แข่งขันรายใหม่เข้ามาในตลาดยากพอสมควร มีระบบคอมพิวเตอร์และดาวเทียมเข้ามาใช้เพื่อความรวดเร็ว สนองตอบความต้องการลูกค้า การขยายสาขามากขึ้นทำให้ครองตลาดในการแข่งขัน

วิเคราะห์ Wal-Mart (ต่อ) จากการวิเคราะห์คู่แข่งขันมีข้อเสียดังนี้ เสียส่วนแบ่งทางการตลาดให้กับคู่แข่งขันขนาดเล็กและไม่สามารถเรียกกลับคืนได้

The supply chain management system at Wal-Mart มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศหลักๆมาใช้ดังนี้ 1. ระบบ VMI (Vendor-Managed Inventory) 2. ระบบ เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) 3. ระบบ VSAT (Very Small Aperture Terminal) 4. ระบบ Data Mining

The supply chain management system at Wal-Mart (ต่อ) 1. ระบบ VMI (Vendor-Managed Inventory) VMI (Vendor Management Inventory) เป็นการให้บริการด้านการติดต่อประสานงาน กับแผนกจัดซื้อ (Supplier) ของลูกค้าโดยตรง ทั้งในประเทศ และ ต่างประเทศ ในการจัดการดูแลป้องกันการขาดสินค้าใน Stock ของลูกค้า รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดส่งสินค้า ให้ถึงมือลูกค้า

The supply chain management system at Wal-Mart (ต่อ) 1. ระบบ VMI (Vendor-Managed Inventory) (ต่อ) โดยที่ทาง Wal-Mart ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้ตัดสินใจในการจัดหาสินค้าอีกต่อไป เป็นหน้าที่ของ Supplier หรือผู้ผลิตสินค้าให้กับ Wal-Mart ต่างหากต้องเป็น ผู้ตัดสินใจว่า เมื่อใดจึงควรจะจัดส่งสินค้าที่ศูนย์กระจายสินค้าและจัดส่งมาในปริมาณเท่าไร และสินค้าอะไรบ้างที่ต้องจัดส่งมา

The supply chain management system at Wal-Mart (ต่อ) 2. ระบบ เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) สามารถติดตามข้อมูลของวัตถุ 1 ชิ้นว่า คืออะไร ผลิตที่ไหน ใครเป็นผู้ผลิต ผลิตอย่างไร ผลิตวันไหน และเมื่อไร ประกอบไปด้วยชิ้นส่วนกี่ชิ้น และแต่ละชิ้นมาจากที่ไหน รวมทั้งตำแหน่งที่ตั้งของวัตถุนั้น ๆ ในปัจจุบันว่าอยู่ส่วนใดในโลก

The supply chain management system at Wal-Mart (ต่อ) 2. ระบบ เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) (ต่อ) การที่ Wal-Mart นำระบบ RFID มาใช้ ทำให้การจัดการธุรกิจเปลี่ยนไป และถือเป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจค้าปลีกในอเมริกา ซึ่งการจัดการระบบด้วย RFID ได้ช่วยพัฒนาในด้าน Logistics และ Supply Chain

The supply chain management system at Wal-Mart (ต่อ) 2. ระบบ เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) (ต่อ) Wal-Mart ได้ออกระเบียบให้ร้านค้าปลีก และ Supplier ทุกบริษัทต้องติด RFID CHIP ก่อนจะส่งมาที่ห้าง พนักงานจะสามารถตรวจสอบสินค้าได้ตลอดเวลา และเมื่อสินค้าถูกหยิบออกจากชั้น พนักงานจะรับทราบทันที ช่วยให้ควบคุมปริมาณสินค้าในห้างให้คงที่อยู่เสมอ โดยที่ไม่ต้องเก็บสต็อกมาก และลดปัญหาสินค้าขาดในห้างได้อีกด้วย เมื่อสินค้าใกล้จะหมด พนักงานสามารถแจ้ง Supplier ให้นำของมาส่งได้ทันก่อนที่สินค้าจะหมด ทำให้ช่วยเพิ่มยอดขายให้กับทั้งฝ่ายห้าง และ supplier

The supply chain management system at Wal-Mart (ต่อ) 2. ระบบ เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) (ต่อ) นอกจากนี้ ยังลดต้นทุนในระยะยาวลงได้ ผลประโยชน์ทางอ้อมคือ ช่วยลดปัญหาการโจรกรรมสินค้า และการปลอมแปลงสินค้าได้ ข้อดี ที่Supplier ของ Wal-Mart ทุกรายจะได้รับ คือ คำสั่งซื้อและยอดขายที่เพิ่มขึ้นอย่างอัตโนมัติในทันทีที่สินค้าที่สต๊อกในระบบ พร่องลงไป เนื่องจาก Wal-Mart จะแบ่งปันข้อมูลการค้าปลีกให้แก่ Supplier ที่เข้าร่วม ผ่านทางโครงข่าย extranet ของบริษัทโดยตรง ซึ่งจะทำให้ Supplier ทราบทันที และ Wal-Mart ยังอนุญาตให้ Supplier ทำการเติมเต็มสินค้ารายการนั้น ๆ ได้ทันที

