Case study 54 Facilitator: Pawin Puapornpong.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
Facilitator: Pawin Puapornpong
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
Birth asphyxia Pakamas Srisuvunrat.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
โครเมี่ยม (Cr).
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Prolapsed cord.
Facilitator: Pawin Puapornpong
Assoc. Prof. Pawin Puapornpong
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Case study 52 Facilitator: Pawin Puapornpong.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin puapornpong
นางสาวมูนีเราะ สุจรูญ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism)
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
โรคที่เกิดจากความผิดปกติ บนออโตโซม (Autosome)
Facilitator: Pawin Puapornpong
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
Facilitator: Pawin Puapornpong
แนวทางการดูแล Very High Risk Pregnancy ตาม Udon model 7 Step
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ขดลวดพยุงสายยาง.
รู้เรื่องยา แท้งปลอดภัย
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
มั่นใจเชื่อถือได้ เหรียญ+ป้าย ลูกของแม่
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Case study 54 Facilitator: Pawin Puapornpong

Profile Case: หญิงตั้งครรภ์ อายุ 44 ปี G2P1A0 GA 37+2 weeks by ultrasonography Chief Complaint: มีน้ำไหลออกจากช่องคลอด 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล

Present illness 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล (4.00 น.) ผู้ป่วยสังเกตว่ามีน้ำสีเขียวปนมูกเลือดไหลออกมาจากช่องคลอด เปียกเต็มผ้าถุง ขณะอยู่ในท่านอน กลั้นไม่ได้ ไม่มีกลิ่นเหม็น แล้วจึงมีอาการปวดท้อง ลักษณะปวดหน่วง ร้าวไปหลัง ปวดถี่ขึ้นเรื่อยๆ ร่วมกับมีท้องแข็งนานประมาณ 3 นาที ห่างกันทุก 10 นาที ไม่คันบริเวณช่องคลอด ปัสสาวะไม่เล็ด ไม่แสบขัด ไม่เป็นฟอง ปัสสาวะสีเหลืองปกติ ไม่มีไข้ ทารกในครรภ์ดิ้นปกติดี ไม่มีประวัติอุบัติเหตุก่อนหน้านี้ ไม่แน่นหน้าอก หรือจุกแน่นลิ้นปี่ ไม่วิงเวียนหรือใจสั่น ไม่คลื่นไส้อาเจียน จากอาการดังกล่าว จึงเดินทางมาโรงพยาบาล

Past history ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร ปฏิเสธการใช้ยาประจำ ปฏิเสธการใช้ยาสมุนไพร ยาหม้อ ยาต้ม ยาลูกกลอน ปฏิเสธประวัติการได้รับอุบัติเหตุร้ายแรง ปฏิเสธประวัติการได้รับเลือด และส่วนประกอบของเลือด มีประวัติผ่าตัด Cesarean section 12 ปีก่อนมาโรงพยาบาล ปฏิเสธประวัติดื่มเหล้า สูบบุหรี่ ปฏิเสธการใช้สารเสพติดชนิดต่างๆ

Family history ปฏิเสธประวัติโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจในครอบครัว ปฏิเสธโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมและโรคเลือดในครอบครัว ปฏิเสธประวัติโรคมะเร็งในครอบครัว

Obstetrics-Gynaecology History G2P1A0 Para 1-0-0-1 GA 37+2 weeks by U/S G1 (12 yrs PTA): term male newborn คลอดด้วยวิธี cesarean section due to breech presentation ที่รพ. ศูนย์ BBW 2790 gm ทารกแข็งแรงดี กลับบ้านพร้อมมารดา ไม่มีภาวะแทรกซ้อน LMP 24 มีนาคม 2559 Menstrual cycle: duration 5 วัน, interval 33 วัน, ปริมาณน้อยมาก มาสม่ำเสมอ Most reliable EDC 31 มกราคม 2560 (Corrected by ultrasonography) 1st ANC ที่โรงพยาบาล วันที่ 25/ 7/ 59 GA 13 weeks by U/S ANC ทั้งหมด 9 ครั้ง Ultrasound ทั้งหมด 3 ครั้ง

ANC Date GA(wk) FH FHS FM Presentation Wt.(kg) BP (mmHg) Management ANC U/S:   ANC Date GA(wk) FH FHS FM Presentation Wt.(kg) BP (mmHg) Management 1 25/7/59 13  - - 58 99/60 1st lab ANC, U/S confirm GA, folic acid 2 8/8/59 15  2/3 > SP 156 ดิ้นน้อย 58.8 98/60 นัด amniocentesis 3 22/8/59 17 (16 cm) 155 ดิ้นดี 60 94/57 ทำ amniocentesis 4 19/9/59 21 สะดือ (22 cm) 150 61.4 89/54 plan anomaly screening 5 3/10/59 23 1/4 >สะดือ 61.7 90/54 U/S for anomaly screening 6 31/10/59 27 2/4 >สะดือ 148 Breech 64.7 102/63 advice 7 28/11/59 31  3/4 >สะดือ Vertex 65.7 97/58 advice, folic a, FF, calcium c. 8 19/12/59 34 152 66.7 102/65 9 4/1/59 36+2 153 68 Advice, นัด C/S 19/1/60

Ultrasound findings 25/ 7/ 59 (confirm GA) GA 13 wks CRL 6.46 cm Fetal heart activity present 22/ 8/ 59 (amniocentesis) GA 17 wks BPD 3.6 cm HC 13.48 cm AC 10.64 cm FL 2.45 cm FHS present FM positive 3/ 10/ 59 (anomaly screening) GA 23 wks Breech presentation BPD 5.72 cm HC 20.93 cm AC 18.75 cm FL 4.13 cm FHS present FM positive Sex male Amniotic fluid AFI 14 cm Fetal anomaly normal Placental grading I Placental location posterior upper

1st Lab ANC เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2559 Hb 12.5 g/dL Hct 36.4% MCV 95.6 fL DCIP: negative Blood group: B          Rh: positive ผลตรวจ amniocentesis for chromosome study (มี indication คือ age ≥ 35 ปี) 46, XY ไม่พบความผิดปกติของ chromosome อื่นๆ Immunization: Tetanus toxoid booster 1 เข็ม น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 53 kg สูง 158 cm คิดเป็น BMI 21.23 kg/m2 น้ำหนักขณะตั้งครรภ์ (ปัจจุบัน) 68 kg total weight gain 15 kg

ปฏิเสธประวัติเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด, โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และประวัติตกขาวผิดปกติ ปฏิเสธประวัติมะเร็งหรือมีก่อนผิดปกติ ในอุ้งเชิงกราน มีประวัติกินยาคุมกำเนิด ตั้งแต่คลอดลูกคนแรก กินมาตลอด 12 ปี หยุดกินไปเมื่อเดือน มีนาคม 2559 (ไม่ได้วางแผน)

Physical examination Vital signs :  BT 36.5 C RR 16/min PR 86 bpm BP 112/71 mmHg General appearance : A Thai pregnant woman, good consciousness, not pale, no jaundice, no dyspnea, no cyanosis HEENT : not pale conjunctivae, anicteric sclera, no dry lips Cardiovascular : normal S1&S2, no murmur, full pulse Respiratory : normal and equal breath sound, clear both lungs, no adventitious sound

Breast : symmetrical shape and size, no ulcer, no skin dimple, no sign of inflammation, no retracted nipples, no abnormal discharge per nipples, hyperpigmentation of skin at nipple and areola Abdomen : globular shape, surgical scar at low midline, normoactive bowel sound, soft, not tender

Leopold’s maneuver    - Fundal grip : fundal height at 3/4 above umbilicus - Paraumbilical grip : large part at left side, longitudinal lie - Pawlik’s grip : Breech presentation - Bilateral inguinal grip : no engagement Estimated fetal weight 3000 gm Fetal movement positive, FHR 140 bpm Uterine contraction : duration 45 secs, interval 2 mins, moderate intensity

Pelvic examination (5.30 น.) - Dilatation 1 cm, Effacement 25%, Station -1, soft consistency Anterior position , Membrane rupture, Amniotic fluid : thick meconium, Adequate pelvimetry (Bishop score = 7) - Speculum : membrane leakage, positive nitrazine and pooling test Extremities : no deformities, no rash, no pitting edema, capillary refill < 2 secs Neurological exam : WNL

