ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Red cell enzyme defects
Advertisements

Medication Review.
นพ.ธนชัย พนาพุฒิ อายุรแพทย์โรคไต รพ.ขอนแก่น 14 พย. 2557
นศ.ภ. วิชุตา ถวิลวรรณ นศ.ภ.สลีลา เบ็ญจวิไลกุล
การใช้ยาในโรคเรื้อรัง
Chronic Kidney Disease
Lukkamol Prapkree Ms. (Nutrition and Dietetics), CDT August 14, 2015
ตำบลจัดการสุขภาพ5กลุ่มวัยแบบบูรณาการ
Thalassemia Sudawadee Ekwitayawechnukul, MD. Thalassemia Treatment Complication of thalassemia Complication of secondary hemochromatosis Iron chelation.
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
Dr. Wongsakorn Boonkarn Medicine
ถิรพล สินปรีชานนท์.
Case study 4 Iron overload in thalassemia intermedia
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะ ในภาวะฉุกเฉินและเรื้อรัง
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
โรคกระดูกพรุน.
การอบรมการใช้ยา HAD.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับน้ำยาง และองค์ประกอบต่างๆ ในน้ำยาง
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน
คุณภาพชีวิตและปัจจัยที่สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต
Service Plan in Kidney Disease
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
พญ. ศรัญญา เต็มประเสริฐฤดี, อายุรแพทย์ โรงพยาบาลสุไหงโกลก
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง ทิศทางนโยบาย
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่
แนวทางการกำกับดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย
แนวทางการคัดกรองภาวะซีดในเด็ก และการให้ยาเสริมธาตุเหล็ก ในคลินิกเด็กดี
The Child with Renal Dysfunction
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
นางสาวเพ็ญศรี ท่องวิถี นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
นพ.สมศักดิ์ อุทัยพิบูลย์
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับอำเภอรอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561 อำเภอเมืองอ่างทอง วันที่ 11 มิถุนายน 2561.
การดูแลและแนวทางการส่งต่อ-ส่งกลับผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
Medication Reconciliation
ทบทวน พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
คลินิกไร้พุง ( DPAC) คุณภาพ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
คำขอแก้ไขรายการขึ้นทะเบียน
สารละลายกรด-เบส.
คำขอแก้ไขรายการขึ้นทะเบียน
การประเมิน RF 4.1 โรคไม่ติดต่อรอบ 2
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การจัดการโรคไตเรื้อรัง CKD management
ชี้แจงตัวชี้วัด/โครงการNCD ปี 2561
พญ. พิชญานันท์ คู่วัจนกุล กุมารแพทย์ สาขาโลหิตวิทยาและมะเร็ง
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สถานการณ์ วิกฤติ 7 ระดับ
การรักษาโรคเบื้องต้น (Primary Medical Care)
การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในสูตร Tenofovir regimen ในคลินิกจิตอารีย์ โรงพยาบาลเขื่องใน ภญ.อรวรรณ ครองยุทธ โรงพยาบาลเขื่องใน จ.อุบลราชธานี
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
โรค อ้วน.
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2562 ตุลาคม 2561 – มิถุนายน 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม สวรรค์ประชารักษ์ มีนาคม พ.ศ.2560

