อนุพันธ์ (Derivatives)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
John Rawls  John Rawls is the most famous American social contract theorist argued that “Justice is fairness” He Thought human natural have a appropriate.
Advertisements

Antiderivatives and Indefinite Integration
จำนวน สถานะ NUMBER OF STATES. ประเด็นที่ สนใจ The number of distinct states the finite state machine needs in order to recognize a language is related.
Chapter 5: Functions of Random Variables. สมมติว่าเรารู้ joint pdf ของ X 1, X 2, …, X n --> ให้หา pdf ของ Y = u (X 1, X 2, …, X n ) 3 วิธี 1. Distribution.
ออโตมาตาจำกัด FINITE AUTOMATA
REGULAR EXPRESSION การบรรยายแบบสม่ำเสมอ
Wang991.wordpress.com Tregonmetry Click when ready 
Click when ready Wang991.wordpress.com © All rights reserved Stand SW 100 Relation and function.
Chapter 3 Graphics Output primitives Part II
Name purimpurch pawornwangwat present Teacher. chaiyasit patwang
Menu and Interactive with Powerpoint ให้นำเรื่อง Input /Output Technology มา จัดทำ การนำเสนอ โดยใช้หลักการ Menu and Interactive with powerpoint มาประยุกต์
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
Liang, Introduction to Java Programming, Sixth Edition, (c) 2007 Pearson Education, Inc. All rights reserved Java Programming Language.
Chapter 3 Simple Supervised learning
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี
ด้านตรงข้ามมุมฉาก ด้านตรงข้ามมุมA ด้านประชิดมุมA.
ครูปพิชญา คนยืน. ทักษะ กระบวนการ ทาง คณิตศาสตร์ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 8.
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
Wang991.wordpress.com Relation and function Click when ready 
Click when ready Wang991.wordpress.com © All rights reserved Stand SW 100 Relation and function.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II Chapter 1 Vector.
Wang991.wordpress.com Relation and function Click when ready 
Click when ready Wang991.wordpress.com © All rights reserved Stand SW 100 Relationchip and functions.
Click when ready Wang991.wordpress.com © All rights reserved Stand SW 100.
Click when ready Wang991.wordpress.com © All rights reserved Stand SW 100 Relation and function.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II Part III, Chapter 10 Numerical Differentiation and Integration Numerical Differentiation and Integration.
Page : Stability and Statdy-State Error Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Stability and Steady-State Error.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
ชุดที่ 7 ไป เมนูรอง.
Chapter Objectives Concept of moment of a force in two and three dimensions (หลักการสำหรับโมเมนต์ของแรงใน 2 และ 3 มิติ ) Method for finding the moment.
สมดุล Equilibrium นิค วูจิซิค (Nick Vujicic).
Chapter 11 : Kinematics of Particles
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
พื้นฐานการเขียนแบบทางวิศวกรรม
Chapter Objectives Chapter Outline
พระราชบัญญัติ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion)
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
Wave Characteristics.
บทที่ 7 เทคนิคการหาปริพันธ์ (Techniques of Integration)
Graph Lecturer : Kritawan Siriboon, Boontee Kruatrachue Room no. 913
Graph Lecturer : Kritawan Siriboon, Boontee Kruatrachue Room no. 913
โดย พระมหาปรีชา ปภสฺสโร พระวิทยากร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Calculus C a l c u l u s.
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ตอนที่ 3: ท่านเป็นผู้ชอบธรรมได้อย่างไร?
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
I WISH YOU A GREAT DAY! ฉันขอให้คุณ มีความสุขมากๆในวันนี้ นะคะ!
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
ที่มาและหน่วยงานกาชาดต่างๆ
Calculus I (กลางภาค)
บทที่ 6 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
บทที่ 6 : อัตราส่วนตรีโกณมิติ
การทรงสร้างและการล้มลง
1. พระเยซูทรงต้องการให้เราเป็น เหมือนพระองค์
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
บทที่ 5 การออกแบบวิจัย อ.พิสิษฐ์ พจนจารุวิทย์
บทที่ 3 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
อินทิกรัลของฟังก์ชัน
บทที่ 5 การออกแบบวิจัย อ.พิสิษฐ์ พจนจารุวิทย์
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
Lesson 7-6: Function Operations
Determine the moment about point A caused by the 120 kN
ฟังก์ชันของโปรแกรม ฟังก์ชันในโปรแกรม (โปรแกรมภาษา C#) มีฟังก์ชันให้ใช้งานอยู่หลากหลายฟังก์ชัน โดยมีรูปแบบเฉพาะ และการเข้าถึงที่มีลักษณะแตกต่างกัน ในบทนี้จะแสดงเนื้อหาในการใช้งานของฟังก์ชันต่างๆ.
กลศาสตร์และการเคลื่อนที่ (1)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อนุพันธ์ (Derivatives) บทที่ 5 อนุพันธ์ (Derivatives) Chapter 2 ET. Finney Weir Giordano, Thomas’ Calculus, Tenth Edition © 2001. Addison Wesley Longman All rights reserved.

