ISC3101 การจัดเก็บและคืนคืนสารสนเทศ information storage and retrieval

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
Advertisements

ประวัติความเป็นมาของห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
(Information Retrieval : IR)
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์, ฟิสิกส์, เคมี, ชีววิทยา, วิทยาศาสตร์ทั่วไป, จิตวิทยา ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การ ประถมศึกษา, ศิลปศึกษา,
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
Meta data.
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ประจำเดือนมิถุนายน 2561
เครื่องมือเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แหล่งสารสนเทศ : การเลือกแหล่งสารสนเทศ
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
Software Engineering ( )
การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
การบริหารจัดการหนังสือประเภทรายปีด้วย กระบวนการ Pre-Cat
หลักการวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
บทที่ 1 : บทนำ อาจารย์วิภาดา เชี่ยวชาญ วท.ม.,วท.บ.
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๒ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต Dr. Bualak Petchngam.
Aj.Dr. Bualak Naksongkaew
บทที่6 ระบบการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศที่เป็นหนังสือ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
Information Repackaging อาจารย์ธนากร อุยพานิชย์ สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
SMS News Distribute Service
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
นางสาววิภัทรา จันทร์แดง เลขที่ 31 ม.4.2
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
Class Diagram.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ISC3101 การจัดเก็บและคืนคืนสารสนเทศ information storage and retrieval

คำอธิบายรายวิชา พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ระบบการจัดเก็บ เทคนิคและ วิธีการจัดเก็บสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ วิธีการค้นคืนสารสนเทศ การ ประมวลผลการค้นคืน แนวโน้มการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ Developments of information storage and retrieval, storage system, techniques and various storage models of information, information retrieval, retrieval processing trends of information storage and retrieval.

จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1.1 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ถึงพัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืน สารสนเทศ 1.2 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงระบบการจัดเก็บ เทคนิคและวิธีการ จัดเก็บสารสนเทศ 1.3 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงวิธีการค้นคืนสารสนเทศ การ ประมวลผลการค้นค้น 1.4 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงแนวโน้มการจัดเก็บและค้นคืน สารสนเทศ

มาเรียน 10 % งานกิจกรรม 30 % สอบกลางภาค 30 % สอบปลายภาค 30 % เกณฑ์การเก็บคะแนน มาเรียน 10 % งานกิจกรรม 30 % สอบกลางภาค 30 % สอบปลายภาค 30 %

สัปดาห์ที่ 1 พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ความหมายของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ภาพรวมของการศึกษาการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ศึกษาจาก www.teacher.ssru.ac.th/pornpisit

การจัดเก็บและค้นคืน จัดเก็บเพื่ออะไร ค้นคืนได้อย่างไร พฤติกรรมการค้นคืน มาตรฐานการจัดเก็บสารสนเทศ

สัปดาห์ที่ 2 พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ การจัดเก็บสารสนเทศในบริบทสากล ความสำคัญของการจัดเก็บต่อห้องสมุด ศึกษาจาก www.teacher.ssru.ac.th/pornpisit

สัปดาห์ที่ 3 ระบบการจัดเก็บ มาตฐานการจัดเก็บ DC

การแบ่งหมู่ ระบบของดิวอี้ เป็นระบบการแบ่งหมู่ที่นิยมใช้กันมากในห้องสมุด ทั่วไป โดยเฉพาะห้องสมุดโรงเรียนและห้องสมุดมหาวิทยาลัย หรือ ห้องสมุดขนาดกลาง การที่ระบบนี้ได้รับความนิยมแพร่หลายก็เพราะว่า ระบบดังกล่าวมีการแบ่งความรู้ในโลกออกเป็นหมวดหมู่ตามลำดับ อย่างมีเหตุผล หมวดใหญ่ของการแบ่งกลุ่มก็ไม่ยุ่งยากซับซ้อน สามารถจดจำได้ง่าย สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเนื้อหาความรู้ก็เป็นตัวเลขที่ใช้ กันอยู่ประจำวัน คนทั่วไปที่ไปใช้ห้องสมุดเพื่อค้นหาหนังสือ สามารถ ปรับตัวให้คุ้นเคยกับระบบหมู่หนังสือนี้ได้รวดเร็ว ผู้ที่เป็นต้นคิดระบบ การแบ่งหมู่ดังกล่าวนี้คือ เมลวิล ดิวอี้ (Melwil Dewey)