Lipid control “fire-and-forget” strategy ยกเว้น ประเมิน Compliance ต่อการรักษา เปลี่ยนวิธี RRT w/u สาเหตุ ประเมิน CVD risk ในผู้ป่วย < 50 ปี และยังไม่ได้ยา Statin กลุ่มผู้ป่วยที่ควรพิจารณาให้ยา Age ≥ 50 ปี , eGFR < 60 ml/min/1.73m2 ยังไม่ได้ RRT  พิจารณาให้ Statin หรือ Statin+Ezetimibe Age ≥ 50 ปี , eGFR ≥ 60 ml/min/1.73m2  พิจารณาให้ Statin เมื่อมีปัจจัยเสี่ยงอื่นต่อ CVD เรื่องที่ 2 คือ การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด เป้หมายของการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด คือ ระดับ A1C < 7 , ระดับ FPG 70-130 mg/dL , ระดับ peak PPG < 180 mg/dL อย่างไรก็ตาม เป้าหมายของระดับน้ำตาลควรพิจารณาเพิ่มเติมในผู้ป่วยแต่ละราย -โดยที่การลดระดับน้ำตาลอย่างเข้มงวดเพื่อให้ใกล้เคียงค่าปกติ คือให้มี HbA1c น้อยกว่าร้อยละ 6.5 อาจพิจารณาในผู้ป่วยที่เป็น เบาหวานไม่นาน คาดว่ามีอายุอยู่ต่อยาวนาน และไม่มีโรคหัวใจและหลอดเลือด -ส่วนผู้ป่วยที่ไม่สมควรตั้งเป้าหมายอย่างเข้มงวดดังกล่าว ได้แก่ ผู้ที่เคยมีประวัติระดับน้ำตาลในเลือดต่ำรุนแรงหรือไม่มีการเฝ้าระวังภาวะน้ำตาล ในเลือดต่ำที่ดีพอ คาดว่ามีอายุอยู่รอดไม่นาน มีโรคหัวใจและหลอดเลือดหรืออาการแทรกซ้อนของโรคหลอด เลือดเล็กๆ ที่เป็นมากแล้ว หรือมีโรคอื่นๆ ที่รุนแรงร่วมด้วย เป็นต้น <click>

Lipid control Kidney transplant Age 18-49 ปี , ยังไม่ได้รับ RRT พิจารณาให้เมื่อ มี MI , coronary revascularization DM Ischemic Stroke 10-year risk for CVD > 10% Kidney transplant เรื่องที่ 2 คือ การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด เป้หมายของการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด คือ ระดับ A1C < 7 , ระดับ FPG 70-130 mg/dL , ระดับ peak PPG < 180 mg/dL อย่างไรก็ตาม เป้าหมายของระดับน้ำตาลควรพิจารณาเพิ่มเติมในผู้ป่วยแต่ละราย -โดยที่การลดระดับน้ำตาลอย่างเข้มงวดเพื่อให้ใกล้เคียงค่าปกติ คือให้มี HbA1c น้อยกว่าร้อยละ 6.5 อาจพิจารณาในผู้ป่วยที่เป็น เบาหวานไม่นาน คาดว่ามีอายุอยู่ต่อยาวนาน และไม่มีโรคหัวใจและหลอดเลือด -ส่วนผู้ป่วยที่ไม่สมควรตั้งเป้าหมายอย่างเข้มงวดดังกล่าว ได้แก่ ผู้ที่เคยมีประวัติระดับน้ำตาลในเลือดต่ำรุนแรงหรือไม่มีการเฝ้าระวังภาวะน้ำตาล ในเลือดต่ำที่ดีพอ คาดว่ามีอายุอยู่รอดไม่นาน มีโรคหัวใจและหลอดเลือดหรืออาการแทรกซ้อนของโรคหลอด เลือดเล็กๆ ที่เป็นมากแล้ว หรือมีโรคอื่นๆ ที่รุนแรงร่วมด้วย เป็นต้น <click>

ขนาดยาแนะนำต่อวัน (ปรับขนาดตาม eGFR)

ขนาดยาแนะนำต่อวัน (ปรับขนาดตาม eGFR)