อนุพันธ์ ใช้วัดอัตราการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชัน และเป็นแนวคิดที่สำคัญ ที่สุดอันหนึ่งในวิชาแคลคูลัส สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง นิยาม ฟังก์ชันอนุพันธ์ (Derivative Function) อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f(x) เทียบกับตัวแปร x คือฟังก์ชัน มีค่าที่ x เป็น (โดยที่ลิมิตจะต้องหาค่าได้ สัญลักษณ์อื่นที่ใช้ได้แก่ ) ตัวอย่างที่ 1 (ก) จงหาอนุพันธ์ของ สำหรับ x > 0 (ข) จงหาเส้นสัมผัส กับโค้ง ที่ x = 4

วิธีทำ (ก) (ข) ความชันของโค้งที่ x = 4 คือ m = สมการของเส้นสัมผัสที่ x = 4 ซึ่งผ่านจุด (4, 2) มีความชัน1/4 คือ หรือ

กฎของอนุพันธ์ 1. ถ้า f เป็นค่าคงตัว f(x) = c ตัวอย่างที่ 2 ถ้า f เป็นค่าคงตัว f(x) = 8 แล้ว และ ทำนองเดียวกัน 2. ถ้า n เป็นเลขจำนวนเต็มบวก พิสูจน์ นั่นคือ

ตัวอย่างที่ 3 การใช้กฎอนุพันธ์ ตัวอย่างที่ 3 การใช้กฎอนุพันธ์ …. 1 … กฎการคูณด้วยค่าคงตัว ถ้า u เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ของ x และ c เป็นค่าคงตัว Slope=6x ตัวอย่างที่ 4 การใช้กฎข้อที่ 3 ก) Slope=2x ข) ถ้า c = -1 ดังนั้น

อนุพันธ์ของผลบวก หาอนุพันธ์ ถ้า u และ v เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ของ x แล้ว ผลบวก ได้ทุกจุดที่ u และ v หาอนุพันธ์ได้โดย พิสูจน์ ให้ f(x) = u(x) + v(x)

ตัวอย่างที่ 5 อนุพันธ์ของผลบวก อนุพันธ์ของผลลบ ตัวอย่างที่ 6 อนุพันธ์ของพหุนาม (polynomial)

ตัวอย่างที่ 7 การหาเส้นสัมผัสในแนวนอน โค้ง ตัวอย่างที่ 7 การหาเส้นสัมผัสในแนวนอน โค้ง มีเส้นสัมผัสในแนวนอนหรือไม่ และถ้ามีอยู่ที่ตำแหน่งใด วิธีทำ ความชันของเส้นสัมผัสในแนวนอนคือ (0,2) ดังนั้น โค้ง มีเส้นสัมผัสในแนวนอนที่ (0, 2), (1, 1) และ (-1, 1) (1,1) (-1,1)

การหาอนุพันธ์ได้ในช่วงและอนุพันธ์ด้านเดียว ฟังก์ชัน หาอนุพันธ์ได้ในช่วงเปิด ถ้ามีอนุพันธ์ที่แต่ละจุดของช่วง และหาอนุพันธ์ได้ในช่วงปิด [a,b] ถ้ามีอนุพันธ์ในช่วงภายใน (a, b) และมีลิมิต ที่ a และ ที่ b

