หมวดที่ 1 การนำองค์กรและการ จัดการที่ดี การจัดการการเงินและบัญชี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
การจัดซื้อจัดจ้าง.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 20 พนักงาน ราชการ 55 ลูกจ้างประ จำ 10 รวม 35 อัต รา ข้าราชการ 3 ตำแหน่ง อัตราว่าง - มาช่วย ราชการ - ไปช่วย ราชการ 2 (1. นางศรินทร์
ค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไป ฝึกอบรมใน ประเทศ ค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไป ฝึกอบรมใน ประเทศ งานบัญชีและการเงิน สำนัก ชลประทานที 17.
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
การดำเนินงานโครงการ เมื่อได้รับอนุมัติงบประมาณ
ค่าใช้สอยในการเดินทางไปราชการ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
คู่มือการยืมเงินราชการและเงินทด รองราชการ วัตถุประสงค์ การยืมเงินราชการและเงินทดรอง ราชการ เป็นกระบวนการหนึ่งของการเบิก จ่ายเงินจากคลัง คู่มือการปฏิบัติงานเรื่อง.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
แนวทางการบริหารจัดการ และการเบิกจ่าย งบประมาณ ปี 2559 โดย ฝ่ายบริหารทั่วไป สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง.
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี. สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี ลำ ดับ หลักสูตร คน : รุ่น ว / ด / ป ที่ ดำเนินการ 1.ข้าราชการใหม่40.
KM การเบิกจ่ายโครงการ กลุ่ม 3 1. นายณัฐกร ตุ้ยทา 2. นางสาวอภิวันท์ สิ้มศรีสุข 3. นางสาวศิริกาญจน์ กิตติชยานนท์
สรุปค่าใช้จ่าย ปี 59 (งบ สป.สาธารณสุข) ณ 23 ก.ย.59
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
ปัญหาที่เกิดขึ้น เข้าใจไม่ถูกต้อง ระหว่างประชุมราชการ กับ ประชุมเชิงปฏิบัติการ เชิญผู้เชี่ยวชาญมาประชุม ต้องจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรให้ ถูกทักท้วงจาก ผู้ตรวจสอบภายใน.
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การเบิกจ่ายเงิน ตามโครงการฝึกอบรม
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
ข้อสังเกตจากการตรวจสอบเอกสาร
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ประชุมชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงาน
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
โดย นางสุลัดดา บุญรักษ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หมวดที่ 1 การนำองค์กรและการ จัดการที่ดี 1.3.1 การจัดการการเงินและบัญชี รพ.สต.ติดดาว หมวดที่ 1 การนำองค์กรและการ จัดการที่ดี 1.3.1 การจัดการการเงินและบัญชี

เอกสารประกอบการรับประเมิน รพ.สต.ติดดาว 1. คำสั่งที่เกี่ยวข้อง 1.1 คำสั่งคณะกรรมการเก็บรักษาเงิน ของหน่วยงาน 1.2 คำสั่งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบเบิก จ่ายเงินและถอนเงิน 1.3 คำสั่งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงาน การเงิน

2. แผนการใช้เงินบำรุง 1. ดูรายได้และค่าใช้จ่ายจากงบการเงินปีที่ แล้ว 2. ประมาณการรายได้และค่าใช้จ่ายปีที่แล้ว ที่ได้รับและจ่ายไป 3. ดูเงินบำรุงของหน่วยบริการว่ามียอด คงเหลือเท่าใด 4. จัดทำแผนเงินบำรุงปีปัจจุบัน 5. รายละเอียดประกอบต้องตรงกับแผนและ ไม่ควรเกินเงินบำรุง ที่หน่วยบริการมีอยู่

3. บัญชีการควบคุมการรับ - จ่ายเงิน 1. สมุดเงินสด (401) 2. ทะเบียนคุมเงินนอกงบประมาณ (404) 3. ทะเบียนคุมลูกหนี้เงินยืม (406) 4. รายงานเงินคงเหลือประจำวัน (407) หมายเหตุ จัดทำให้เป็นประจำทุกวัน กรรมการลงนามครบ ตรวจสอบรายการ ยอดเงินคงเหลือในสมุดเงินสด (401) ทะเบียน คุมเงินนอกงบประมาณ (404) กับรายงานเงิน คงเหลือประจำวัน (407) มียอดคงเหลือตรงกัน

4. การจัดทำบัญชีเกณฑ์คงค้าง 1. จัดทำงบการเงินเป็นไปตามนโยบายกระทรวง สาธารณสุข 2. จัดส่งงบการเงินเข้าเวป.สพค.ภายในวันที่ 25 ของ เดือนถัดไป 3. มีคะแนนคุณภาพบัญชี 50 คะแนน 4. จัดทำงบการเงินพร้อมเอกสารประกอบเสนอ ผู้บังคับบัญชาประจำเดือน 5. จัดทำงบเทียบยอดเงินฝากธนาคาร 6. จัดพิมพ์เอกสารประจำเดือนและจัดเก็บเพื่อรอการ ตรวจสอบ 6.1 บัญชีแยกประเภททั่วไป 6.2 ใบสำคัญการบันทึกบัญชีด้านรับ-จ่าย-ทั่วไป 6.3 สมุดรายวันด้านรับ-จ่าย-ทั่วไป