ความสำคัญและความจำเป็นที่ต้องมีการจัด หมู่หนังสือ 1. เพื่อให้หนังสือที่มีเนื้อหาวิชาเหมือนกันอยู่ในหมวดเดียวกัน 2. เพื่อให้หนังสอที่มีเนื้อหาวิชาใกล้เคียงกัน หรือสัมพันธ์อยู่ใกล้กัน สะดวกในการค้นหาเรื่องราวที่สัมพันธ์กัน 3. เพื่อให้ผู้ใช้ห้องสมุดค้นหาหนังสือได้สะดวกรวดเร็ว 4. เพื่อให้ทราบจำนวนหนังสือแต่ละหมวดว่ามีมากน้องเพียงใด 5. สามารถทำให้จัดเก็บหนังสือเข้าที่ ถูกต้องตามหมวดหมู่หนังสือ แต่ละเล่ม

ระบบจัดหมู่แบบทศนิยมดิวอี้ หมวดใหญ่ เนื้อหาทรัพยากร 000 ทั่วไป คอมพิวเตอร์ 100 ปรัชญา 200 ศาสนา 300 สังคมศาสตร์ 400 ภาษาศาสตร์ 500 วิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือ เทคโนโลยี 700 ศิลปกรรมและการบันเทิง 800 วรรณกรรม วรรณคดี 900 ภูมิศาสตร์ ประวิติศาสตร์

สัปดาห์ที่ 4 ระบบการจัดเก็บ มาตรฐานการจัดเก็บ LC

ประวัติและความเป็นมาของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน การจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันนี้ มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Library of Congress Classification เรียกย่อ ๆ ว่าระบบ L.C. ผู้คิดคือ ดร.เฮอร์เบิร์ต พุทนัม (Herbert Putnum) คิดขึ้นในปี ค.ศ. 1899 ขณะที่ทำหน้าที่เป็นบรรณารักษ์ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ซึ่งปัจจุบันเป็นห้องสมุดที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา การ จัดแบ่งหมวดหมู่หนังสือมิได้อิงหลักปรัชญาใด ๆ มิได้เรียงลำดับวิทยาการ แต่กำหนดหมวดหมู่ตามหนังสือสาขา ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในหอสมุดแห่งนั้น หอสมุดรัฐสภาอเมริกันนี้ เป็นสถาบันด้านวัฒนธรรมที่เก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกาและเป็นหอสมุดแห่งชาติ เป็นหน่วยงานที่แต่งตั้งโดยประธานาธิบดีภายใต้ความเห็นชอบของสภาสูงเพื่อให้เป็นแหล่งข้อมูลด้านกฎหมายของ รัฐบาล ตั้งอยู่ในพื้นที่อาคาร 3 หลังนิงตันดีซี ถือเป็นหอสมุดที่ใหญ่ที่สุดในโลกว่าด้วยชั้นหนังสือและจำนวน หนังสือที่มากที่สุด มีหัวหน้าคนปัจจุบันคือ คาร์ลา เฮย์เดน

ในยุคแรกหอสมุดรวบรวมข้อมูลเอกสารส่วนใหญ่เป็นของรัฐสภา ต่อมาเมื่อเกิด เหตุการณ์เพลิงไหม้ในปี ค.ศ. 1814 ทำให้เอกสารถูกทำลายไป ในปี ค.ศ. 1815 รัฐสภาอเมริกัน ได้ซื้อห้องสมุดของโทมัส เจฟเฟอร์สัน อดีตประธานาธิบดี ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็น 2 เท่าของ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และเปลี่ยนรูปแบบจากข้อมูลเฉพาะรัฐสภาเป็นห้องสมุดข้อมูล ค้นคว้า อ้างอิงทั่ว ๆ ไป โดยกำหนดหมวดหมู่หนังสือตามสาขาต่าง ๆ แบ่งตัวเลขอารบิค ตั้งแต่ได้ เป็น 20 หมวดใหญ่ ใช้อักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่ A – Z ยกเว้น I O W X Y ผสมกับเลข 1- 9999 และอาจเพิ่มจุดทศนิยมกับตัวเลขได้อีกหมวดใหญ่ทั้ง 20 หมวด มีดังนี้..