The supply chain management system at Wal-Mart (ต่อ) 2. ระบบ เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) (ต่อ) Supplier ทุกรายที่ต้องการส่งสินค้าให้กับ Wal-Mart จะต้องแบกรับค่าใช้จ่ายในการปรับใช้ระบบ RFID ด้วยตนเอง ทั้งในด้านต้นทุนต่อหน่วย และต้นทุนในการพัฒนาระบบ RFID ให้มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ของตนเอง ทั้งนี้ ต้นทุนต่อหน่วยของระบบ RFID ยังมีราคาสูงมาก ทำให้เพิ่มต้นทุน 25-75 % ต่อชิ้น เนื่องจาก ต้องมีค่าใช้จ่ายการพัฒนา RFID ให้เหมาะกับสินค้าบางประเภทที่มีความอ่อนไหวต่อระบบเคลื่อนความถี่วิทยุ  

The supply chain management system at Wal-Mart (ต่อ) 2. ระบบ เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) (ต่อ) การที่ Wal-Mart รับซื้อสินค้าที่ติดตั้งระบบ RFID ทำให้ Supplier มั่นใจได้ว่า การพัฒนาระบบเพื่อ Wal-Mart ไม่ได้สูญเปล่า ถึงแม้ค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุนช่วงแรกเริ่มจะมีราคาสูง แต่ก็ทำให้ระบบการจัดการของ Supplier ทุกรายมีการพัฒนาไปด้วยในตัว ซึ่งถือว่าเป็นผลประโยชน์ในระยะยาว

The supply chain management system at Wal-Mart (ต่อ) 2. ระบบ เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) (ต่อ) RFID มีข้อได้เปรียบเหนือกว่าระบบบาร์โค้ดดังนี้ มีความละเอียด และสามารถบรรจุข้อมูลได้มากกว่า ความเร็วในการอ่านข้อมูลจากแถบ RFID สามารถอ่านข้อมูลได้พร้อมกันหลาย ๆ แถบ RFID สามารถส่งข้อมูลไปยังเครื่องรับ ค่าเฉลี่ยของความถูกต้องของการอ่านข้อมูลด้วยเทคโนโลยี RFID นั้นจะอยู่ที่ประมาณ 99.5 เปอร์เซ็นต์

The supply chain management system at Wal-Mart (ต่อ) 2. ระบบ เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) (ต่อ) RFID มีข้อได้เปรียบเหนือกว่าระบบบาร์โค้ดดังนี้ (ต่อ) สามารถเขียนทับข้อมูลได้ สามารถขจัดปัญหาที่เกิดขึ้นจากการอ่านข้อมูลซ้ำ ความเสียหายของป้ายชื่อ (Tag) น้อยกว่า ระบบความปลอดภัยสูงกว่า ทนทานต่อความเปียกชื้น

The supply chain management system at Wal-Mart (ต่อ) 2. ระบบ เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) (ต่อ) สรุปการประหยัดที่เกิดจากการนำเทคโนโลยี RFID มาใช้ 6.7 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ในการจัดการคลังสินค้า กำจัดความจำเป็นในการใช้คนเพื่อทำการสแกนบาร์โค้ด (Bar Code)บนพาเลต (pallet) และลังในระบบโซ่อุปทาน รวมทั้งสินค้าในร้าน ลดต้นทุนแรงงานได้ถึง 15 % 600 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในการจัดการสินค้าคงคลัง แม้มีระบบโซ่อุปทานที่ดีที่สุดในโลก Wal-Mart ได้รับความเสียหายอย่างมากจากการที่สินค้า หมดชั่วคราว ดังนั้น Wal-Mart จึงได้ทำการ ใช้ระบบชั้นอัจฉริยะ (Smart Shelves) ในการตรวจสอบสินค้าบนชั้นที่ว่าง

The supply chain management system at Wal-Mart (ต่อ) 2. ระบบ เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) (ต่อ) สรุปการประหยัดที่เกิดจากการนำเทคโนโลยี RFID มาใช้ (ต่อ) 575 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในการขโมยและฉ้อฉล การรู้ว่าสินค้าอยู่ที่ไหนได้ตลอดเวลา ทำให้เป็นการยากในการป้องกันพนักงานขโมยสินค้า จากคลังสินค้า ระบบตรวจสอบสินค้าอัตโนมัติช่วยลดปัญหาด้านการจัดการที่ผิดพลาดและ การฉ้อฉลของผู้ขาย (Vendor) 300 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในการติดตามและเสาะหา ระบบติดตามที่ดี ที่สามารถติดตามพาเลตและลังสินค้ากว่า 1 พันล้านชิ้นที่ผ่านเข้ามาใน ศูนย์กระจายสินค้าแต่ละปี ทำให้สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้อย่างมาก