5. การควบคุมและการรายงานใบเสร็จรับเงิน 1 ทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงิน 2. รายงานสรุปผลการใช้ ใบเสร็จประจำปี (ภายในวันที่ 15 ตุลาคม ของ ทุกปี)

6. เอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงิน (จัดซื้อ/จัดจ้าง) 6. เอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงิน (จัดซื้อ/จัดจ้าง) ถูกต้องเป็นปัจจุบัน จัดเก็บเรียบตามลำดับของวันที่ จ่ายเงิน 1. รายงานขอซื้อ/จ้าง มี 2 กรณี ดังนี้ 1.1 ลงนามบันทึกเป็นหัวหน้ารพ.สต. ต้องเรียนสาธารณสุขอำเภอ 1.2 ลงนามโดยเจ้าหน้าที่รพ.สต. ต้องเรียน หัวหน้ารพ.สต. 2. บันทึกขออนุมัติซื้อ/จ้าง เรียน ผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ ลงนาม สาธารณสุขอำเภอ ปฏิบัติราชการแทนผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ 3. บันทึกขออนุมัติจ่ายเงิน มี 2 กรณี ดังนี้ 3.1 กรณีอยู่ในวงเงินที่มีอำนาจจ่าย เรียน หัวหน้ารพ.สต. ลงนาม เจ้าหน้าที่รพ.สต. อนุมัติโดย ตำแหน่งหัวหน้ารพ.สต. (ไม่ต้องมีปฏิบัติราชการแทน) 3.2 กรณีไม่อยู่ในวงเงินที่มีอำนาจจ่าย เรียน สสอ. ลงนาม หัวหน้ารพ.สต. อนุมัติโดย ตำแหน่งสสอ. (ไม่ต้องมีปฏิบัติราชการแทน)

7. รับการตรวจสอบภายใน รับการตรวจสอบภายใน จากคณะกรรมการตรวจสอบภายใน ปีละ 2 ครั้ง - หนังสือแจ้งผลการ ตรวจสอบของ คณะกรรมการและการตอบกลับการ แก้ไขตาม ข้อเสนอแนะ จำนวน 2 ครั้ง

วงเงินบำรุงที่เก็บรักษา ตามหนังสือที่ สธ 0212/5190 ลว 23พย.2543 วงเงินบำรุงที่เก็บรักษา ตามหนังสือที่ สธ 0212/5190 ลว 23พย.2543 ลำดับ หน่วยงาน เงินสด เงินฝากธนาคาร พานิชย์ ฝากคลัง 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 10,000 500,000 เงินฝากส่วนเกิน 500,000 นำฝากคลังทั้งจำนวน 2 โรงพยาบาลศูนย์ 2,500,000 ส่วนเกิน 250,0000 นำฝากคลังทั้งจำนวน 3 โรงพยาบาลทั่วไป 1,500,000 ส่วนเกิน 150,0000 นำฝากคลังทั้งจำนวน 4 โรงพยาบาลชุมชน 1,000,000 ส่วนเกิน 1,000,000 นำฝากคลังทั้งจำนวน 5 รพ.สต.   ในท้องที่ที่มีธนาคาร 5,000 ส่วนเกิน 500,000 นำฝากคลังทั้งจำนวน ในท้องที่ที่ไม่มีธนาคาร 6 เงินบำรุงที่เกินวงเงินซึ่งเดิมเคยได้รับอนุญาตให้ฝากธนาคารประเภทประจำเพื่อหาดอกผล ให้นำฝากคลังทั้งจำนวน 7 เงินบริจาค เงินช่วยเหลือต่างประเทศ และเงินค้ำประกันสัญญาต่าง ๆ ให้นำกลับฝากคลังทั้งจำนวน

คำสั่งสป.ที่ 2999/2559 เรื่อง มอบอำนาจในการอนุมัติจ่ายเงินบำรุงหน่วยบริการ ลว. 30 กย.59 ลำดับ ตำแหน่ง จำนวน 1 ผอ.รพ.สต. หรือผอ.สอ.เฉลิมพระเกียรติ์ ครั้งหนึ่งไม่เกิน 100,000 บาท 2 สาธารณสุขอำเภอ ครั้งหนึ่งไม่เกิน 500,000 บาท 3 ผอ.วิทยาลัยในสังกัดพระบรมราชชนกหรือผอ.รพ.ชุมชน ครั้งหนึ่งไม่เกิน 2,000,000 บาท 4 ผอ.รพ.ศูนย์ หรือผอ.รพ.ทั่วไป ครั้งหนึ่งไม่เกิน 5,000,000 บาท 5 นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ครั้งหนึ่.ไม่เกิน 10,000,000 บาท 6 ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ครั้งหนึ่งเกินกว่า 1,000,000 บาท แต่ไม่เกิน 20,000,000 บาท

คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ที่ 115/2553 เรื่อง การมอบอำนาจในการอนุมัติยืมเงินบำรุง ลำดับ ตำแหน่ง จำนวน 1 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลทุกแห่ง ครั้งหนึ่งไม่เกิน 500,000 บาท 2 สาธารณสุขอำเภอทุกแห่ง ครั้งหนึ่งไม่เกิน 100,000 บาท

คำสั่งจังหวัดศรีสะเกษที่ 5359/2560 ลว 25 ธค คำสั่งจังหวัดศรีสะเกษที่ 5359/2560 ลว 25 ธค. 2560 เรื่อง มอบอำนาจการอนุมัติ การสั่งซื้อ/สั่งจ้าง รวมทั้งดำเนินการตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 มอบอำนาจให้แก่ นพ.สสจ. ผอ.รพ.ศรีสะเกษ ผอ.รพช และสสอ. ดังนี้ ลำดับ ส่วนราชการ อำนาจหน้าที่ 1 นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ อนุมัติการสั่งซื้อ/จ้าง ครั้งหนึ่งในวงเงินไม่เกิน 20,000,000 บาท 2 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศรีสะเกษ อนุมัติการสั่งซื้อ/จ้าง ครั้งหนึ่งในวงเงินไม่เกิน 15,000,000 บาท 3 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชน อนุมัติการสั่งซื้อ/จ้าง ครั้งหนึ่งในวงเงินไม่เกิน 10,000,000 บาท 4 สาธารณสุขอำเภอ อนุมัติการสั่งซื้อ/จ้าง ครั้งหนึ่งในวงเงินไม่เกิน 500,000 บาท

กำหนดจ่ายคืนเมื่อ วัน เดือน ปี (5) ทะเบียนคุมเงินมัดจำประกันสัญญา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล...................... อำเภอ.....................................จังหวัด..................................... วัน เดือน ปี (1)   เอกสารที่ (2) รายการ (3) จำนวนเงิน (4) กำหนดจ่ายคืนเมื่อ วัน เดือน ปี (5) รายการจ่ายคืน (6) หมายเหตุ ชื่อผู้รับเงิน

คำอธิบายการบันทึกรายการในช่องต่าง ๆ ของ ทะเบียนคุมเงินมัดจำประกันสัญญา มีดังนี้ ช่องที่ 1 วัน เดือน ปี ให้บันทึก วัน เดือน ปี ที่ลงรายการนั้น ช่องที่ 2 เอกสารที่ ให้บันทึก เอกสารที่เกิดรายการนั้น เช่น เลขที่ ใบเสร็จรับเงิน ใบสำคัญคู่จ่าย หรือใบโอน แล้วแต่กรณี ช่องที่ 3 รายการ ให้บันทึกรายการรับ หรือ จ่ายเงินมัดจำประกัน สัญญา ให้ทราบโดยย่อ แต่ละรายการ เช่น นาย ก. เงินมัดจำการก่อสร้างอาคาร นาย ข. เงินมัดจำการก่อสร้างบ้านพักข้าราชการ ฯลฯ ช่องที่ 4 จำนวนเงิน ให้บันทึกจำนวนเงินรับตามเอกสารนั้น ช่องที่ 5 กำหนดจ่าย คืน เมื่อ วัน เดือน ปี ให้บันทึก วัน เดือน ปี ที่ถึงกำหนดจ่ายคืนเงิน มัดจำ หรือเงินประกันของรายการนั้น ๆ ช่องที่ 6 รายการจ่าย คืน ให้บันทึกการจ่ายคืนเงินมัดจำ หรือเงินประกัน รายการนั้นว่า ได้จ่ายคืนเมื่อ วัน เดือน ปี ใด จำนวนเท่าใด และให้ผู้รับคืนเงินลง ลายมือชื่อรับเงินไว้ในช่องชื่อผู้รับเงิน

การใช้ใบเสร็จรับเงิน ลายมือชื่อ ผู้รับผิดชอ บ (รูปที่ 11) ทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงิน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล.............................. อำเภอ.................................จังหวัด.............................. วัน เดือน ปี รับจาก / จ่ายให้ จำนว น ที่ ได้รับ (เล่ม) ใบเสร็ จรับเงิ น เล่มที่ ถึง เล่มที่ การใช้ใบเสร็จรับเงิน ลายมือชื่อ ผู้รับผิดชอ บ เลขที่ ถึง เลขที่ วัน เดือนปี ที่เริ่ม ใช้ ที่ใช้ หมด (1) (2) (3) (4)  