Problem list G2P1A0 GA 37+2 weeks by ultrasonography with true labor pain Breech presentation Premature rupture of membrane with thick meconium ANC risk Previous cesarean section Elderly Gravidarum Late ANC Uncertained LMP

Provisional diagnosis G2P1A0 GA 37+2 weeks by ultrasonography with Breech presentation, premature rupture of membranes with thick meconium, previous cesarean section and elderly gravidarum in latent phase of labor

Discussion

1. Breech presentation เป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้คลอดยาก เกิดจากการที่ทารกไม่หมุนเอาส่วนศีรษะเป็นส่วนนำเพื่อเข้าสู่ pelvic region แบ่งออกได้เป็น 3 ท่าย่อยด้วยกัน

กลไกการคลอดทารกท่าก้น engagement&descent : bitrochanteric diameter anterior ต่ำกว่า posterior hip internal rotation&descent : bitrochanteric อยู่ในแนว AP posterior hip กลับมาอยู่ในแนวตรง external rotation : ทารกหันหลังไปด้านหน้า ศีรษะคลอดออกมาในท่าก้ม คาง ปาก จมูก กระหม่อมหน้า ท้ายทอยอยู่ที่ perineum

ปัจจัยที่ทำให้เกิด breech presentation ทารก : preterm labor, multifetal growth, anencephaly, hydrocephaly มารดา : uterine anomaly, pelvic tumor, oligohydramnios อื่นๆ : placenta previa, prior breech delivery Diagnosis PE : Leopold’s maneuver, PV exam Imaging : ultrasound

Normal labor : ทำ external cephalic version หรือ คลอดท่าก้น Management Normal labor : ทำ external cephalic version หรือ คลอดท่าก้น การคลอดทารกท่าก้น Spontaneous breech delivery ให้ทารกคลอดเองตามกลไกธรรมชาติ ทำได้ในทารกขนาดเล็ก มารดาออกแรงเบ่งได้ดี Partial breech extraction/breech assisting delivery ให้ทารกคลอดเองโดยธรรมชาติจนถึงระดับสะดือแล้วใช้หัตถการช่วยคลอดต่อ Total breech extraction delivery การช่วยคลอดทุกส่วนของทารก

Management C/S มี indications ดังนี้ Large fetus > 3,800-4,000 g Prior C/S Incomplete/footling breech orientation Pelvic contraction/unfavorable pelvic shape determined clinically Severe fetal growth restriction Hyperextended head Prior perinatal death or neonatal birth trauma

2. Premature rupture of membranes with thick meconium ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนจะมีการเจ็บครรภ์คลอด สัมพันธ์กับ Preterm labor, infection, lung hypoplasia, Anomaly ส่วนใหญ่เกิดช่วง GA 24 - 34 weeks เกิดการเจ็บครรภ์ตามมาได้ภายใน 6 - 24 ชั่วโมง

ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง มีการอักเสบติดเชื้อที่ปากมดลูกและช่องคลอด การขาดของถุงน้ำคร่ำจากพันธุกรรม มีเพศสัมพันธ์ Cervical incompetence Uterus overdistension Antepartrum hemorrhage Diagnosis ประวัติมีน้ำไหลจากช่องคลอดเรื่อยๆ กลั้นไม่ได้ มีลักษณะใส/สีเขียว/มีไขมันปน PV : vaginal pooling, cough test positive Lab: Nitrazine paper test, Fern test

Management *** ในเคสนี้มีประวัติมีน้ำสีเขียว ปนมูกเลือดไหลออกมาจากช่องคลอด ซึ่งก็คือ thick meconium บ่งบอกว่าเป็น amniotic fluid ไม่จำเป็นต้องทำ Test เพื่อยืนยันแล้ว*** แนวทางการรักษาขึ้นกับอายุครรภ์ที่มีอาการ ถ้า GA มากกว่า 34 wks แนะนำให้ชักนำการคลอดและ ให้ Group B Streptococus prophylaxis GA 24-31 wks เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิด ให้ antibiotic ยืดอายุครรภ์ และให้ glucocorticoid 1 course GA น้อยกว่า 24 wks ทำ couselling เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิด (ชักนำการคลอดตาม indication)