The supply chain management system at Wal-Mart (ต่อ) 2. ระบบ เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) (ต่อ) สรุปการประหยัดที่เกิดจากการนำเทคโนโลยี RFID มาใช้ (ต่อ) 180 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในความสามารถที่จะมองเห็นโซ่อุปทาน การปรับปรุงความสามารถในการมองเห็น (Visibility) ว่าสินค้าอะไรอยู่ในระบบโซ่อุปทาน ทั้งในศูนย์กระจายสินค้าและคลังสินค้าของซัพพลายเออร์ ช่วยให้ Wal-Mart ลดจำนวนสินค้า คงคลังและต้นทุนการแบกรับสินค้าคงคลัง 8.35 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ในการเริ่มต้นใช้ RFID มูลค่าที่สามารถประหยัดได้ก่อนการหักภาษีสูงกว่ารายได้รวมทั้งหมดของจำนวน บริษัทกว่าครึ่งหนึ่งที่ปรากฏใน Fortune

The supply chain management system at Wal-Mart (ต่อ) 3. ระบบ VSAT (Very Small Aperture Terminal) ระบบเครือข่ายสถานีดาวเทียมขนาดเล็กวีแซท (VSAT: Very Small Aperture Terminal) เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารผ่านดาวเทียมที่ใช้จานสายอากาศและอุปกรณ์รับส่งสัญญาณที่มีขนาดเล็ก จุดเด่นของสถานีวีแซท ได้แก่ขนาดที่เล็กของตัวสถานี ซึ่งสามารถติดตั้งได้ง่าย สะดวกในการเคลื่อนย้าย และที่สำคัญก็คือ ราคาของสถานีวีแซท มีราคาไม่แพงมาก

The supply chain management system at Wal-Mart (ต่อ) 4. ระบบ Data Mining Data Mining คือ ชุด software วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจของผู้ใช้ มันเป็น software ที่สมบรูณ์ทั้งเรื่องการค้นหา การทำรายงาน และโปรแกรมในการจัดการ

The supply chain management system at Wal-Mart (ต่อ) 4. ระบบ Data Mining (ต่อ) เหตุผลที่เลือกใช้ Data Mining? จำนวนและขนาดข้อมูลขนาดใหญ่ถูกผลิตและขยายตัวอย่างรวดเร็ว ข้อมูลถูกจัดเก็บเพื่อนำไปสร้างระบบการสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบ computer สมรรถนะสูงมีราคาต่ำลง การแข่งขันอย่างสูงในด้านอุตสาหกรรมและการค้า

การจัดส่งสินค้า ทาง Wal-Mart ใช้วิธีการกระจายสินค้า โดยใช้เทคนิคที่เรียกว่า “Cross-docking”

การจัดส่งสินค้า (ต่อ)

หน้าที่สำคัญๆ ต่อการดำเนินการของ Cross Dock Terminal / Truck Transfer

หน้าที่สำคัญๆ ต่อการดำเนินการของ Cross Dock (ต่อ) Loading & Unloading – Supplier / Customers

หน้าที่สำคัญๆ ต่อการดำเนินการของ Cross Dock (ต่อ) Information Center

หน้าที่สำคัญๆ ต่อการดำเนินการของ Cross Dock (ต่อ) ICD

หน้าที่สำคัญๆ ต่อการดำเนินการของ Cross Dock (ต่อ) Regional HUB ที่มา: http://www.logisticafe.com/2009/08/cross-docking/

ผลสรุปการวิเคราะห์ SWOT ของ Wal-Mart

ผลสรุปการวิเคราะห์ SWOT ของ Wal-Mart (ต่อ) STRENGTH (จุดแข็ง) สร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า สินค้ามีคุณภาพสูงและหลากหลาย มีส่วนแบ่งด้านการตลาดมากกว่าคู่แข่งขัน ชื่อเสียงของบริษัทเป็นที่รู้จักดี บริการที่รวดเร็วด้วยระบบคอมพิวเตอร์และดาวเทียม ส่งเสริมการขายอย่างต่อเนื่อง มีฐานะการเงินและสภาพคล่องที่ดี

ผลสรุปการวิเคราะห์ SWOT ของ Wal-Mart (ต่อ) WEAKNESS (จุดอ่อน) การประชาสัมพันธ์ค่อนข้างน้อยมาก มีหนี้สินเป็นภาระผูกพันสำหรับเช่าซื้อในระยะยาวเป็นจำนวนมากเกินไป

