เกม คณิตคิดเร็ว.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
Advertisements

โปรแกรม Microsoft Excel มี ความสามารถเด่นในด้านการคำนวณ ซึ่งมี ลักษณะการคำนวณ 2 รูปแบบใหญ่ๆ ได้แก่ การคำนวณด้วยสูตร (Formula) การคำนวณด้วยฟังก์ชันสำเร็จรูป.
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การใช้งานโปรแกรม SPSS
การเขียนโปรแกรม ภาษาซีเบื้องต้น โดย คุณครูปวีณา แนววงศ์
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
Pushdown Automata : PDA
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
การทดลองในวิชาฟิสิกส์
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การใช้งาน Microsoft Excel
การใช้งาน Microsoft Excel
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
หน่วยที่ 1 เรื่อง การใช้โปรแกรมตารางงานนำเสนอข้อมูล สาระสำคัญ โปรแกรม Microsoft Excel เป็นโปรแกรมที่ สามารถช่วยในเรื่องการคำนวณทั้งการบวก การลบ การคูณ.
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
คำสั่งควบคุมการทำงาน
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
บทที่ 5 การใช้คำสั่ง Select Case , For Next และ Do While
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
START INPUT R = 1 R = R Yes R*R <=2 No R = R PROCESS
DC Voltmeter.
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 6 การใช้งานโปรแกรมตารางคำนวณพื้นฐาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part2) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
โดย นายอนุชา ศรีเริงหล้า นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
ลองนึกสิ คาบที่แล้ว เรียนอะไร.
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Array: One Dimension Programming I 9.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
Computer Game Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกม คณิตคิดเร็ว

ข้อ 1 92 + 43=______ 135

ข้อ 2 6 * 8 =______ 48

ข้อ 3 50 * 38 =______ 1900

ข้อ 4 0 – 38 =______ -38

ข้อ 5 49 / 7=______ 7

ข้อ 6 (10 – 7)*3=____ 9

ข้อ 7 9^2*(3+5)=____ 648

โครงสร้างสูตรคำนวณ สูตรคำนวณ ตัวแปร ตัวดำเนินการ =50+7 เลข 50 และ 7 จะมีเครื่องหมาย = นำหน้า ตามด้วย ตัวแปรและตัวดำเนินการต่าง ๆ โดยตัวแปร อาจเป็นข้อความ ตัวเลข ชื่อเซลล์ หรือตำแหน่งของเซลล์ก็ได้ โครงสร้างสูตรคำนวณ สูตรคำนวณ ตัวแปร ตัวดำเนินการ =50+7 เลข 50 และ 7 เครื่องหมาย + =4*C2/B3 เลข 4 และข้อมูลในเซลล์ C2และ C3 เครื่องหมาย * และ /

ไหนตัวดำเนินการ ไหนตัวแปร =25*43^3 =542/2 300*500 0.09+0.03^2

ลำดับการคำนวณใน Microsoft Excel 1.คำนวณค่าจากซ้ายไปขวา 2.คำนวณจากตัวดำเนินการที่มีความสำคัญเป็นลำดับแรกไปหาลำดับสุดท้าย 5+5-2 5+5*2

สัญลักษณ์ตัวดำเนินการ ลำดับการคำนวณใน Microsoft Excel ลำดับความสำคัญ สัญลักษณ์ตัวดำเนินการ ความหมาย 1 - ค่าติดลบ เช่น -2 , -10 2 % เปอร์เซ็นต์ 3 ^ ยกกำลัง 4 * , / คูณ กับ หาร 5 + , - บวก กับ ลบ 6 & การนำข้อความมาเชื่อมต่อกัน 7 = , <> เครื่องหมายเท่ากับ , เครื่องหมายไม่เท่ากับ <,> เครื่องหมายน้อยกว่า,มากกว่า <= , >= เครื่องหมายน้อยกว่าหรือเท่ากับ , เครื่องหมายมากกว่าหรือเท่ากับ