และอนุพันธ์ทั้งสองเท่ากัน Figure 2.7: Derivatives at endpoints are one-sided limits. ฟังก์ชันจะมีอนุพันธ์ที่จุดๆ หนึ่ง ก็ต่อเมื่อมีอนุพันธ์ซ้ายมือ และอนุพันธ์ขวามือ และอนุพันธ์ทั้งสองเท่ากัน ตัวอย่างที่ 8 หาอนุพันธ์ไม่ได้ที่จุดกำเนิด (origin) จงแสดงว่า มีอนุพันธ์ในช่วง (-,0) และ(0, ) แต่ไม่มีอนุพันธ์ที่ x = 0 วิธีทำ ด้านขวามือ ด้านซ้ายมือ ดังนั้นไม่มีอนุพันธ์ที่จุดกำเนิด เนื่องจากอนุพันธ์ด้านเดียวแตกต่างกัน

การเขียนกราฟของ ฟังก์ชัน อนุพันธ์สามารถนำมาเขียนกราฟโดยประมาณได้ ตัวอย่างที่ 9 จงเขียนกราฟอนุพันธ์ของฟังก์ชัน จากกราฟ y’ = f’(x) จะสามารถสังเกตสิ่งต่างๆ ต่อไปนี้ 1.ช่วงที่อัตราการเปลี่ยนแปลงของ ฟังก์ชัน เป็นบวก ลบ หรือศูนย์ 2. สามารถประมาณขนาดของการ เปลี่ยนแปลง ที่ x ใดๆ และเอามาเทียบกับ ขนาดของ f(x) 3. รู้ว่าอัตราการเปลี่ยนแปลงกำลังเพิ่มขึ้น หรือกำลังลดลง

ทฤษฎีบทที่ 1 การหาอนุพันธ์ได้บ่งถึงความต่อเนื่อง ถ้า f มีอนุพันธ์ที่ x = c แล้ว f ย่อมต่อเนื่องที่ x = c อนุพันธ์อันดับสองและอันดับสูงขึ้นไป

อัตราการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันที่จุดใดๆคืออนุพันธ์ที่จุดนั้น ตัวอย่างที่ 1 พื้นที่ของวงกลมเปลี่ยนไปตามเส้นผ่าศูนย์กลาง พื้นที่วงกลมเปลี่ยนแปลงเร็วเท่าใดกับเส้นผ่าศูนย์กลางเมื่อเส้นผ่าศูนย์กลางเป็น 10 เมตร วิธีทำ ขณะที่ D = 10 เมตร พื้นที่จะเปลี่ยนแปลงในอัตรา ตารางเมตร/เมตร

นิยาม ความเร็วขณะใดขณะหนึ่งๆ เป็นอนุพันธ์ของตำแหน่งเทียบกับเวลา ถ้าตำแหน่งของวัตถุที่เวลา t เป็น แล้วความเร็วของวัตถุที่เวลา t คือ ตัวอย่างที่ 2 การหาความเร็วของรถแข่ง กราฟในรูปแสดงเวลากับระยะทางของรถแข่ง ความชันของ PQ เป็นความเร็วเฉลี่ยในช่วง 3 วินาที จาก t = 2 - 5 วินาที(ประมาณ 100 ฟุต/วินาที)ความชันของเส้นสัมผัสที่ P คือค่าที่ อ่านได้จากเกจวัดความเร็วที่ t = 2 วินาที (ประมาณ 57 ฟุต/วินาที)

นิยาม อัตราเร็ว (speed)เป็นค่าสัมบูรณ์ของความเร็ว อัตราเร็ว = ตัวอย่างที่ 3 การเคลื่อนที่ในแนวนอน แสดงความเร็ว ของอนุภาค ที่เคลื่อนไปข้างหน้า 3 วินาทีแรก เคลื่อนที่กลับ 2 วินาทีถัดไป หยุดนิ่ง 1 วินาที และเคลื่อนที่ไปข้างหน้าอีกความเร็วสูงสุดที่ t = 4 วินาที