ผลสรุปการวิเคราะห์ SWOT ของ Wal-Mart (ต่อ) OPPORTUNITY (โอกาส) เปิดตลาดเสรีทำให้มีแนวโน้มการขยายตัวเข้าไปสู่ตลาดใหม่ได้ดีและเป็นที่นิยมและยอมรับทั่วไป มีการพัฒนาการบริหารและเทคโนโลยีใหม่ สังคมให้ความสำคัญต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ธุรกิจค้าปลีกเลิกกิจการ

ผลสรุปการวิเคราะห์ SWOT ของ Wal-Mart (ต่อ) THREAT (อุปสรรค) ความไม่แน่นอนของภาวะเศรษฐกิจ มีคู่แข่งขันจำนวนมากราย อัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมคงตัวและมีแนวโน้มลดลง จุดอิ่มตัวทางการตลาดของผู้บริโภค ถูกมองในแง่ลบเรื่องใช้แรงงานเด็กในการผลิตเพื่อลดต้นทุน

ผลสรุปการวิเคราะห์ SWOT ของ Wal-Mart (ต่อ) กลยุทธ์ที่ใช้กับคู่แข่งขัน สินค้ามีราคาถูกทุกวัน มีคุณภาพดีและมีสินค้าแบบ One Stop Shopping ซึ่งแวะที่เดียวได้สินค้าครบทุกอย่าง ครอบคลุมพื้นที่ตามความต้องการของลูกค้า มีโกดังสินค้าภายในรัศมี 6ชม.จากที่ตั้งโกดังเพื่อสะดวกและความรวดเร็วในการขนถ่ายสินค้า

ผลสรุปการวิเคราะห์ SWOT ของ Wal-Mart (ต่อ) กลยุทธ์ที่ใช้กับคู่แข่งขัน (ต่อ) มีคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัยเข้ามาใช้ในการปฏิบัติงานและควบคุมระบบหมุนเวียนของสินค้า ใช้ scanning bar code เพื่อเพิ่มความรวดเร็วในการ Check Out ของลูกค้า และมีระบบดาวเทียมเพื่อการสื่อสารที่ทันสมัย รณรงค์ใช้สินค้าที่รักษาสิ่งแวดล้อมและสินค้าที่ผลิตในประเทศ มีการวิจัยและพัฒนา ทดสอบสินค้าใหม่ๆเพื่อปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมและมีคุณภาพดีกว่าเดิม

ผลสรุปการวิเคราะห์ SWOT ของ Wal-Mart (ต่อ) กลยุทธ์ (Strategies) กลยุทธ์ระดับปฏิบัติการ (Functional Strategies) กลยุทธ์ระดับธุรกิจ (Business Strategies)

ผลสรุปการวิเคราะห์ SWOT ของ Wal-Mart (ต่อ) กลยุทธ์ระดับปฏิบัติการ (Functional Strategies) เน้นกลยุทธ์ในแผนต่างๆ ที่ประกอบด้วย แผนการตลาด , แผนการผลิต/การดำเนินงาน , แผนการด้านทรัพยากรบุคคล ซึ่งแต่ละแผนมีความสอดคล้องให้เกิด Quality (คุณภาพ) Safety (ความปลอดภัย) Save Time (ประหยัดเวลา) Development (การพัฒนา) Convenience (ความสะดวก)

ผลสรุปการวิเคราะห์ SWOT ของ Wal-Mart (ต่อ) กลยุทธ์ระดับธุรกิจ (Business Strategies) จูงใจให้ลูกค้าใช้สินค้าที่ลดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม และใช้สินค้าที่ผลิตภายในประเทศ มีนโยบายการขายสินค้าราคาถูกทุกวัน every day low price และสินค้าที่มีคุณภาพ มีการจัดโปรแกรมฝึกอบรม ,สัมมนาให้พนักงานมีคุณภาพและผลงานที่ดี เพื่อกระตุ้นให้พนักงานมีความรักต่องานของตนเอง

ผลสรุปการวิเคราะห์ SWOT ของ Wal-Mart (ต่อ) กลยุทธ์ระดับธุรกิจ (Business Strategies) (ต่อ) ให้ความสำคัญต่อพนักงานและรับความคิดเห็นของพนักงาน นำมาปรับปรุงและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นๆ มุ่งตลาดการแข่งขันโดยเปิดสาขากระจายครอบคลุมทุกพื้นที่ เพื่อเอาชนะคู่แข่งขัน การจัดส่งสินค้ากระจายสินค้าที่มีประสิทธิภาพโดยมีศูนย์กระจายสินค้าอัตโนมัติ

จบการนำเสนอ