Anemia in CKD : ESA เป้าหมาย ผลข้างเคียง การเก็บรักษายา  ตู้เย็น ฮีโมโกบิน 10-12 มก/ดล ผลข้างเคียง ความดันเลือดสูง (หมั่นตรวจวัดความดันเลือดสม่ำเสมอ) ชัก ภาวะซีดแย่ลง (พบน้อย) การเก็บรักษายา  ตู้เย็น เรื่องที่ 4 : การรักษาภาวะ anemia ใน CKD คำจำกัดความของ anemia ใน CKD หมายถึง การตรวจพบระดับ Hb ที่ต่ำกว่า 13.5 ในเพศชาย หรือ ต่ำกว่า 12 ในเพศหญิง ยาที่ใช้รักษา ได้แก่ การให้ ESA จะพิจารณาเริ่มให้เมื่อระดับ Hb < 10 โดยมีเป้าหมายเพิ่มระดับ Hb ในอยู่ในระหว่าง 10-12 mg/dL ก่อนเริ่ม ESA ต้องมีการประเมิน iron status เพื่อประเมินว่าผู้ป่วยมีธาตุเหล็กเพียงพอที่จะใช้สร้างเม็ดเลือดแดง และควรมีการติดตามเป็นระยะในระหว่างการรักษาด้วย ESA ถ้าพบ iron def โดยประเมินจาก iron indices คือพบว่า TSAT < 20% และ serum ferritin < 100 ng/ml ต้องให้ iron suplement ขนาดที่แนะนำให้ใช้ คือ ให้เริ่มด้วยขนาด 50-100 unit/kg 3 dose/สัปดาห์ และ maintenance ด้วย 75-150 unit/kg/d โดยอาจให้ทาง IV หรือ SC ก็ได้ ประเมินการตอบสนองต่อการรักษาโดยดูจากระดับ Hb ควรเพิ่มขึ้น 1-2 g/dL ใน 1 เดือน หากพบว่าระดับ Hb เพิ่มขึ้นมากกว่า 12 mg/dL อาจพิจารณาหยุดยาหรือลดขนาดลงอย่างน้อย 25% ผลข้างเคียงที่พบได้บ่อย ได้แก่ ความดันโลหิตสุง โดยเฉพาะในรายที่ระดับ Hb สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว อาการไม่พึงประสงค์อื่นๆที่อาจพบ ได้แก่ อาจทำให้เกิดภาวะชัก หรืออาจกระตุ้นให้เกิด pure red cell aplasia (PRCA) คือภาวะที่ร่างกายสร้าง antibody ต่อ erythropoietin ทำให้ร่างกายไม่ตอบสนองต่อฮอร์โมน จึงพบเม็ดเลือดแดงตัวอ่อนในเลือดต่ำ และหากตรวจไขกระดูกจะไม่พบ cell ต้นกำเนิดของเม็ดเลือดแดง ในขณะที่ cell อื่นๆปกติ

Anemia in CKD : Iron supplement สำหรับวัตถุประสงค์ของการรักษา ที่เกี่ยวกับการใช้ยาก็จะเป็นวัตถุประสงค์ในส่วนของ ชะลอการเสื่อมของไต เพื่อป้องกันหรือยืดเวลาการเกิดภาวะแทรกซ้อน ประเมินและรักษาภาวะแทรกซ้อน เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตที่สำคัญ click

Volume overload : Furosemide เป้าหมาย : โซเดียมในเลือด 135-145 meq/L ไม่บวม หรือ ขาดน้ำ ผลข้างเคียง เสียน้ำมากเกิน เสียสมดุลเกลือแร่ (ต้องรับประทานยาตามแพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด) การได้ยินผิดปกติ สัมพันธ์กับ การบริหารยา (ยาฉีด) แพ้ยา (แพ้แสง) เรื่องที่ 5 : การรักษาสมดุลน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย ที่จะพูดในที่นี้ก็คือสมดุลน้ำและ sodium และการรักษาภาวะ hyperkalemia ความผิดปกติของสมดุลน้ำ และ sodium ที่พบบ่อยในผู้ป่วย CKD คือความผิดปกติแบบ sodium ต่ำแต่น้ำเกิน (hypervolemic hyponatremia) เป้าหมาย คือ รักษาระดับ sodium ให้อยู่ในช่วงปกติ คือ 135-145 meq/L โดยที่ไม่มีภาวะบวมหรือขาดน้ำ (euvolemia) ยาที่มักใช้ในภาวะนี้ ได้แก่ loop diuretic หรือ furosemide โดยขนาดที่แนะนำตามตาราง อย่างไรก็ตามขนาดที่ต้องใช้จริงใน CKD อาจสูงกว่าที่แนะนำได้ โดยบางรายอาจสูงถึง 2 g/d โดยปรับขนาดยาตามภาวะสมดุลของน้ำและเกลือแร่เป็นหลัก โดยให้ monitor I/O , อาการแสดงของภาวะขาดน้ำ , electrolyte imbalance เป็นต้น ผลข้างเคียงที่อาจพบ ได้แก่ ภาวะขาดน้ำ electrolyte imbalance และอื่นๆ เช่น hearing impairment (admin related ADR ป้องกันโดย infusion ใน rate ไม่เกิน 8 mg/min) หรือบางรายอาจแพ้ยา เกิด phototoxicity ดังที่ได้พูดไปแล้วใน part ความดัน