ขั้นตอนการปฏิบัติงานสำหรับหน่วยงานและหน่วยบริการ ในการนำหลักประกันสัญญาฝากคลังและการถอนเงินหลักประกันสัญญา กับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ 1 หน่วยงานหรือหน่วยบริการรับเงินเป็นเงินสดหรือเช็คธนาคารสั่งจ่าย ดำเนินการ ดังนี้ 1. ออกใบเสร็จรับเงินให้กับบริษัท ห้างร้าน ที่วางหลักประกัน 2. กรณีเป็นเงินหลักประกันซอง เก็บรักษาแคชเชียร์เช็คในตู้นิรภัย เพื่อรอการจ่ายคืนไม่เกิน ๗ วัน นับจากวันที่รับเช็ค 3. กรณีเป็นเงินประกันสัญญา ให้นำส่งคลังในภายในเดือน (อย่างน้อยเดือนละครั้ง) 4. การนำเงินหลักประกันสัญญาส่งให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ศรีสะเกษ ฝากคลัง พร้อมแนบเอกสารประกอบการจัดส่ง ดังนี้ 4..1 หนังสือนำส่งเงินหลักประกันสัญญา 4.2 เงินสด/ เช็ค/ แคชเชียร์เช็ค/ตั๋วแลกเงิน 4.3 สำเนาสัญญา และ สำเนาใบเสร็จรับเงิน พร้อม รับรองสำเนาทุกฉบับ

หมายเหตุ 1. กรณีที่ บริษัท/ หจก. /ร้าน ใช้ แคชเชียร์เช็คเป็นเงินค้ำประกันสัญญาโดย ให้ระบุในแคชเชียร์เช็คว่า “จังหวัดศรีสะเกษ โดย สำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ” 2. กรณีที่โรงพยาบาล/ สสอ. ให้เขียน เช็คเงินหลักประกันสัญญาเพื่อนำฝากคลัง โดยให้ระบุว่า “กระทรวงการคลังผ่าน สำนักงานคลังจังหวัดศรีสะเกษ”

2 หน่วยงานหรือหน่วยบริการขอถอนเงินหลักประกันสัญญาที่นำ ฝากคลัง ดำเนินการ ดังนี้ 2.1 เจ้าหน้าที่ โรงพยาบาล/สสอ. มีหน้าที่ ตรวจสอบเอกสาร การขอคืนเงินหลักประกันสัญญาเมื่อสัญญาได้ครบกำหนดข้อผูกพัน ตามสัญญาแล้ว ตรวจสอบภาระข้อผูกพันตามสัญญา หากไม่มี ข้อบกพร่องใด ๆ ให้โรงพยาบาล/สสอ. จัดทำหนังสือแจ้ง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ เพื่อขอถอนหลักประกัน สัญญาคืน พร้อมแนบเอกสารประกอบ ดังนี้ 1 หนังสือนำส่ง (ขอถอนหลักประกันสัญญา) เอกสาร ๑ 2 หนังสือแจ้งขอถอนเงินประกันสัญญาจากผู้ขาย/ผู้รับ จ้าง 3 สำเนาใบเสร็จรับเงิน 4. สำเนาสัญญาจ้าง 5. สำเนาใบตรวจรับ/ใบส่งมอบงาน 6.บันทึกแจ้งผลการตรวจสอบสิ่งที่ตรวจรับว่าไม่มีความ บกพร่อง หรือเสียหาย เอกสาร ๒ 7. ใบเบิกเงินเพื่อจ่ายในราชการ

๒.๒ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรี สะเกษ ได้รับเอกสารครบถ้วน ถูกต้อง จะ ดำเนินการเบิกถอนเงินหลักประกันสัญญาที่นำ ฝากคลังคืนให้โรงพยาบาล/สสอ. เพื่อคืน ให้แก่ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ต่อไป

เอกสารประกอบการยืมเงินราชการ 1 ยืมเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการอื่น ๆ (ผู้เดินทางเป็นผู้ยืมเท่านั้น) 1 บันทึกขออนุมัติยืมเงิน พร้อมประมาณการค่าใช้จ่ายโดย แยกรายละเอียดรายการค่าใช้จ่ายทุกรายการ ไม่ใช่สรุปเป็น จำนวนรวม (ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะและค่าใช้จ่าย อื่น เป็นต้น) ผู้ยืมเป็นผู้ลงนาม 2 สัญญาการยืมเงิน จำนวน 2 ฉบับ (ลงชื่อผู้ยืม/ ผู้รับเงิน และวันเดือนปีที่ยืมและที่รับเงิน) 3 ต้นเรื่องของการขออนุมัติเดินทาง เช่น หนังสือสั่งการ/ หนังสือเชิญประชุม 4 สำเนาบันทึกขออนุมัติเดินทางไปราชการ 5 กำหนดส่งใช้เงินยืมภายใน 15 วัน นับจากวันเสร็จสิ้น การปฏิบัติงาน (เอกสารที่ถ่ายสำเนาให้รับรองสำเนาถูกต้องทุกฉบับ)

