ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0 แพทย์หญิงมยุรา กุสุมภ์ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุช การประชุมวิชาการสุขศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 วันที่ 18 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมจอมเทียบปาล์มบีช โฮเตล แอนด์รีสอร์ท ชลบุรี
เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ศาสตร์ของพระราชา ยุทธศาสตร์ ประเทศ ๒๐ ปี ปัญหาสุขภาพ ไทยแลนด์ ๔.๐ ยุทธศาสตร์ชาติด้านสาธารณสุข เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา วิชาการและเทคโนโลยีใหม่ ระบบสุขภาพและประชาชน พฤติกรรมสุขภาพและความแตกฉานด้านสุขภาพ ปัจจัยกำหนดสุขภาพและความปลอดภัย
กับดักประเทศรายได้ปานกลาง ที่มาของยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 กับดัก Inequality Trap middle income Trap Imbalance Trap ไม่ มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน กับดักความเหลื่อมล้ำของการกระจายรายได้ ของคนจนและคนรวย กับดักประเทศรายได้ปานกลาง อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ ตกลงมาอยู่ที่ระดับร้อยละ 3-4 เกือบ 20 ปี กับดักความไม่สมดุล ละเลยการรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่งผลกระทบเชิงลบในมิติต่าง ๆ
ระบบเศรษฐกิจ ที่เน้นการสร้างมูลค่า เป้าหมายยุทธศาสตร์ประเทศไทย นโยบาย มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน สังคมที่เดินหน้าไปด้วยกัน ไม่ทอดทิ้งใครไว้ข้างหลัง ระบบเศรษฐกิจ ที่เน้นการสร้างมูลค่า ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม สิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่
ปัจจัยหลักที่ส่งผลต่ออายุคาดเฉลี่ยของคนไทย Chronic Infection and NCDs Premature Mortality จำนวนผู้เสียชีวิตจาก External causes ปี 2558 บาดเจ็บทางถนน ฆ่าตัวตายสำเร็จ จมน้ำ ถูกทำร้าย 24,069 14,483 ราย 4,179 ราย 3,245 ราย 4,179 ราย ราย จำนวนผู้เสียชีวิตจาก เบาหวาน หัวใจขาดเลือด มะเร็งตับ Chronic Infection and NCDs 28,260 ราย หลอดเลือดสมอง 27,521 ราย 19,151 ราย 16,116 ราย ปี 2558 132,492 มะเร็งปอด วัณโรค โรคเอดส์ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง ราย 12,867 ราย 12,000 ราย 11,930 ราย 4,647 ราย
ความท้าทายต่อการเปลี่ยนแปลงสู่ MOPH ๔.๐ คนไทยเจ็บป่วยจากโรคที่ป้องกันได้ ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพที่เพิ่มขึ้น การขาดแคลนกำลังคนด้านสุขภาพ ความเหลื่อมล้ำของระบบสุขภาพ ปัญหาท้าทายด้านระบบสุขภาพที่สำคัญ และต้องเร่งแก้ไข ได้แก่ คนไทยเจ็บป่วยจากโรคที่ป้องกันได้ เช่น โรคเรื้อรัง มะเร็ง อุบัติเหตุ โรคที่เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยง ปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพที่เพิ่มขึ้น และประชาชนส่วนหนึ่งไม่มีกำลังพอที่จะจ่ายได้ การขาดแคลนกำลังคนด้านสุขภาพ เช่น อัตราการผลิดบุคลากรที่ไม่เพียงพอ ปัญหาบุคลากรลาออกจากระบบ หรือปัญหาการกระจายตัวของบุคลากรไม่ครอบคลุม มีความเหลื่อมล้ำของระบบสุขภาพ เช่น ปัญหาด้านสิทธิการรักษา หรือคุณภาพการให้บริการสุขภาพที่มีความแตกต่าง จึงมีความจำเป็นต้องเร่งปรับปรุงแก้ไข สังคมผู้สูงอายุ บริการปฐมภูมิไม่เข้มแข็ง ระบบข้อมูลขาดการเชื่อมโยง บุคลากรต้องมีนวัตกรรม
Future Scenarios ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพลดลงและยั่งยืน ลดป่วย ลดตาย ลดความแออัด ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพลดลงและยั่งยืน มีระบบตอบสนองต่อภัยสุขภาพต่างๆ ระบบบริหารจัดการที่โปร่งใส ประเทศ ระบบบริการ ระบบการส่งต่อ คุณภาพ ลดความเหลื่อมล้ำ ลดความแออัด ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ ครอบคลุม ทั่วถึง ประชาชน ทุกกลุ่มวัยได้รับ การพัฒนาตามวัย อายุขัยเฉลี่ยและมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น ประชาชนได้รับ การส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสุขภาพ อย่างเท่าเทียม
ยุทธศาสตร์แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 12 ( 2560 – 64) ประชาชนสุขภาพดี ลดป่วย ลดตาย เจ้าหน้าที่มีความสุข ลดความแออัด ระบบสุขภาพยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 1 เร่งการเสริมสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก (P3 : Health Promotion + Disease Prevention + Consumer & Environmental Protection Excellence) ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในระบบบริการสุขภาพ (Service Excellence) ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร จัดการกำลังคนด้านสุขภาพ (People Excellence) ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุขภาพ (Governance Excellence )
4.0 Thailand 4.0 3.0 2.0 1.0 MOPH4.0 Value-based Economy Healthcare มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน Thailand 4.0 MOPH4.0 Value-based Economy 4.0 Value-based Healthcare อุตสาหกรรมหนัก 3.0 Universal health insurance policy Health sector reform อุตสาหกรรมเบา 2.0 PrimaryHC approach Infrastructure เกษตรกรรม 1.0 Sanitation Vertical programme TB MALARIA .. Family planning
Productive Growth Engine Inclusive Growth Engine เครื่องยนต์พัฒนาการแพทย์และสาธารณสุข 4.0 Primay Care Cluster (PCC) Smart Citizens Productive Growth Engine Inclusive Growth Engine Green Growth Engine แก้ไข ความเหลื่อมล้ำ เพิ่มมูลค่า ทางเศรษฐกิจ มั่นคง Flagship & Priority Setting มั่งคั่ง collaboration ยั่งยืน Precision Medicine Thai HerbS Biopharma Value - added MOPH 4.0 รักษา สิ่งแวดล้อม HRH Reform Financial System Food Safety Infra structure PP Collaboration Law & Regulation Digital Transformation
คือทรัพย์สินอันทรงคุณค่า ต่อความสำเร็จหรือล้มเหลวขององค์กร “คน” คือทุกสิ่งทุกอย่าง คือทรัพย์สินอันทรงคุณค่า ที่มีความสำคัญ ต่อความสำเร็จหรือล้มเหลวขององค์กร
ยุทธศาสตร์ Health Head แข็งแรง เก่ง Hand Heart ใฝ่เรียนรู้ ดี มีวินัย ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย พัฒนาศักยภาพเด็กไทย 4.0 Head เก่ง Heart ดี มีวินัย Hand ใฝ่เรียนรู้ มีทักษะ Health แข็งแรง ยุทธศาสตร์ สูงดี สมส่วน สมวัย มีพฤติกรรมสุขภาพดี มีความรู้ดูแล สุขภาพตนเองได้ พัฒนาการดี มี IQ / EQ สูง ใฝ่เรียนรู้ ใช้ภาษาที่ ๒ ได้ เชี่ยวชาญดนตรี และกีฬา ผลิตนวัตกรรม กตัญญูกตเวที มีวินัย รักชาติ รักสิ่งแวดล้อม
ส่งเสริมความมั่นคงปลอดภัย ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย พัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ Strong สุขภาพแข็งแรง Security ส่งเสริมความมั่นคงปลอดภัย Social มีส่วนร่วม ในสังคม เป้าหมาย มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ มีระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุ มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแล ผู้สูงอายุระยะยาว เป้าหมาย มีการประกันรายได้กองทุน การออม แห่งชาติ และกองทุนสวัสดิการชุมชน มีเมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ Aged-friendly communities/ cities ให้ผู้สูงอายุ ได้รับความคุ้มครองทางสังคม เป้าหมาย มีการบูรณาการ พัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ มีศูนย์เรียนรู้คุณภาพทั่วประเทศ มีชมรมผู้สูงอายุ คุณภาพผ่านกลไก องค์กรชุมชนและศาสนา อยู่ในครอบครัว/สังคมที่อบอุ่น
ปัจจัย กำหนดสุขภาพ ชีววิทยาและพันธุกรรม เพศ และอายุ พฤติกรรมส่วนบุคคล : การติดสุรา บุหรี่ ยาเสพติด เพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกัน สิ่งแวดล้อมทางสังคม: การกีดกัน รายได้ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ: สถานที่อยู่อาศัย และ ความแออัด บริการทางสุขภาพ: เข้าถึงการให้บริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพและมีการประกันสุขภาพ สัดส่วน Social Determinants of Health Impact the health of individuals by WHO
ปัจจัยที่มีผลต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน ทักษะและวัฒนธรรมการสื่อสารของบุคลากรสุขภาพ และนักวิชาการ ความรู้ ความชัดเจน ถูกต้องเหมาะสม ของข้อมูลสุขภาพต่างๆ การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยี ลักษณะของระบบสุขภาพ และความต้องการ ด้านการรักษา การส่งเสริมสุขภาพ ในสภาพแวดล้อม ต่างๆ ความต้องการพึ่งตนเองของประชาชน
สถานการณ์ปัจจุบันด้าน Health Literacy รอบรู้ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ตามกลุ่มวัย (<50%) >20 หน่วยงานรัฐให้ข้อมูลสุขภาพ ขาดการบูรณาการ ข้อจำกัด ข้อมูลที่จำเป็น ช่องทางสื่อสาร วิธีการสื่อสาร ค่าใช้จ่าย การแพทย์ (ภาครัฐ) เพิ่มขึ้นทุกปี ป่วย โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ป้องกันได้ มากขึ้น ขาดหน่วยงานตอบโต้ ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ค่ารักษา>70% มากกว่า งบส่งเสริมป้องกันฯ สถานการณ์ในประเทศไทย ประชาชนไทยมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ได้แก่ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ตามกลุ่มวัย และ การบริหารจัดการความเครียด อยู่ในเกณฑ์เฉลี่ยต่ำกว่าร้อยละ ๕๐ ประชาชนไทยป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ป้องกันได้ถ้ามีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคอ้วน เป็นจานวนมาก และ มีแนวโน้ม เพิ่มมากขึ้น ค่าใช้จ่ายด้านการรักษา พยาบาล (ภาครัฐ)เพิ่มสูงขึ้นทุกปี และ ในค่าใช้จ่ายเหล่านี้เป็นการรักษาพยาบาลมากกว่าร้อยละ ๗๐ ซึ่งมากกว่างบประมาณด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมาก ในปัจจุบัน มีหน่วยงานรัฐที่ทาหน้าที่ให้ความรู้ ให้ข้อมูล ด้านสุขภาพ มากมายกทส ประมาณ ๒๐ หน่วยงาน กท อื่นๆ มากกว่า ๑๐ หน่วยงาน ใช้งบประมาณสูง แต่ขาดการบูรณาการ •ขาดข้อมูลข่าวสารที่จาเป็นต่อการแก้ปัญหาสุขภาพที่สาคัญของคนไทย ที่ถูกต้อง ทันการณ์ รวมทั้ง ช่องทาง และ วิธีการสื่อสารที่เหมาะส และ มีประสิทธิภาพ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน •ขณะนี้ยังไม่มีหน่วยงานที่ทาหน้าที่ ตอบโต้ ข้อมูล สุขภาพ ที่ไม่ถูกต้อง ได้อย่างทันท่วงที
สังคมแห่งความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีข้อมูลข่าวสารสุขภาพที่ถูกต้อง เป็นกลาง เชื่อถือได้ เข้าถึงข้อมูล/ข่าวสารที่ถูกต้อง เข้าใจได้ นำไปปฏิบัติได้ สถานบริการสาธารณสุข เสนอข้อมูลด้านสุขภาพ และ การจัดบริการสุขภาพโดยให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง •ทักษะ และแบบแผน วัฒนธรรม การสื่อสารของบุคลากรสุขภาพ และ นักวิชาการ •ความรู้ ความชัดเจน ถูกต้อง ของ ข้อมูลสุขภาพ ต่างๆ •การเปลี่ยนแปลงของสังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี •ลักษณะ ของระบบสุขภาพ และ ความต้องการด้านสุขภาพ •ความจาเป็นด้านการรักษา และ การส่งเสริม สุขภาพ ในสถานการณ์ หรือ บริบท ต่างๆ สนับสนุนการเรียนรู้/ การศึกษา ต่อเนื่อง ตลอดชีวิต พัฒนาทักษะ ให้เกิดการมีสุขภาพดี เพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง โรคติดต่อ อุบัติเหตุ และความเสี่ยงต่อสุขภาพ
มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน นักสุขศึกษา 4.0 นักสุขศึกษา 4.0 ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม และเทคโนโลยี พัฒนาการทำงานแบบ Evidence Based Practice มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ร่วมสร้างสังคมรอบรู้สุขภาพ ด้วยทักษะสื่อสารประสิทธิภาพ ส่งเสริมสุขภาพ ด้วย นวัตกรรม / Digital Health รวมพลังสังคม เพื่อปรับ/พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยกลไกของระบบปฐมภูมิ และ District health system
Good university: teach student Great university: transform student Good Health Educator: Teach People Great Health Educator: Transform People
Vision with action can change the world. Together we can be stronger, smarter, and make our Thai society, our country, and the world better.