Hyperkalemia : Kalimate® เป้าหมาย ระดับโปตัสเซียม 4 – 5.5 ผสมน้ำเปล่า (ห้ามน้ำผลไม้ !!) เตรียมก่อนรับประทานทันที รับประทานตามแพทย์สั่ง ผลข้างเคียง : เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก อุจจาระแข็งแน่น อาจทำให้ระดับ “แคลเซียม” ในเลือดขึ้นสูงกว่าปกติ ภาวะ hyperkalemia พบได้บ่อยในผู้ป่วย stage 4-5 เป้าหมายคือ ควบคุมระดับ potassium ในเลือดให้อยู่ในช่วงปกติ (4 – 5.5 meq/L) โดยการจำกัดการบริโภคอาหารที่เป็นแหล่งของ potassium (ไม่เกิน 50-80 meq/d) ลดการใช้ยาที่มีผลเพิ่มระดับ potassium ในเลือด ที่มักถูกใช้ใน OPD case ได้แก่ 1.Sodium polystyrene sulfonate ขนาดที่ใช้ ถ้าให้รับประทาน ขนาดแนะนำอยู่ที่ 15 g x 4 ครั้งต่อวัน (โดยการให้ต้องผสมกับ 25% sorbital ถ้าให้โดยการสวนทางทวารหนัก ขนาดที่แนะนำ 30-50 g ทุก 6 ชั่วโมง 2. Calcium polystyrene sulfonate ขนาดที่ใช้ ถ้าให้รับประทาน ขนาดแนะนำอยู่ที่ 15 - 30 g/d แบ่งให้วันละ 2-3 ครั้ง ผสมน้ำ ทางทวารหนัก ให้ในขนาด 30 gm single dose ADR ที่อาจพบ ได้แก่ ถ้าเป็น Sodium polystyrene sulfonate ก็อาจทำให้เกิดการคั่งของน้ำและ sodium , อาการบวม , ระดับ sodium ในเลือดสูง ถ้าเป็น Calcium polystyrene sulfonate ก็อาจทำให้ระดับ calcium ในเลือดสูง ส่วน ADR ที่พบได้ทั้งจากสองชนิด ได้แก่ เบื่ออาหาร N/V ท้องผูก อุจาระแน่นแข็ง และอาจทำให้เกิดลำไส้เน่าแต่พบได้น้อยมาก

Hyperphosphatemia : Phosphate binder เคี้ยวให้ละเอียด ก่อนกลืน ฟอสเฟตในเลือด ต่ำกว่า 4.6 ม.ก. / ด.ล. ท้องผูก ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ระดับแคลเซียมในเลือดสูงกว่าปกติ การเลือกใช้ phosphate binder 1. กลุ่ม calcium K/DOQI แนะนำให้เลือกใช้เป็นอันดับแรก เนื่องจากยาจะมีการดูดซึมเข้าสู่ร่างกายบางส่วน มีผลให้ระดับ calcium สูงขึ้นเป็นการแก้ไขภาวะ calcium ในเลือดต่ำไปด้วย ข้อควรระวัง เลี่ยงการใช้ในผู้ที่มี Ca x P ≥ 55 mg2/dL2 เลี่ยงการใช้ในผู้ป่วยล้างไตที่มี serum calcium > 10.2 mg/dL หรือ parathyroid hormone < 150 pg/ml เนื่องจากเสี่ยงต่อ calcification ขนาดยาแนะนำ เริ่มด้วย 500 mg elemental calcium x 3 มื้อต่อวัน โดยให้ผู้ป่วยรับประทานพร้อมอาหารเพื่อหวังผลจับ phosphate ที่อยู่ในอาหารและขับออกทางอุจาระ ขนาดสูงสุดที่ให้ไม่ควรเกิน 1500 mg elemental calcium ต่อวัน

ROD : Vitamin D ผลข้างเคียง ให้เมื่อระดับฟอสเฟตปกติแล้ว แต่ระดับฮอร์โมน พาราไทรอยด์ ยังสูงกว่าปกติ ผลข้างเคียง แคลเซียม และ ฟอสเฟตในเลือดเพิ่มสูง การให้ vitamin D เสริม จะพิจารณาให้เมื่อสามารถควบคุมระดับ phosphate ให้อยู่ในเป้าหมายแล้วแต่ระดับ parathyroid hormone ยังสูงกว่าปกติ โดยก่อนเริ่มให้ยาควรคุวบคุมระดับ calcium , phosphate ให้ปกติก่อน (cal <9.5mg/dL และ p <4.6mg/dL ตามลำดับ) ที่ใช้ก็จะมี vitamin D2 และ active vitamin D sterol Ergocalciferol หรือ vitamin D2 จะพิจารณาให้เมื่อระดับ 25-OHD ซึ่งก็คือ vitamin D2 ≤ 30 ng/mL ซึ่งแสดงถึงว่าไตยังสามารถเปลี่ยน vitamin D2 เป็น active vitamin D ได้ Active vitamin D sterol (calcitriol , alfacalcidiol , doxercalciferol) ให้เมื่อระดับ 25-OHD > 30 ng/mL

Metabolic acidosis : Sodamint เป้าหมาย : ค่าความเป็น กรด-ด่าง ในเลือด 7.35 – 7.45 : ระดับด่างในเลือด 22 - 26 ติดตาม อาการแสดงของภาวะบวมน้ำ , HCO3- , PH เรื่องที่ 6 ภาวะเลือดเป็นกรด เป้าหมายของการรักษา คือ ควบคุม Ph ให้อยู่ระหว่าง 7.35-7.45 และระดับ bicarb ในเลือดอยู่ในระหว่าง 22-26 meq/L ยาที่ใช้กันทั่วไป คือ sodium bicarbonate หรือ sodamint ขนาดที่มีใช้กันอยู่ในตอนนี้ คือ เม็ดละ 300 mg โดยที่ sodamint 650 mg จะให้ bicarb ประมาณ 7.6 meq ของเราก็จะให้ bicarb ประมาณเม็ดละ 3.5 meq -ขนาด replacement dose คือขนาดที่ให้เสริมเพื่อแก้ acidosis สามารถคำนวณได้จากความต้องการ base ของร่างกายตามสูตร...................... เช่น ผู้ป่วยมีน้ำหนักตัว 60 กก วัดค่า serum bicarb ได้เท่ากับ 20 ค่า bicarb ที่ต้องการแก้ให้ถึง คือ 24 หน่วยเป็น meq ปริมาณ base ที่ต้องการ = 0.5 x 60 x (24-20) = 120 meq ก็จะต้องใช้ sodamint ประมาณ 16 เม็ด โดยให้ค่อยๆเสริมจนระดับ bicarb ขึ้นถึงระดับปกติ ใช้เวลาประมาณ 3-4 วัน ส่วน maintenance dose คือขนาดที่ต้องให้เพื่อการคง PH ให้ปกติไว้หลังจากแก้ภาวะ acidosis แล้ว แนะนำที่ประมาณ 10-20 meq/d หรือประมาณ 3-6 เม็ด สิ่งที่ต้องเฝ้าระวัง คือ อาจทำให้เกิดการคั่งของน้ำ และ sodium ในร่างกาย ซึ่งทำให้เกิดอาการบวม หรือภาวะหัวใจล้มเหลวได้