2 ยืมเพื่อใช้ในการฝึกอบรม/จัดประชุมเชิง ปฏิบัติการ 1. บันทึกขออนุมัติยืมเงิน พร้อมประมาณการค่าใช้จ่าย ตามโครงการโดยแยก- รายละเอียดรายการค่าใช้จ่ายทุกรายการ ไม่ใช่สรุปเป็น จำนวนรวม (ค่าอาหารกลางวัน/อาหารว่างและเครื่องดื่ม/ค่า วิทยากร/ค่าวัสดุ/ค่าถ่ายเอกสาร หรือค่าถ่ายเอกสารพร้อมเข้า เล่ม เป็นต้น ) ค่าใช้จ่ายควรระบุประเภทให้ชัดเจน ไม่ควร ใช้คำว่าค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ผู้ยืมเป็นผู้ลงนาม 2 สัญญาการยืมเงิน จำนวน 2 ฉบับ (ลงชื่อผู้ยืม/ผู้รับเงิน และวันเดือนปีที่ยืมและที่รับเงิน) 3 สำเนาโครงการที่ได้รับการอนุมัติแล้ว 4 สำเนาบันทึกขออนุมัติจัดอบรม/ประชุมเชิงปฏิบัติการ/ สัมมนา 5 กำหนดการอบรม/ประชุมเชิงปฏิบัติการ 6 กำหนดการส่งใช้เงินยืมภายใน 15 วัน นับจากวันที่ ได้รับเงิน (เอกสารที่ถ่ายสำเนาให้รับรองสำเนาถูกต้องทุกฉบับ)

3 ยืมเพื่อใช้ในการจัดประชุมราชการ 1 บันทึกขออนุมัติยืมเงิน พร้อมประมาณการค่าใช้จ่ายโดยแยก รายละเอียดรายการค่าใช้จ่ายทุกรายการ ไม่ใช่สรุปเป็นจำนวนรวม (ค่าอาหารกลางวัน/อาหารว่างและเครื่องดื่ม/ค่าวัสดุ/ค่าถ่ายเอกสาร หรือค่าถ่ายเอกสารพร้อมเข้าเล่ม เป็นต้น ) ค่าใช้จ่ายควรระบุ ประเภทให้ชัดเจน ไม่ควรใช้คำว่าค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ผู้ยืมเป็นผู้ลง นาม 2 สัญญาการยืมเงิน จำนวน 2 ฉบับ (ลงชื่อผู้ยืม/ผู้รับ เงินและวันเดือนปีที่ยืมและที่รับเงิน) 3 บันทึกขออนุมัติจัดประชุม 4 หนังสือเชิญประชุม 5 วาระการประชุม 6 หนังสือสั่งการ/โครงการ (ถ้ามี) 7 กำหนดการส่งใช้เงินยืมภายใน 15 วัน นับจากวันที่ได้รับ เงิน (เอกสารที่ถ่ายสำเนาให้รับรองสำเนาถูกต้องทุกฉบับ)

การส่งใช้เงินยืม 1 กรณีการเดินทางไปราชการในประเทศ 1 บันทึกข้อความขออนุมัติส่งใช้เงินยืมและเบิกจ่ายเงิน ลงนามโดยผู้ยืม 2 หน้างบจำนวน 2 ฉบับ 3 ใบเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (8708) กรณีเดินทางคนเดียวให้ใช้ส่วนที่ 1 อย่างเดียว สำหรับกรณี เดินทางเป็นหมู่คณะให้ใช้ส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2 4 บันทึกขออนุมัติเดินทางไปราชการ (ต้นฉบับ) 5 กรณีเบิกค่าธรรมเนียมผ่านทาง (ต้องเป็นรถราชการ เท่านั้นจึงจะเบิกได้) 5.1 ใบขออนุมัติให้ใช้รถส่วนกลาง 5.2 ใบเสร็จรับเงินค่าทางด่วน ต้องเป็นวันเดือนปี เดียวกับวันที่ขอรถเดินทางไปและ ทางด่วนที่ใช้ต้องเป็นทางเดียวกันกับสถานที่ขอรถยนต์

8 หนังสือสั่งการ/หนังสือเชิญประชุม/โครงการ 6 การจ่ายเงินที่ไม่อาจเรียกใบเสร็จรับเงินได้ ให้ผู้ จ่ายเงินใช้ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงินแบบ บก. 111 7 ใบเสร็จรับเงินต้องมีรายละเอียดตามที่กระทรวงการคลัง กำหนด ดังนี้ 7.1 ชื่อ สถานที่อยู่หรือที่ทำการของผู้รับเงิน 7.2 วัน เดือน ปี ที่รับเงิน 7.3 รายการแสดงการรับเงินระบุว่าเป็นค่าอะไร 7.4 จำนวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษร 7.5 ลายมือชื่อผู้รับเงิน 8 หนังสือสั่งการ/หนังสือเชิญประชุม/โครงการ

2. กรณีการฝึกอบรม/สัมมนา/ประชุม เชิงปฏิบัติการ 1 บันทึกข้อความขออนุมัติส่งใช้เงินยืมและเบิกจ่ายเงิน ลงนามโดยผู้ยืม 2 หน้างบจำนวน 2 ฉบับ 3 แบบใบแจ้งรายการค่าใช้จ่าย 4 บันทึกขออนุมัติจัดอบรม/กำหนดการอบรม/หนังสือแจ้ง เข้ารับการอบรม 5 ทะเบียนลงลายมือชื่อผู้เข้ารับการฝึกอบรม 6 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ/อบรม/สัมมนา 7 รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ/อบรม/สัมมนา 8 หนังสือขออนุมัติเดินทางไปประชุมปฏิบัติการ/อบรม/ สัมมนา (กรณีเดินทางไป ต่างจังหวัด) หรือหนังสือขออนุมัติรายชื่อผู้เข้าร่วมอบรมกรณี อบรมภายในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หรือ โรงแรม ภายในจังหวัด (กรณี ไป-กลับ)