3. Previous caesarean section ประวัติการทำ caesarean section เป็นเพียง relative indication เนื่องจาก การเจ็บครรภ์นานอาจเพิ่มความเสี่ยง uterine rupture จากมีรอยผ่าที่มดลูกเดิมได้ การทำ vaginal birth after caesarean (VBAC) ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ - การผ่าคลอดครั้งที่ผ่านมาต้องลงมีดแบบ low transverse uterine incision - มี adequate pelvimetry - ไม่เคยมีภาวะ uterine rupture - ไม่เคยผ่าตัดเกี่ยวกับมดลูกมาก่อน - ไม่มีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆที่จะเพิ่มความเสี่ยงระหว่างกาคลอดลูก

กรณีที่ไม่ควรทำ VBAC ได้แก่ - มีอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 35 ปี* - น้ำหนักตัวมาก - Macrosomia (>4,000 g) - GA >40 weeks - ตั้งครรภ์ห่างจากครั้งแรกนานเกิน 18 เดือน* Management : set OR emergency for cesarean section เป็น low transverse uterine incision

4. Elderly Gravidarum คือ มารดาที่มีอายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไป เพิ่มความเสี่ยง เบาหวาน และความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ได้ มีการตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมดลูกหดรัดตัวได้ไม่ดี เพิ่มความเสี่ยงลูกเป็นโรค Down syndrome

Management ตรวจหาโรคประจำตัว ประเมินความเสี่ยง เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ป้องกันโรค neural tube defect รับประทาน Folic acid ตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ จนถึง 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ (ไม่ได้ทำ) ฝากครรภ์ให้เร็วที่สุด Genetic counseling เช่น Amniocentesis ในอายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์ (ไม่พบความผิดปกติ)  ตรวจคัดกรองเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (ไม่ได้ทำ) มา ANC ตามนัดสม่ำเสมอ คัดกรองครรภเป็นพิษ (ไม่พบครรภ์เป็นพิษ) เลือกวิธีการคลอดที่เหมาะสม

Management Set OR for cesarean section due to previous cesarean section Pre-operative order Set C/S emergency with tubal resection Cefazolin 1 g ไป OR NPO stat LRS 1,000 ml IV 120 ml/hr Type and screen PRC 1 unit Prepare skin abdomen & perineum Retained Foley’s catheter

Operative note Diagnosis : G2P1A0 GA 37+2 wks by U/S Procedure : cesarean section with tubal resection Anesthesia : spinal anesthesia Position : supine Incision : low midline Finding : Low transverse uterine incision - Baby Breech presentation with Breech extraction, male, weight 2830 gm, Apgar score 9,10,10 - Amniotic fluid thick meconium stain Placenta : implantation site anterior fundus, weight 650 gm, bilobe placenta, size 22*19 cm, rim 2 cm,cord 23 cm, peripheral cord insertion EBL 600 ml

Post-op order for C/S Record vital sign q 15 min x IV q 30 min x II then q 1 hr until stable then usual 5% DN/2 1000 ml IV rate 120 ml/hr + synto 20 unit x I then 5% DN/2 1000 ml IV rate 120 ml/hr x II Observe vaginal bleeding and uterine contraction Retained Foley’s catheter จิบน้ำ 15.00 น. Medicaction : cefazolin 1 g IV q 6 hr x III dose

Patient education อธิบายสาเหตุที่ต้องผ่าตัด, วิธีการระงับปวดภายหลังการผ่าตัด, การสังเกตแผลที่ควรแจ้ง ให้แพทย์ทราบ อธิบายถึงข้อดีและผลข้างเคียงระยะยาวของการทำหมันโดยการผูกและตัดท่อนำไข่ อธิบายเกี่ยวกับน้ำคาวปลาที่พบได้ตามปกติ และลักษณะที่ผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ กระตุ้น ambulate หลังผ่าตัด จะช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็วกว่า อธิบายเรื่องการใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้หลังผ่าตัด Encourage breastfeeding งดการมีเพศสัมพันธ์ในช่วง 6 สัปดาห์แรก มารดาไม่ควรซื้อยารับประทานเอง เนื่องจากยาบางชนิด อาจผ่านทางน้ำนมไปสู่ลูกได้

Reference ธีระ ทองสง. สูติศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ. พีบี ฟอเรน บุ๊คเซนเตอร์: 2555