Hyperuricemia : Allopurinol เป้าหมาย : ระดับกรดยูริค ต่ำกว่า 6-7 ม.ก. เปอร์เซนต์ : ไม่มีก้อน Tophi ผลข้างเคียง แพ้ยา (ผื่น ไข้ ตับอักเสบ ฯ) เรื่องที่ 6 ภาวะเลือดเป็นกรด เป้าหมายของการรักษา คือ ควบคุม Ph ให้อยู่ระหว่าง 7.35-7.45 และระดับ bicarb ในเลือดอยู่ในระหว่าง 22-26 meq/L ยาที่ใช้กันทั่วไป คือ sodium bicarbonate หรือ sodamint ขนาดที่มีใช้กันอยู่ในตอนนี้ คือ เม็ดละ 300 mg โดยที่ sodamint 650 mg จะให้ bicarb ประมาณ 7.6 meq ของเราก็จะให้ bicarb ประมาณเม็ดละ 3.5 meq -ขนาด replacement dose คือขนาดที่ให้เสริมเพื่อแก้ acidosis สามารถคำนวณได้จากความต้องการ base ของร่างกายตามสูตร...................... เช่น ผู้ป่วยมีน้ำหนักตัว 60 กก วัดค่า serum bicarb ได้เท่ากับ 20 ค่า bicarb ที่ต้องการแก้ให้ถึง คือ 24 หน่วยเป็น meq ปริมาณ base ที่ต้องการ = 0.5 x 60 x (24-20) = 120 meq ก็จะต้องใช้ sodamint ประมาณ 16 เม็ด โดยให้ค่อยๆเสริมจนระดับ bicarb ขึ้นถึงระดับปกติ ใช้เวลาประมาณ 3-4 วัน ส่วน maintenance dose คือขนาดที่ต้องให้เพื่อการคง PH ให้ปกติไว้หลังจากแก้ภาวะ acidosis แล้ว แนะนำที่ประมาณ 10-20 meq/d หรือประมาณ 3-6 เม็ด สิ่งที่ต้องเฝ้าระวัง คือ อาจทำให้เกิดการคั่งของน้ำ และ sodium ในร่างกาย ซึ่งทำให้เกิดอาการบวม หรือภาวะหัวใจล้มเหลวได้

หลีกเลี่ยงสิ่งต่อไปนี้ ...... NSAIDs ยาล้างไต บำรุงไต ยาปฏิชีวนะ ยาแผนโบราณ สมุนไพร อาหารเสริม วิตามิน อื่นๆ Poly pharmacy เนื้อหาที่จะพูดในวันนี้ก็จะครอบคลุมในส่วนของยาที่ใช้รักษาภาวะความผิดปกติต่างๆที่จะเกิดกับผู้ป่วย ได้แก่ ยาที่ใช้ควบคุมความดันโลหิตและระดับโปรตีนในปัสสาวะ ยาที่ใช้ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ยาที่ใช้ควบคุมภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ยาที่ใช้รักษาภาวะโลหิตจางในโรคไตเรื้อรัง ยาที่ใช้ในการรักษาความผิดปกติเกี่ยวกับสมดุลน้ำและเกลือแร่ ได้แก่ สมดุลของน้ำและ sodium ยาที่ใช้รักษาภาวะ potassium ในเลือดสูง ยาที่ใช้รักษาภาวะเลือดเป็นกรด และ ยาที่ใช้ในการควบคุมภาวะความผิดปกติของกระดูกในโรคไตเรื้อรัง หรือ ROD และภาวะ parathyroid hormone ในเลือดสูง