9 หนังสือเชิญวิทยากรพร้อมหนังสือตอบรับ 9 9 หนังสือเชิญวิทยากรพร้อมหนังสือตอบรับ 9.1 กรณีหน่วยงานรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ค่าที่พัก ค่าพาหนะ จะต้องระบุในหนังสือเชิญว่า ทางผู้จัดได้ รับผิดชอบค่าใช้จ่ายดังกล่าวให้กับวิทยากรด้วย 9.2 กรณีวิทยากรที่เชิญไม่สามารถมาเป็นวิทยากรได้ ต้องมีหนังสือแจ้งให้ผู้จัดว่าได้มอบใครเป็นวิทยากรแทน จึงจะ สามารถเบิกจ่ายค่าวิทยากรได้ (ให้แนบหลักฐานการมอบหมาย) 10 ใบสำคัญรับเงินวิทยากร (ตามแบบที่กำหนด) 1 ระบุเป็นค่าสมนาคุณวิทยากร ในวันที่ เดือน ปี เวลาจาก - ถึงเวลา เป็นกี่ชั่วโมง ๆ ละเท่าไร รวมเป็นเงิน (การ ระบุเวลาต้องตรงกับกำหนดการอบรมด้วย) 2 กรณีที่หน่วยงานรับรองค่าที่พักและค่าพาหนะวิทยากร ต้องระบุในโครงการด้วย และบันทึกค่าพาหนะวิทยากรในใบสำคัญ รับเงินค่าวิทยากร ส่วนค่าเช่าที่พักให้ใช้ใบเสร็จรับเงินเป็นหลักฐาน การจ่าย 3 กรณีวิทยากรเป็นบุคลากรของรัฐ จะต้องแนบบันทึกขอ อนุมัติไปราชการจากต้นสังกัดมาแนบด้วย

11 ใบเสร็จรับเงินค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม (ประกอบด้วย) 11 ใบเสร็จรับเงินค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม (ประกอบด้วย) 1 ชื่อ สถานที่อยู่ หรือที่ทำการของผู้รับเงิน 2 ชื่อสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ (เป็นผู้จ่าย) 3 วัน เดือน ปี ที่รับเงิน 4 รายละเอียดค่าอาหาร จำนวนคน มื้อละ วันละ 5 จำนวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษร 6 ลายมือชื่อผู้รับเงิน/ผู้จ่ายเงิน 12 ใบเสร็จรับเงินค่าเช่าที่พัก 4 รายละเอียดที่พัก (จำนวนห้องพักคู่หรือเดี่ยว กี่ห้อง ราคาห้องละเท่าไร) 6 ลายมือชื่อผู้รับเงิน

1 ชื่อโรงแรมและสถานที่ตั้ง ซึ่งได้จด ทะเบียนตามกฏหมาย 13 ใบแจ้งรายการโรงแรม (Folio) 1 ชื่อโรงแรมและสถานที่ตั้ง ซึ่งได้จด ทะเบียนตามกฏหมาย 2 ชื่อและนามสกุลผู้เช่าห้องพัก 3 จำนวนผู้ที่เช่าพักในห้องที่เช่า 4 อัตราค่าเช่าที่พัก 5 รายละเอียดของรายการค่าใช้จ่ายซึ่งผู้ เช่าห้องพักใช้บริการ 6 วันเดือนปี และเวลาที่เช่าพักและยกเลิก การเช่าพัก 14 ภาพถ่ายกิจกรรม 15 เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี)

3 กรณีการประชุมราชการ 1 บันทึกข้อความขออนุมัติส่งใช้เงินยืมและเบิก จ่ายเงิน ลงนามโดยผู้ยืม 2 บันทึกข้อความขออนุมัติจัดประชุม 3 หนังสือเชิญประชุม 4 รายงานการประชุม 5 ลายมือชื่อผู้เข้าร่วมประชุม/หนังสือรับรองการ ประชุม 6 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กรณีเป็นการ ประชุมคณะกรรมการ 7 ใบเสร็จรับเงิน/ใบสำคัญรับเงิน 8 เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี)

ขั้นตอนการส่งใช้เอกสารใบสำคัญ (หักล้างเงินยืม) 1 ผู้ยืมส่งเอกสารหักล้างเงินยืมให้งาน การเงิน เพื่อบันทึกในระบบงบประมาณ/นอก งบประมาณ 2. งานการเงินตรวจสอบเอกสารหลักฐาน เกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นไปตามระเบียบ ซึ่งแยกเป็น 2 กรณี ดังนี้