เทียบกับเวลา ถ้าตำแหน่งของวัตถุที่เวลา t เป็น ความเร่งและ jerk Figure 2.16: The velocity graph for Example 3. ความเร่งเป็นอนุพันธ์ของความเร็วเทียบกับเวลา และjerk เป็นอนุพันธ์ของความเร่ง เทียบกับเวลา ถ้าตำแหน่งของวัตถุที่เวลา t เป็น ความเร่งและ jerk ของวัตถุที่เวลา t คือ บริเวณใกล้ผิวโลกทุกวัตถุจะตกลงโดยมีความเร่งคงที่ ด้วยแรงโน้มถ่วงของโลก g ถ้าวัตถุเริ่มต้นจากหยุดนิ่งระยะทางเคลื่อนที่จะเป็น ดังนั้น

ตัวอย่างที่ 4 การจำลองการตกแบบอิสระ ในรูปแสดงการตกแบบอิสระของลูกบอลหนัก จากหยุดนิ่ง ที่เวลา t = 0 จงหาระยะทางที่ลูกบอลตกภายใน 2 วินาทีแรกเป็นเมตร (ข) จงหาความเร็ว อัตราเร็ว และความเร่ง ขณะนั้นเป็นเท่าใด วิธีทำ ก) จาก แทนค่า t = 2 จะได้ เมตร ข) ความเร็ว เมตร/วินาที ความเร่ง a(t) = v’(t) = s”(t) = g =9.8 เมตร/วินาที2

ตัวอย่างที่ 5 การจำลองการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง ตัวอย่างที่ 5 การจำลองการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง ดินระเบิดดันหินขึ้นด้วยความเร็วเริ่มต้น 160 ฟุต/วินาที ดังรูป หินขึ้นถึงความสูง ฟุต หลังจาก t วินาที ก) หินจะขึ้นได้สูงสุดเท่าใด ข) จงหาความเร็วและอัตราเร็วของหิน ขณะที่สูงจาก พื้นดิน 256 ฟุต ตอนเคลื่อนที่ขึ้นและตอนเคลื่อนที่ลง ค) จงหาความเร่งของหินที่เวลาใดๆ หลังจากถูกระเบิด ง) จงหาเวลาที่หินตกกระทบพื้นดินอีกครั้งหนึ่ง วิธีทำ ก) ที่จุดสูงสุด , 160-32t = 0 หรือ t = 5 วินาที ฟุต

ข) จาก , t = 2 , 8 s ความเร็วของหิน ณ สองเวลานี้คือ v(2) = 160-32(2) = 96 ฟุต/วินาที (วิ่งขึ้น) v(8) = 160-32(8) = -96 ฟุต/วินาที (วิ่งลง) ค) ความเร่ง ณ เวลาใดๆ ฟุต/วินาที2 (ทิศลง) ง) หินตกกระทบพื้นดิน เมื่อ s = 0 t = 0, 10 วินาที

ความไวต่อการเปลี่ยนแปลง อนุพันธ์ เป็นตัววัดความไวของการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชัน กราฟของ y กับ x ในรูป บอกให้รู้ว่าค่าของ y มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงของ x เมื่อ x มีค่าน้อย มากกว่าเมื่อ x มีค่ามาก

กฎข้อที่ 5 อนุพันธ์ของผลคูณ (Derivative Product Rule) ถ้า u และ v หาอนุพันธ์ได้ที่ x แล้ว อนุพันธ์ของผลคูณ uv คือ พิสูจน์

ตัวอย่างที่ 1 การใช้อนุพันธ์ผลคูณ จงหาอนุพันธ์ของ วิธีทำ ใช้กฎอนุพันธ์ผลคูณด้วยการให้ และ ดังนั้น

ตัวอย่างที่ 2 อนุพันธ์จากค่าตัวเลข ให้ y = uv จงหา ถ้า u(2) = 3, = -4, v(2) = 1, = 2 วิธีทำ จากกฎผลคูณ เราจะได้ = (3)(2) + (1)(-4) = 2 กฎข้อที่ 6 อนุพันธ์ของผลหาร (Derivative Quotient Rule) ถ้า u และ v หาอนุพันธ์ได้ที่ x และ v(x)  0 แล้ว อนุพันธ์ของผลหารย่อมหาได้เป็น

ตัวอย่างที่ 3 การใช้กฎผลหาร จงหาอนุพันธ์ของ วิธีทำ จากกฎผลหารโดยให้ และ จะได้ กฎข้อที่ 7 ถ้า n เป็นเลขจำนวนเต็มลบ และ x  0 แล้ว (เหมือนกับกฎยกกำลังของเลขจำนวนเต็มบวก)

ตัวอย่างที่ 5 จงหาเส้นสัมผัสกับเส้นโค้ง ตัวอย่างที่ 4 การใช้กฎข้อที่ 7 ก) ข) ตัวอย่างที่ 5 จงหาเส้นสัมผัสกับเส้นโค้ง ที่จุด (1,3) วิธีทำ ความชันของเส้นโค้งคือ สมการเส้นสัมผัส คือ หรือ

ตัวอย่างที่ 6 การเลือกใช้กฎ ในโจทย์ข้อนี้ถ้าทำโดยการใช้กฎผลคูณ หาอนุพันธ์ของ และกฎผลหารจะทำให้เสียเวลามาก กระจายเศษ แล้วหารแต่ละตัวด้วย จะได้ แล้วใช้กฎผลบวกและกฎยกกำลัง จะได้

อนุพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติ มนุษย์เราต้องเกี่ยวข้องกับข้อมูลที่เป็นคาบ เช่น สนามแม่เหล็กไฟฟ้า การเต้น ของหัวใจ กระแสน้ำ อากาศ ฯลฯ ข้อมูลเหล่านี้มักจะเขียนในรูปของไซน์ (sine) หรือ โคไซน์(cosine)ได้ ดังนั้นการหาอนุพันธ์ของไซน์ และ โคไซน์จะมีบทบาท ในการบรรยายการเปลี่ยนแปลงแบบคาบ อนุพันธ์ของฟังก์ชันไซน์

ตัวอย่างที่ 1 หาอนุพันธ์ที่เกี่ยวกับไซน์ ก) ข) อนุพันธ์ของฟังก์ชันโคไซน์

Figure 2.25: The curve y´ = –sin x as the graph of the slopes of the tangents to the curve y = cos x. อนุพันธ์ของ

ตัวอย่างที่ 2 กฎการอนุพันธ์ ก) ข)

การเคลื่อนที่แบบซิมเปิ้ลฮาร์โมนิค ตัวอย่างที่ 3 การเคลื่อนที่บนสปริง ตัวอย่างที่ 3 การเคลื่อนที่บนสปริง วัตถุแขวนบนสปริง และถูกยึดออก 5 หน่วยจากตำแหน่งหยุดนิ่ง แล้วปล่อยที่เวลา t = 0 ให้ เคลื่อนที่ขึ้นลง ตำแหน่ง ณ เวลา t เป็น s = 5cos t จงหาความเร็วและความเร่ง ณ เวลา t ใดๆ วิธีทำ ตำแหน่ง: ความเร็ว: s v a ความเร่ง:

ตัวอย่างที่ 4 jerk jerk ของการเคลื่อนที่แบบซิมเปิ้ลฮาร์โมนิคในตัวอย่างที่ 3 คือ มีค่าสูงสุดเมื่อ อนุพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติพื้นฐานอื่นๆ จาก

กฎลูกโซ่ (chain rules) Figure 2.28: When gear A makes x turns, gear B makes u turns and gear C makes y turns. By comparing circumferences or counting teeth, we see that y = u/2 and u = 3x, so y = 3x/2. Thus, dy/du = 1/2, du/dx = 3, and dy/dx = 3/2 = (dy/du)(du/dx). กฎลูกโซ่ (chain rules)

ทฤษฎีบทที่ 3 กฎลูกโซ่ (The Chain Rule) ถ้า f (u) หาอนุพันธ์ได้ที่จุด u = g(x) และ g(x) หาอนุพันธ์ได้ที่จุด x แล้ว ฟังก์ชัน ประกอบ ย่อมหาอนุพันธ์ได้ที่ x และ ถ้าให้ และ จะได้ ตัวอย่างที่ 1 หาอนุพันธ์ด้วยกฎลูกโซ่ จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน หรือ วิธีทำ ให้ ดังนั้น

ตัวอย่างที่ 2 การประยุกต์ใช้กฎลูกโซ่ วัตถุเคลื่อนที่ไปตามแกน x โดยตำแหน่งที่เวลา ถูกกำหนดโดย จงหาความเร็วของวัตถุที่เวลา ใดๆ วิธีทำ ให้ ดังนั้น ความเร็วคือ ตัวอย่างที่ 3 อนุพันธ์จากข้างนอกไปข้างใน จงหาอนุพันธ์ของ เทียบกับ x วิธีทำ

การใช้กฎลูกโซ่ซ้ำ บางครั้งเราอาจต้องใช้กฎลูกโซ่ซ้ำหลายครั้งเพื่อหาอนุพันธ์ ตัวอย่างที่ 4 ลูกโซ่ 3 ครั้ง จงหาอนุพันธ์ของ วิธีทำ จากกฎลูกโซ่จะได้

ความชันของโค้งตัวแปรเสริม หาอนุพันธ์ได้ที่ ถ้า และ หาอนุพันธ์ได้ที่ เราเรียก ว่าตัวแปรเสริม (parameter) อนุพันธ์ dy/dt, dx/dt และ dy/dx เกี่ยวข้องกัน ตามกฎลูกโซ่ดังนี้ ดังนั้น โดยที่ ตัวอย่างที่ 5 การอนุพันธ์ด้วยตัวแปรเสริม จงหาเส้นสัมผัสกับไฮเพอร์โบลาขวามือ ที่มีสมการอิงตัวแปรเสริมเป็น ที่จุด เมื่อ วิธีทำ ที่ และ

ดังนั้น ที่ สมการของเส้นสัมผัสคือ ทำนองเดียวกัน โดยที่

ตัวอย่างที่ 6 การหา ของโค้งอิงตัวแปรเสริม จงหา ในเทอมของ ถ้า วิธีทำ หา ในเทอมของ ก่อน หา โดยใช้สูตรผลหาร หา

กฎลูกโซ่ยกกำลัง (Power Chain Rule) จากกฎลูกโซ่ ถ้า จะได้ ตัวอย่างที่ 7 หาความชันของเส้นสัมผัส ก) จงหาความชันของเส้นสัมผัสกับโค้ง ที่จุด ข) จงแสดงว่าความชันของทุกเส้นสัมผัสกับโค้ง เป็นบวก วิธีทำ ก) (ในที่นี้ให้ ดังนั้น เส้นสัมผัสที่

ซึ่งเป็นบวกเสมอทุกค่า x ยกเว้นที่ x = 1/2 ข) ซึ่งเป็นบวกเสมอทุกค่า x ยกเว้นที่ x = 1/2 ตัวอย่างที่ 8 ก้อนน้ำแข็งละลาย จงหาเวลาที่ทำให้ก้อนน้ำแข็งละลาย วิธีทำ สร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ สมมติให้ก้อนน้ำแข็งรูปลูกบาศก์ยังคงรูปลูกบาศก์ตลอดเวลาที่ละลายให้แต่ละด้านยาว s ดังนั้นปริมาตร และพื้นที่ผิว สมมติให้ V และ s เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ของเวลา t และให้ปริมาตรของลูกบาศก์ลดลงในอัตราที่เป็นสัดส่วนกับพื้นที่ผิว ดังนั้น

tละลาย สมมติว่าสำหรับสภาพหนึ่ง ลูกบาศก์ปริมาตรลดลง ของปริมาตรเดิม สำหรับ 1 ชั่วโมงแรก ในเชิงคณิตศาสตร์เราสามารถเขียนได้ดังนี้กำหนดให้ h และ เมื่อ เมื่อ ต้องการหาค่าของ t เมื่อ ดังนั้นใช้กฎลูกโซ่หาอนุพันธ์ของ เทียบกับ t หรือ แสดงว่า แต่ละด้านลดลงด้วยอัตราคงที่ 2k หน่วยต่อชั่วโมง ให้แต่ละด้านเดิมยาวเท่ากับ ความยาวที่เวลา 1 ชั่วโมง ถัดมาคือ หรือ ดังนั้นเวลาที่ใช้ในการละลายคือ t ที่ทำให้ tละลาย แต่ = h =

การหาอนุพันธ์โดยปริยาย ใช้ในกรณีที่หา ได้ยาก เช่น วิธีการคือหาอนุพันธ์ทั้งสองข้างของสมการเทียบกับ x แล้วค่อยหา ตัวอย่างที่ 1 การอนุพันธ์เชิงปริยาย จงหา ถ้า วิธีทำ ปกติเราจะหา นั่นคือ และ และ วิธีโดยปริยาย จะได้คำตอบเดียวกัน

ตัวอย่างที่ 2 การอนุพันธ์เชิงปริยาย จงหา ถ้า วิธีทำ หาอนุพันธ์ทั้งสองข้างเทียบกับ x

ตัวอย่างที่ 3 เส้นสัมผัสและเส้นตั้งฉาก แล้วหาเส้นสัมผัส จงแสดงว่าจุด (2, 4) อยู่บนโค้ง และเส้นตั้งฉากกับโค้งที่จุดดังกล่าว วิธีทำ แทนค่า x = 2, y = 4 ในสมการ จะได้ 0 แสดงว่าจุด (2, 4) อยู่บนเส้นโค้ง

เส้นสัมผัสโค้งที่ (2, 4) มีความชัน คือ หรือ เส้นตั้งฉากกับโค้งที่ (2, 4) และมีความชัน คือ หรือ ตัวอย่างที่ 4 การหาอนุพันธ์โดยปริยายอันดับสอง จงหา ถ้า วิธีทำ หาอนุพันธ์เทียบกับ x ทั้งสองข้าง

ตัวอย่างที่ 5 การใช้กฎยกกำลังตรรกยะ ก) ข) ตัวอย่างที่ 6 การใช้กฎยกกำลังตรรกยะและกฎลูกโซ่ ก) ข)

อัตราสัมพันธ์ (Related Rates) คือการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของอัตราการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร สมการอัตราสัมพันธ์ ถ้าอนุภาคที่ P(x, y) เคลื่อนที่ไปตามโค้ง C โดยที่พิกัด x และ y เป็นฟังก์ชันที่หา อนุพันธ์ได้กับ t และถ้า D คือระยะห่างจากจุดกำเนิด โดยกฎลูกโซ่เราสามารถ หาสมการที่สัมพันธ์กันของ dD/dt, dx/dt และ dy/dt ได้ดังนี้

ตัวอย่างที่ 1 การหาสมการอัตราสัมพันธ์ กรวยรัศมี r และความสูง h เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ของเวลา t และ V เป็นปริมาตรของกรวย จงหาสมการความสัมพันธ์ระหว่าง และ วิธีทำ จากสูตรปริมาตรกรวย หาอนุพันธ์เทียบกับ t ทั้งสองข้างโดยปริยาย จะได้

ตัวอย่างที่ 2 สูบน้ำออกจากถัง จงหาว่าระดับน้ำในถังรูปทรงกระบอกตั้งจะลดลงไวแค่ไหน หากเราสูบน้ำออก จากถังด้วยอัตรา 3000 ลิตรต่อนาที วิธีทำ ให้ r = รัศมีของถัง = ค่าคงที่ h = ความสูงของน้ำในถัง V = ปริมาตรของน้ำในถัง จากสูตรปริมาตรของรูปทรงกระบอก V = 1000 r2 h หาอนุพันธ์เทียบกับ t ทั้งสองข้างโดยปริยาย

ขั้นตอนการแก้ปัญหาอัตราสัมพันธ์ ขั้นที่ 1 เขียนรูป กำหนดตัวแปรและค่าคงที่ที่เกี่ยวข้อง ขั้นที่ 2 เขียนสมการความสัมพันธ์ของตัวแปร และค่าคงที่ต่างๆ ขั้นที่ 3 หาอนุพันธ์เทียบกับ t โดยปริยายทั้งสองข้างของสมการ จะได้ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราต่างๆ ขั้นที่ 4 แทนค่าอัตราที่รู้รวมทั้งค่าที่รู้ทั้งหมดเพื่อหาอัตราที่ต้องการ ตัวอย่างที่ 3 บอลลูนกำลังลอยขึ้น บอลลูนอากาศร้อนถูกปล่อยจากพื้นราบขึ้นตรงในแนวดิ่ง ผู้สังเกตอยู่ห่างจากจุด ปล่อย 500 ฟุตเพื่อวัดมุมยกที่เกิดขึ้น ขณะที่มุมยกเท่ากับ มุมเพิ่มขึ้นในอัตรา 0.14 rad/นาที จงหาว่าบอลลูนลอยขึ้นไวเท่าไร ในขณะนั้น วิธีทำ ขั้นที่ 1: เขียนรูปดังแสดงในรูป