หมวดใหญ่  (Classes)   หรือการแบ่งครั้งที่ 1   แบ่งสรรพวิชาออกเป็น 20  หมวด    โดยใช้ตัวอักษรโรมัน A – Z    เป็นสัญลักษณ์แทนเนื้อหาของหนังสือ A             ความรู้ทั่วไป   (General Works) B             ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา  (Philosophy  Psychology, Religion) C             ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์  (Auxiliary Sciences of History) D             ประวัติศาสตร์ทั่วไป และประวัติศาสตร์โลกเก่า  (History : General and Old  World) E-F          ประวัติศาสตร์ : อเมริกา   (History : America) G             ภูมิศาสตร์ โบราณคดี  นันทนาการ   (Geography, Antropology, Recreation) H             สังคมศาสตร์   (Social Sciences)

J              รัฐศาสตร์   (Political Science) K             กฎหมาย   (Law) L             การศึกษา  (Education) M            ดนตรี  (Music and Books on Music) N             ศิลปกรรม  (Fine Arts) P              ภาษาและวรรณคดี   (Philology and  Literatures) Q             วิทยาศาสตร์   (Science) R             แพทยศาสตร์   (Medicine) S              เกษตรศาสตร์  (Agriculture) T             เทคโนโลยี   (Technology) U             ยุทธศาสตร์  (Military Science) V             นาวิกศาสตร์  (Naval Science) Z             บรรณานุกรม และบรรณารักษศาสตร์  (Bibliography, Library Science)

สัปดาห์ที่ 5 เทคนิคและวิธีการจัดเก็บสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ มาตรฐานการลงรายการ Marc21

ความหมายของ MARC MARC เป็นคำย่อที่มาจาก Machine-Readable Cataloging คือการลงรายการให้เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ Machine-Readable หมายถึงการที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านและตีความข้อมูลที่ลงรายการไว้ในระเบียน Cataloging คือ การลงรายการบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ โสตทัศนวัสดุ และวัสดุการศึกษาต่างๆ ซึ่งในระบบมือก็คือรายการที่อยู่ในรูปของบัตรรายการ อันประกอบด้วยรายละเอียดทางบรรณานุกรมของวัสดุที่ลงรายการตามหลักเกณฑ์การลงรายการ Anglo American Cataloging Rules, 2nd Edition (AACR2) รายการหลักและรายการเพิ่มต่างๆ หัวเรื่อง และเลขเรียกหนังสือ ดังนั้น MARC จึงหมายถึง การลงรายการบรรณานุกรมของหนังสือ โสตทัศนวัสดุ และสื่อต่างๆ ตามหลักการลงรายการแบบ AACR2 (Anglo American Cataloging Rules ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการสืบค้น ในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ ซึ่งรายละเอียดในการลงรายการก็เหมือนการลงรายการในรูปของบัตรรายการ

เครื่องหมายและตัวย่อที่ใช้ # แทน ช่องว่าง (Space) $ แทน เขตข้อมูลย่อย (Sub-field) | แทน ไม่ใส่รหัส (No attempt to code) R แทน เขตข้อมูลที่บันทึกซ้ำได้ (Repeatable field) NR แทน เขตข้อมูลที่ไม่บันทึกซ้ำ (Non- Repeatable field) b อ่านว่า blank เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนค่าของตัว บ่งชี้ ซึ่งในบางเขตข้อมูลอาจหมายถึงยังไม่มีการ กำหนดใช้ค่าตัวบ่งชี้นั้น ในบางเขตข้อมูลหมายถึง ไม่มีข้อมูลระบุ

ตัวบ่งชี้ (Indicators) เป็นรหัส 2 ตัวที่อยู่ข้างหน้าข้อมูลในแต่ละเขต ข้อมูล เพื่อใช้ประมวลผล เช่น เป็นค่า บอกรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับเล่มวัสดุที่ลง รายการ ค่าตัวบ่งชี้ในบาง เขตข้อมูล บอกให้ทราบแหล่งที่มาของข้อมูล ตัวบ่งชี้ในบาง เขตข้อมูลเป็นตัวที่ บอกให้โปรแกรมสั่งพิมพ์ ข้อความที่เป็นค่าคงที่ข้างหน้าข้อมูล ตัวบ่งชี้แต่ ละตำแหน่งมีความหมายเป็นอิสระเฉพาะตัว ไม่ ขึ้นต่อกัน ค่าของตัวบ่งชี้อาจเป็นตัวอักษรพิมพ์ เล็กหรือเป็นตัวเลข ในตำแหน่งที่ไม่มีการ กำหนดตัวบ่งชี้ เอกสาร MARC21 กำหนดให้ ใช้ตัว b ดังนั้นในตำแหน่งที่มีการกำหนดค่าตัว บ่งชี้ตัว b อาจมีความหมายว่าไม่มีการระบุ ค่าหรืออาจแทนว่าไม่มีข้อมูลก็ได้

สัปดาห์ที่ 6 เทคนิคและวิธีการจัดเก็บสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ มาตรฐานการลงรายการ Dublin core

Dublin-Core Metadata เป็นมาตรฐานที่ใช้ในการจัดทำMetadata ให้กับเอกสารเว็บที่ ใช้ อย่างแพร่หลายจัดทำโดย Dublin-Core Metadata Initiative (DCMI) เป็น คณะทำงานที่เกิดขึ้นจากการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการของกลุ่มนัก สารสนเทศ นักคอมพิวเตอร์ ผู้ผลิตฐานข้อมูลและสำนักพิมพ์ ณ เมือง Dublin รัฐ Ohio ประเทศ สหรัฐอเมริกา ในปี1995 โดยการนำของ OCLC (Online Computer Library Center) และ NCSA (National Center of Supercomputing Applications)  ปัจจุบันดับลินคอร์ได้รับการประกาศเป็น มาตรฐานสากล ISO 15836 และมาตรฐานของสหรัฐอเมริกา NISO Z39.85 ดับลินคอร์ได้รับการนำไปใช้อย่างกว้างขวางและเป็นพื้นฐานของการ ประยุกต์ใช้ ในโครงการต่างๆ หรือห้องสมุดต่างๆ มากมาย

หน่วยข้อมูลย่อยดับลินคอร์แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้    หน่วยข้อมูลย่อยที่เกี่ยวกับเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศ หน่วยข้อมูลย่อยที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญา หน่วยข้อมูลย่อยที่เกี่ยวรูปแบบที่ปรากฏให้ใช้งาน

ISO 19115 : 2003 ISO 19115 เป็นมาตรฐานการอธิบายข?อมูลภูมิสารสนเทศ หรือ มี ชื่อเต็มว่า "ISO 19115 Geographic Information - Metadata" และถูก ประกาศใช้เป็นมาตรฐาน (International Standard: IS) เมื่อ ค.ศ. 2003 มาตรฐาน ISO 19115: Metadata มีขอบเขตเนื้อหาของมาตรฐาน เกี่ยวกับการกำหนดแบบแผน (Schema) สำหรับการอธิบายด้านสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ (ข้อมูล) และการบริการอื่น ๆ (Services) โดยการอธิบายจะ กำหนดรายละเอียดในเรื่องของการระบุหรือจำแนกข้อมูล (Identification) ขอบเขต (Extent) คุณภาพ (Quality) แบบแผนเชิงปริภูมิและเชิงเวลา (Spatial and Temporal Schema) ระบบอ้างอิงตำแหน่ง (Spatial Reference) และการเผยแพร่ (Distribution) ข้อมูลทางภูมิศาสตร์เชิงตัวเลข (Digital)

Dublin core.org คือองค์กรผู้ริเริ่มการกำหนดมาตรฐานเมทาดา ทา และส่งเสริมให้วงการสารสนเทศหันมาร่วมมือกัน ในการพัฒนา มาตรฐานสากล สำหรับการสร้างสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ โดยเน้นการ พัฒนาศัพท์วิชาการสำหรับการพรรณนาสารสนเทศ นำไปสู่การทำ รายการและการค้นสารสนเทศต่างระบบที่มีประสิทธิภาพ

สัปดาห์ที่ 7 เทคนิคและวิธีการจัดเก็บสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ สื่อบันทึกข้อมูล

สื่อบันทึกข้อมูล ศิลาจารึก หิน ใบลาน กระดาษ ฟิล์ม วัสดุย่อส่วน ศิลาจารึก หิน ใบลาน กระดาษ ฟิล์ม วัสดุย่อส่วน สื่อแม่เหล็ก Hard disk, Floppy Disk, Tap สื่อแสง CD, DVD, Blu-ray สื่อไฟฟ้า Solid state Flash Drive, Memory Card Cloud Computing

สัปดาห์ที่ 8 สอบกลางภาค

วิธีการค้นคืนสารสนเทศ การสื่อสารและสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 9 วิธีการค้นคืนสารสนเทศ การสื่อสารและสารสนเทศ

Communication and Information Information science was first defined at the Conference on Training Science Information Specialists held in 1961 and 1962 at the Georgia Institute of Technology as “the science that investigates the properties and behavior of information, the forces governing the flow of information and the means of processing information for optimum accessibility and usability. The process include the origination, dissemination, collection, organization, storage, retrieval, interpretation, and use of information. The field is derived from or related to mathematics logic, linguistics, psychology, computer technology, operation research, the graphic arts, communication, library science, management, and some other fields. (Taylor, 1966)

Shannon’s information Theory Information sources  coded Transmitter operators on the message Channel Receiver  decoded Destination

Three levels of the communication Problem Technical Semantic Effectiveness Accuracy Precision Intended Response Message Meaning Behavior Concerns Affects

Information in Knowledge Communication Related concepts of ideas, data, information, and Knowledge Wisdom Knowledge Information Data

สัปดาห์ที่ 10 วิธีการค้นคืนสารสนเทศ การใช้และผู้ใช้ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

Uses and Users Terminology Information Needs User Type of user studies Research Design

Design of research plan Identify a problem area of a need to study Conduct an initial literature review Define the research problem Estimate the potential for successful Conduct a second literature review Select an appropriate research approach Formulate a hypothesis Formulate data-collection methods Formulate and develop data-collection instruments Design a data-analysis plan Design a data-collection plan Identify the population and sample Conduct pilot studies of methods, instruments, and analysis Implementation of research plan Implement data-collection Implement data-analysis Prepare research report Implementation of results Disseminate findings and agitate for action

Data collection methods Questioning Observing Studying the Information Records of Documents

Research Methodology Questionnaire Survey Interview Diary methods Group Interview and Question Observation Documentary Evidence Experiment

Relevance Concept of relevance Relevance is one of most important concepts in information Science. It is the basis for effective communication of knowledge. Relevance is the factor that governs the effectiveness of each communication process.

วิธีการค้นคืนสารสนเทศ การจัดเรียงข้อมูลเพื่อการจัดเก็บและค้นค้น สัปดาห์ที่ 11 วิธีการค้นคืนสารสนเทศ การจัดเรียงข้อมูลเพื่อการจัดเก็บและค้นค้น

การจัดเรียงข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์ ระยะเวลา ความเก่า โดยอ้างข้อมูลเชิงวิชาการ ยุคต่าง ๆ ยุคหิน    ยุคหินเก่า ยุคหินกลาง  ยุคหินใหม่  ยุคโลหะ  ยุคสำริด  ยุคเหล็ก  GIS เรียงตามตัวอักษร

การประมวลผลการค้นคืน การจัดทำตัวแทนข้อมูล สารสังเขป สัปดาห์ที่ 12 การประมวลผลการค้นคืน การจัดทำตัวแทนข้อมูล สารสังเขป ศึกษาจาก www.teacher.ssru.ac.th/pornpisit

การประมวลผลการค้นคืน พฤติกรรมสารสนเทศและความพึงพอใจ สัปดาห์ที่ 13 การประมวลผลการค้นคืน พฤติกรรมสารสนเทศและความพึงพอใจ ศึกษาจาก www.teacher.ssru.ac.th/pornpisit

สัปดาห์ที่ 14 การประมวลผลการค้นคืน การประเมินผลการค้นคืนสารสเทศ ปัญหาจากการค้นคืนสารสนเทศ การออกแบบการจัดเก็บที่มีประสิทธิภาพ ศึกษาจาก www.teacher.ssru.ac.th/pornpisit

สัปดาห์ที่ 15 แนวโน้มการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ การประมวลผล กลุ่มเมฆ cloud computing ศึกษาจาก www.teacher.ssru.ac.th/pornpisit

สัปดาห์ที่ 16 แนวโน้มการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ Big Data ศึกษาจาก www.teacher.ssru.ac.th/pornpisit