ถ้าต้องการเปลี่ยนลำดับการคำนวณต้อง ใช้วงเล็บครอบสูตรและตัวดำเนินการที่ต้องการให้ คำนวณค่าเป็นอันดับแรก การใช้วงเล็บ สูตรคำนวณ ผลลัพธ์ ขั้นตอนการคำนวณ =13+4*7 41 นำ 4 คูณ 7 ก่อน(เพราะเครื่องหมาย คูณ มีลำดับความสำคัญมากกว่า) แล้วนำค่าที่ได้ไปบวกกับ 3 =(13+4)*7 119 นำ 13 บวก 4 ก่อน (คิดในวงเล็บก่อน) แล้วนำค่าที่ได้ไปคูณด้วย 7

พิมพ์เครื่องหมาย = นำหน้า การป้อนสูตรคำนวณ พิมพ์เครื่องหมาย = นำหน้า สูตรคำนวณ ผลลัพธ์ =250+15 265 =A2*B2 3,750 ตัวเลข อ้างอิงเซลล์

ข้อความแสดงข้อผิดพลาดในสูตร Error Message สาเหตุ การแก้ไข ##### ช่องเซลล์แคบเกินไป ขยายช่องเซลล์ #DIV/0! ตัวหารเป็นเลข 0 เปลี่ยนตัวหาร #N/A ผลลัพธ์ไม่มีค่า ตรวจสอบสูตร #NAME? ชื่อเซลล์ในสูตรไม่ถูก ตรวจสอบชื่อเซลล์ที่กำหนดไว้ #NUM! ประเภทของตัวเลขไม่ถูกต้อง ตรวจสอบตัวเลข #NULL! ใส่ช่วงอ้างอิงเซลล์ผิด แก้ไขช่วงเซลล์อ้างอิงให้ถูก #REF! อ้างถึงเซลล์ที่ผิดพลาด แก้ไขตำแหน่งเซลล์ในสูตรให้ถูกต้อง #VALUE! ข้อมูลที่ใช้คำนวณไม่ถูกประเภท ตรวจดูว่านำตัวเลขมาคำนวณกับตัวอักษรหรือไม่

โครงสร้างของฟังก์ชั่น ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก ๆ คือ ชื่อฟังก์ชั่น (Function Name) เป็นส่วนของชื่อคำสั่ง เช่น SUM , Average , IF ,AND เป็นต้น 2. อาร์กิวเมนต์ (Argument) เป็นส่วนของข้อมูล ตัวแปร หรือเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ให้ฟังก์ชั่นคำนวณหรือประมวลผล เช่น ตำแหน่งเซลล์อ้างอิง ข้อความ ตัวเลข หรือค่าตรรกะ (TRUE/FALSE) เป็นต้น

ข้อกำหนดในการเขียนฟังก์ชั่น การพิมพ์สูตรฟังก์ชั่นต้องพิมพ์ติดกันทุกตัวอักษร ทุกฟังก์ชั่นต้องขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย = เสมอ ชื่อฟังก์ชั่นเป็นตัวพิมพ์ใหญ่หรือพิมพ์เล็กก็ได้ อาร์กิวเมนต์ต้องอยู่ในเครื่องหมายวงเล็บ () เท่านั้น และถ้าฟังก์ชั่นมี อาร์กิวเมนต์มากกว่า 1 ตัว ให้คั่นแต่ละอาร์กิวเมนต์ด้วยเครื่องหมาย , สำหรับฟังก์ชั่นที่ไม่มีอาร์กิวเมนต์ต้องใส่เครื่องหมายวงเล็บ () ต่อท้าย ชื่อฟังก์ชั่นเสมอ ถ้าอาร์กิวเมนต์เป็นข้อความ(Text) ต้องใส่เครื่องหมายฟันหนู (“”) คร่อมอาร์กิวเมนต์ด้วยทุกครั้ง ในกรณีที่อาร์กิวเมนต์เป็นตัวเลข (Number) ห้ามใส่สัญลักษณ์ที่ใช้กำหนดรูปแบบของตัวเลข เช่น $ ฿ เป็นต้น