ให้ = มุมยกจากพื้น (rad) y = ความสูงของบอลลูน(ฟุต) t = เวลา (นาที) Figure 2.43: The balloon in Example 3. ให้ = มุมยกจากพื้น (rad) y = ความสูงของบอลลูน(ฟุต) t = เวลา (นาที) สมมุติว่า  และ y เป็นฟังก์ชันที่ หาอนุพันธ์ได้ของ t ขั้นที่ 2: เขียนความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรและได้เป็น หรือ ขั้นที่ 3: หาอนุพันธ์เทียบกับ t โดยปริยายทั้งสองข้างของสมการ ขั้นที่ 4: แทนค่า และ 0.14 rad/นาที จะได้อัตราที่บอลลูนลอยขึ้นเป็น ฟุต/นาที

ตัวอย่างที่ 4 การตรวจจับความเร็ว ตัวอย่างที่ 4 การตรวจจับความเร็ว รถตำรวจกำลังวิ่งจากทางเหนือ เข้าหาสี่แยกมุมฉาก เพื่อไล่ตามรถวิ่งเร็วเกินกำหนดที่เลี้ยวมา แล้ว และวิ่งไปทางทิศตะวันออก ขณะที่รถตำรวจอยู่ห่าง 0.6 ไมล์จากสี่แยก และรถวิ่งเร็วเกิน กำหนดอยู่ห่าง 0.8 ไมล์จากสี่แยก ตำรวจในรถได้ใช้เรดาร์ตรวจจับระยะทางพบว่า ระยะทาง ระหว่างรถทั้งสองคันเพิ่มขึ้นในอัตรา 20 ไมล์/ชั่วโมง ถ้ารถตำรวจกำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 60 ไมล์/ชั่วโมงในขณะนั้น จงหาความเร็วของรถที่วิ่งเร็วเกินกำหนด วิธีทำ ขั้นที่ 1: เขียนรูปดังแสดงในรูป ให้ x = ตำแหน่งของรถที่วิ่งเร็วเกิน กำหนดที่เวลา t y = ตำแหน่งของรถตำรวจที่เวลา t s = ระยะห่างระหว่างรถทั้งสองที่เวลา t ให้ x, y, s เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ของ t

ขั้นที่ 2: หาความสัมพันธ์ระหว่าง s, x และ y Figure 2.44: Figure for Example 4. ขั้นที่ 2: หาความสัมพันธ์ระหว่าง s, x และ y ขั้นที่ 3: อนุพันธ์เทียบกับ t ทั้งสองข้างของสมการ ขั้นที่ 4: แทนค่า จะได้ความเร็วของรถ ที่มีวิ่งเร็วเกินกำหนด หรือ ไมล์/ชั่วโมง

ตัวอย่างที่ 5 เติมน้ำถังรูปกรวย Figure 2.45: The conical tank in Example 5. ตัวอย่างที่ 5 เติมน้ำถังรูปกรวย เติมน้ำเข้าไปในถังรูปกรวยหงายด้วยอัตรา 9 ลูกบาศก์ฟุต/นาที กรวยสูง 10 ฟุต และมี ฐานรัศมี 5 ฟุต จงหาว่าระดับน้ำจะสูงขึ้น ด้วยอัตราเท่าไรในตอนที่ระดับน้ำอยู่ที่ 6 ฟุตจากพื้นถัง วิธีทำ ขั้นที่ 1: เขียนรูปดังแสดงในรูป ให้ V = ปริมาตรของน้ำในถังที่เวลา t x = รัศมีของผิวน้ำที่เวลา t y = ความสูงของน้ำที่เวลา t ให้ V, x, y เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ของ t

ขั้นที่ 2: จากสูตรของปริมาตรกรวย และจากสามเหลี่ยมคล้าย หรือ จะได้ สูตรปริมาตรเป็น ขั้นที่ 3: อนุพันธ์เทียบกับ t ทั้งสองข้างของสมการ ขั้นที่ 4: แทนค่า จะได้อัตราการเพิ่มของระดับน้ำเป็น ฟุต/นาที