1 กรณีพบข้อผิดพลาด เจ้าหน้าที่การเงินผู้ตรวจสอบ จะแจ้งข้อทักท้วง ให้ปฏิบัติตามข้อทักท้วงภายใน 15 วัน นับ จากวันที่ได้รับทราบข้อทักท้วง (หากพ้นกำหนด งานการเงินจะ ดำเนินการ ตามเงื่อนไขในสัญญายืม โดยถือว่าผู้ยืมยัง ไม่ได้ส่งใช้เงินยืมเท่าจำนวนทักท้วง) และหากได้รับการแก้ไข ตามข้อทักท้วงเรียบร้อยแล้ว จึงจะดำเนินการเสนอหลักฐาน เอกสารให้ผู้มีอำนาจอนุมัติ 2 กรณีไม่พบข้อผิดพลาด เจ้าหน้าที่การเงินผู้ตรวจสอบ หลักฐาน จะดำเนินการ เสนอหลักฐานเอกสารให้ผู้มี อำนาจอนุมัติ 3 กรณีรับเอกสารจะออกใบรับใบสำคัญ หรือถ้าเป็น เงินสดด้วย (ถ้ามี) จะออก ใบเสร็จรับเงิน ให้กับผู้ยืม และส่งสำเนาเอกสาร การรับคืนให้กับเจ้าหน้าที่บัญชีเพื่อบันทึกรายการประจำวัน 4. จัดเก็บเอกสารหลักฐาน เพื่อรอการตรวจสอบ

อัตราค่าที่พัก กรณีการไปราชการ ระดับ ห้องพักคนเดียว ห้องพักคู่ หลักเกณฑ์ ระดับ 10 ขึ้นไป 2,500 1,400 สิทธิพักเดี่ยวหรือพักคู่ ระดับ 9 2,200 1,200 ระดับ 8 ลงมา 1500 850 เดินทางเป็นหมู่คณะให้พักรวมกันสองคนขึ้นไป/ห้อง

อัตราค่าเช่าที่พักในการฝึกอบรม ประเภทการอบรม ค่าเช่าห้องพักคนเดียว (บาท/คน/วัน) ค่าเช่าพักห้องคู่ 1 การฝึกอบรมประเภท ก 2 การฝึกอบรมประเภท ข และการฝึกอบรมบุคคลภายนอก   ไม่เกิน 2,400 ไม่เกิน 1,450 ไม่เกิน 1,300 ไม่เกิน 900

อัตราค่าสมนาคุณวิทยากร กรณี วิทยากรเป็นบุคลากรของรัฐ การฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกินชั่วโมงละ 800 บาท   การฝึกอบรมประเภท ข การฝึกอบรมบุคคลภายนอก ไม่เกินชั่วโมงละ 600 บาท

กรณี วิทยากรไม่เป็นบุคลากรของรัฐ การฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกินชั่วโมงละ 1,600 บาท   การฝึกอบรมประเภท ข การฝึกอบรมบุคคลภายนอก ไม่เกินชั่วโมงละ 1,200 บาท

ค่าสมนาคุณวิทยากร บรรยาย ไม่เกิน 1 คน อภิปราย/สัมมนาเป็นคณะ ไม่เกิน 5 คน แบ่งกลุ่ม – ฝึกภาคปฏิบัติ - อภิปราย - ทำกิจกรรม ไม่เกินกลุ่มละ 2 คน

แนวทางการจัดทำโครงการ โครงการฝึกอบรม มีหลักเกณฑ์ในการเขียนครบทุก ข้อ ดังนี้ 1. ต้องมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลากร/เพิ่ม ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน 2. มีหลักสูตร/ช่วงเวลาจัดที่แน่นอน 3. มีวิทยากรให้ความรู้โดยจะเบิกค่าวิทยากรหรือไม่ ก็ได้ 4. ต้องไม่ได้รับปริญญา หรือประกาศนียบัตร วิชาชีพ 5. ต้องไม่เป็นหลักสูตรการเรียนการสอนในการจัด การศึกษา 6. ต้องไม่เป็นการประชุมราชการ

แนวทางการเขียนโครงการฝึกอบรม 1. ชื่อโครงการฝึกอบรมหรือหลักสูตรที่ใช้ในการอบรม - ให้ระบุชื่อโครงการตามความเหมาะสม มีความหมาย ชัดเจนดึงดูดความสนใจ และเฉพาะเจาะจงว่าจะทำอะไร 2 หลักการและเหตุผล - เป็นการแสดงถึงปัญหาความจำเป็น และความสำคัญ ของโครงการ เพื่อที่จะสนับสนุนต่อไปให้ชี้แจง รายละเอียดของปัญหาและความจำเป็นที่เกิดขึ้นที่จะต้อง แก้ไข ตลอดจนชี้แจงถึงผลประโยชน์ที่จะได้รับจากการ ดำเนินงานตามโครงการและหากเป็นโครงการที่จะ ดำเนินการตามนโยบาย หรือสอดคล้องกับแผนจังหวัด หรือแผนอื่น ๆ ก็ควรชี้แจงด้วย เพื่อให้ผู้อนุมัติ โครงการได้เห็นประโยชน์ของโครงการกว้างขวางขึ้น