ประเภทของฟังก์ชั่น

ฟังก์ชั่นทางตรรกศาสตร์ หน้าที่ รูปแบบฟังก์ชั่น IF ตรวจสอบเงื่อนไข โดยถ้าเป็นจริงจะให้ผลลัพธ์ค่าหนึ่ง และถ้าเป็นเท็จจะให้ผลลัพธ์อีกค่าหนึ่ง IF(เงื่อนไข,ผลลัพธ์เมื่อเงื่อนไขเป็นจริง,ผลลัพธ์เมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ)

รูปแบบฟังก์ชั่น IF แบบซ้อนกัน 3 ชั้น IF(เงื่อนไขที่1,ผลลัพธ์เมื่อเงื่อนไข1 เป็นจริง,IFเงื่อนไข2,ผลลัพธ์เมื่อเงื่อนไข2 เป็นจริง,IF(เงื่อนไข3,ผลลัพธ์เมื่อเงื่อนไข3 เป็นจริง,ผลลัพธ์เมื่อเงื่อนไข3เป็นเท็จ)))

ฟังก์ชั่นจัดการข้อความ หน้าที่ รูปแบบฟังก์ชั่น BATHTEXT แปลงตัวเลขให้เป็นข้อความภาษาไทย และ ลงท้ายด้วยบาท – สตางค์ หรือบาทถ้วน BATHTEXT (ตัวเลข) LEN นับจำนวนอักขระของข้อความ LEN(ข้อความ) UPPER แสดงข้อความเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ UPPER(ข้อความ) LOWER แสดงข้อความเป็นตัวพิมพ์เล็ก LOWER(ข้อความ) PROPER แสดงอักษรแรกของข้อความเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ PROPER(ข้อความ)

ฟังก์ชั่นวันที่และเวลา หน้าที่ รูปแบบฟังก์ชั่น NOW แสดงวันที่และเวลาปัจจุบัน NOW() TODAY แสดงวันที่ปัจจุบัน TODAY() DAY แสดงวันที่ของวันที่ที่ระบุ DAY(วันที่) MONTH แสดงเดือนของวันที่ที่ระบุ MONTH(วันที่) YEAR แสดงปีของวันที่ที่ระบุ YEAR(วันที่) MINUTE แสดงนาทีของเวลาที่ระบุ MINUTE(เวลา) HOUR แสดงชั่วโมงของเวลาที่ระบุ HOUR(เวลา)

ฟังก์ชั่นทางสถิติ ฟังก์ชั่น หน้าที่ รูปแบบฟังก์ชั่น AVERAGE หาค่าเฉลี่ยของชุดข้อมูล โดยนำเฉพาะเซลล์ที่มีข้อมูลเป็น ตัวเลข มาคำนวณ AVERAG(ช่วงข้อมูล) COUNT นับจำนวนเซลล์ที่มีข้อมูลเป็นตัวเลข COUNTA(ช่วงข้อมูล) COUNTA นับจำนวนเซลล์ที่มีข้อมูลเซลล์(ไม่นับเซลล์ว่าง) COUNT(ช่วงข้อมูล) COUNTIF นับจำนวนเซลล์ที่มีข้อมูลตรงตามเงื่อนไข COUNTIF(ช่วงข้อมูล,”เงื่อนไข”)

ทายผลลัพธ์

ข้อ 1 5 * 9 = 45

ข้อ 2 923 + 102 = 1025

ข้อ 3 8 ^ 3 = 512

ข้อ 4 0 ^ 1 = 1

ข้อ 5 1*(43-27)^2=256

ข้อ 6 5/(33+14)^2=441.8