3 วัตถุประสงค์ - การเขียนวัตถุประสงค์ต้องเขียนให้ตรงกับปัญหาว่า ระบุไว้เพื่อแสดงให้เห็นถึงจุดมุ่งหมายที่จะแก้ปัญหา นั้นๆ และต้องกำหนดวัตถุประสงค์ในสิ่งที่เป็นไปได้ สามารถวัดได้ (โดยต้องมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา บุคคลหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ตาม ระเบียบการฝึกอบรม) คือมุ่งเน้นให้เกิดความรู้แก่ผู้เข้า รับการอบรม (วัตถุประสงค์ต้องสัมพันธ์กับตัวชี้วัด) 4 กลุ่มเป้าหมาย ระบุบุคคลหรือเจ้าหน้าที่ที่จะเข้าร่วมโครงการ ควรระบุ จำนวนกลุ่มเป้าหมายให้สัมพันธ์กับงบประมาณที่ขอ เบิกจ่าย เช่น เจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดศรีสะเกษ/โรงพยาบาลชุมชน/สำนักงาน สาธารณสุขอำเภอทุกแห่ง จำนวน 300 คน เป็นต้น

5 วิธีดำเนินการ - แสดงขั้นตอนภารกิจที่จะต้องทำให้การดำเนินงานตาม โครงการและระยะเวลาในการปฏิบัติแต่ละขั้นตอน เพื่อเป็นแนวทางในการพิจารณาความเป็นไปได้ของ โครงการและบรรลุตามวัตถุประสงค์ (ควรระบุให้ ชัดเจนว่าเป็นกิจกรรมลักษณะใด เช่น การฝึกอบรม การประชุมเชิงปฏิบัติการ เป็นต้น) 6 วิทยากร - ระบุว่ามาจากที่ใด ส่วนราชการหรือเอกชน หรือ จากหน่วยงานในสังกัดสำนักงาน สาธารณสุขจังหวัด และหลักสูตรที่ฝึกอบรมใน โครงการ ระบุให้ชัดเจน (จะเบิกค่าวิทยากรหรือไม่ก็ ได้)

7 ระยะเวลาดำเนินการ - ระบุเวลาที่เริ่มต้นและสิ้นสุดโครงการ (ไม่เกินปีงบประมาณ) 8 สถานที่จัด - ควรระบุให้ตรงกับบันทึกขออนุมัติจัด อบรม

9 งบประมาณ - แสดงยอดรวมงบประมาณทั้งหมดที่ใช้ในการดำเนินโครงการ แหล่ง ของเงิน และแยกรายละเอียดค่าใช้จ่ายที่ชัดเจนตามประเภทหรือหมวด รายจ่ายว่าเป็นค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง ระบุอัตราให้สัมพันธ์กับกลุ่มเป้าหมาย และงบประมาณที่มี เช่น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษได้รับ งบประมาณจากแผนงาน ....................................... งบดำเนินงาน โครงการ............................. รหัสผลผลิต ....................จำนวนเงิน ........... บาท (.....................) เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดอบรม ...................................................... รายละเอียดค่าใช้จ่าย ดังนี้ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 300 คน 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 300 คน 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 600 บาท ค่าวัสดุสำนักงาน จำนวน 3,000 บาท ค่าจ้างเหมาถ่ายเอกสารพร้อมเข้าเล่ม จำนวน 300 เล่ม ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 10,500 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 59,100 บาท (ห้าหมื่นเก้าพันหนึ่งร้อยบาทถ้วน)

10 การประเมินผลโครงการ 11 ผลที่คาดว่าจะได้รับ - เพื่อบอกแนวทางว่าการติดตามประเมินผลควรทำ อย่างไรในระยะเวลาใดและใช้วิธีการอย่างไรจึงจะ เหมาะสม ซึ่งผลของการประเมินสามารถนำมาพิจารณา ประกอบการดำเนินการ เตรียมโครงการที่คล้ายคลึงหรือ เกี่ยวข้องในเวลาต่อไป 11 ผลที่คาดว่าจะได้รับ - เป็นการระบุประโยชน์ที่คิดว่าจะได้จากความสำเร็จเมื่อ สิ้นสุดโครงการ ทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณและต้อง สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ (ตัวชี้วัด) เช่น ผู้เข้ารับการ อบรมมีความรู้ และนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนางานให้เกิด ประสิทธิภาพ ฯลฯ

12 ผู้รับผิดชอบโครงการ - เป็นการระบุเพื่อให้ทราบว่าหน่วยงานใดเป็น เจ้าของหรือรับผิดชอบโครงการ ระบุเป็นชื่อ บุคคลหรือกลุ่มงานผู้รับผิดชอบ 13 ผู้เสนอโครงการ, ผู้เห็นชอบโครงการ, และ ผู้อนุมัติโครงการ ข้อสังเกต 1. การจัดอบรม จะมีค่าวิทยากร แต่จะไม่มี ค่าจัดบูท 2. การจัดประชุม จะไม่มีค่าวิทยากรและค่า จัดบูท 3. การจัดงาน จะมีค่าจัดบูท แต่ไม่มีค่า วิทยากร

โดย นางเสาวคนธ์ ไตรพิพัฒน์ นักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการ สวัสดี โดย นางเสาวคนธ์ ไตรพิพัฒน์ นักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการ