บทที่ 9 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PCT ศัลยกรรม น.พ.วริษฐ์ คลอวุฒิวัฒน์
Advertisements

Prepared by Roger Brubaker, CBOD 123
“Non Electrolyte Solution”
7.3 Example of solution of Poisson’s Equation
บทที่ 5 ระบบการป้องกันไฟไหม้และระเบิด
PE Bag – large size (ถุงพลาสติกใหญ่ PE)
หัวข้อนำเสนอกลุ่ม 2 ดมยาด้วยหัวใจปลอดภัยไร้กังวล
หลักสำคัญในการล้างมือ
การใช้ Ultassound ในการประเมิณคุณภาพซากขณะมีชีวิตในโคเนื้อ
Role of orthotic& Footwear
การทำแผลชนิดแห้ง( Dry dressing )
Diabetic Foot แผลเบาหวาน กับ การดูแล ป้องกัน
Ventilator - Associated Pneumonia : VAP
Facilitator: Pawin Puapornpong
การเตรียมพร้อมผู้ป่วยก่อนการส่งต่อ
Wound classification Wound Healing.
เครื่องวัดความร้อน.
การป้องกันการติดเชื้อจากการให้สารน้ำ ทางหลอดเลือดดำส่วนกลาง
Complications in orthopaedics Teerakorn wongwises MD.
การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
Vaginal foreign body removal (Child) Facilitator: Pawin Puapornpong.
“นโยบายการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ จากการจราจรในเมืองใหญ่”
Complications in orthopaedics
โรคหลังการเก็บเกี่ยว
ความหมายของกระดูกหัก
การสูญเสียน้ำ.
ปั๊มลม FIAC โดย ธนวัฒน์ ก้านบัว.
สื่อประเภทเครื่องฉาย
โดย…ศรีอัมพร หนูกลับ นักวิทยาศาสตร์ ภาควิชาเภสัชวิทยา
Facilitator: Pawin Puapornpong
อันตรายจากการประกอบอาชีพที่สัมผัสกับสารเคมีและสารกำจัดศัตรูพืช
Welcome IS Team IS
การช่วยคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ 22 พฤษภาคม 2552.
Raviwan Omaree, RN. Infection Control Nurse : ICN Chomethong Hospital
BONE INFECTION (osteomyelitis)
Power Point ประกอบการจัดการเรียนรู้
หลักการและเทคนิคการเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
หมวด ง. งานดิน งานดิน ขุดดิน ถมดิน บดอัดดิน. หมวด ง. งานดิน งานดิน ขุดดิน ถมดิน บดอัดดิน.
Facilitator: Pawin Puapornpong
การเบิกจ่าย ค่าชดเชยการรักษา (E-Claim palliative)
(Introduction to Soil Science)
การตัดชิ้นเนื้อตรวจปากมดลูก (Cervical punch biopsy)
ประเภทของสุ่มตัวอย่าง
น้ำในดิน (Soil Water).
Facilitator: Pawin Puapornpong
/ Soil Fertility and Plant Nutrition
ชี้แจงการอัปโหลดข้อมูล จปฐ. ปี 2561
การสำรวจ ประมาณราคาและการควบคุมงาน
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ผลการเข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติและเสวนาวิชาการ
บริบท เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 30 เตียง และเปิดให้บริการ 38 เตียง
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคล ด้านการขับถ่ายปัสสาวะ
คำขอแก้ไขรายการขึ้นทะเบียน
ระบบไอดีไอเสียรถยนต์
คำขอแก้ไขรายการขึ้นทะเบียน
เอกภพ หรือ จักรวาล เอกภพ หรือ จักรวาล (Universe) เป็นระบบที่ใหญ่ที่สุดและไร้ขอบเขต และเป็นห้วงอวกาศที่เต็มไปด้วยดวงดาวจำนวนมหาศาล ซึ่งเราจะเรียกดวงดาวที่เกาะกันเป็นกลุ่มว่า.
ตัวต้านทานไฟฟ้า (Resistor)
ประวัติการพิมพ์ออฟเซต
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ในการเขียน แบบ ก.พ.อ 03 ปรับปรุง / 2
สมบัติของเลขยกกำลัง (Properties of Exponent)
การประชุมผ่านระบบ VDO CONFERENCE 6 ธันวาคม 2560 เวลา – น
การปฐมพยาบาลผู้ที่กระดูกหัก และได้รับบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อ และข้อต่อ
โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic)
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care
การผ่าตัดเสริมซิลิโคน
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 9 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ อ.กรวรรณ สุวรรณสาร

ชนิดของบาดแผล 1.แบ่งตามความสะอาดของแผล แผลสะอาด (clean wound) แผลกึ่งสะอาดกึ่งปนเปื้อน (clean-contaminated wound) แผลปนเปื้อน (contaminated wound) แผลติดเชื้อหรือแผลสกปรก (infected wound/dirty wound)

ชนิดของบาดแผล 2.แบ่งตามลักษณะการทำลายของผิวหนัง แผลปิด (closed wound); แผลฟกช้ำ (contusion/bruise) แผลกระทบกระเทือน (concussion) แผลแตก (rupture) แผลจากการผ่าตัด (surgical incision) แผลเปิด (opened wound); แผลถลอก (abrasion wound) แผลฉีกขาด (laceration wound) แผลตัด (incision/ cut wound) แผลทะลุทะลวง (penetration wound) แผลที่มีเนื้อเยื่อขาดหรือหลุดออกจากร่างกาย (avulsion wound) แผลถูกระเบิด (explosive wound)

ชนิดของบาดแผล 3.แบ่งตามสาเหตุของการเกิดบาดแผล แผลเกิดโดยเจตนา (intention wound) แผลเกิดโดยไม่เจตนา (unintentional wound) 4.ตามระยะเวลาที่เกิดแผล แผลสด แผลเก่า แผลเรื้อรัง 5.แผลประเภทอื่น ๆ

การหายของแผล (wound healing) ที่มา (Craven&Hirnle, 2009, p. 1000)

ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของแผล อายุ ¤ภาวะโภชนาการ สภาวะของโรค ¤ ยา บุหรี่ ¤ ความเครียด ความอ้วน ¤ ระบบการไหลเวียนโลหิต การติดเชื้อ ¤ ลักษณะของแผล การเคลื่อนไหว ¤ สิ่งแปลกปลอมภายในแผล การผ่าตัด ¤ เทคนิคการเย็บแผล/ ทำแผล อุณหภูมิของแผล ¤ น้ำยาที่ใส่แผล รังสีรักษา

การดูแลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ 1.การพักผ่อนร่างกายและอวัยวะที่มีบาดแผล 2.การทำความสะอาดบาดแผล 3.การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตมายังบาดแผล 4.การยกบริเวณที่มีบาดแผลไว้สูง 5.การส่งเสริมให้ได้รับสารอาหาร 6.การลดความเจ็บปวดจากแผล 7.การส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคล

การทำแผล (dressing) หลักการทำแผล ล้างแผลให้สะอาด ทำแผลที่สะอาดกว่าก่อน กำจัดเนื้อตายหรือสิ่งแปลกปลอมออกจากแผล ระบายของเหลวที่ตกค้าง อย่าให้แผลกระทบกระเทือน ห้ามเลือดก่อนปิดแผล

วัตถุประสงค์ของการทำแผล ให้สภาวะที่ดีเหมาะแก่การงอกของเนื้อเยื่อ ดูดซึมสิ่งขับหลั่ง จำกัดการเคลื่อนไหวของแผลให้อยู่นิ่ง ให้ความชุ่มชื้นกับพื้นผิวของแผล ป้องกันไม่ให้ผ้าปิดแผลติดและดึงรั้งเนื้อเยื่อที่งอกใหม่ ป้องกันแผลหรือเนื้อเยื่อที่เกิดใหม่จากสิ่งกระทบกระเทือน ป้องกันแผลปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ การห้ามเลือด ผู้ป่วยสุขสบาย

น้ำยาที่ใช้สำหรับทำแผล 0.9% normal saline •70% Alcohol 10% Providone-iodine solution 3% Hydrogenperoxide • Tincture benzoin 2.5% Tincture iodine • Mercurochrome Zinc paste • Benzene, Acetone Dakin’s solution/ hyperchlorite solution

อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล; ชุดทำแผลปราศจากเชื้อ (sterile dressing set) , สารละลาย/ น้ำยา (solution)

อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล Y-gauze gauze Vaseline gauze transparent film hydrocolloid วัสดุสำหรับปิดแผล

อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล transpore micropore leucopore

อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล Metzenbaum Suture scissors curette probe

ชนิดของการทำแผล การทำแผลชนิดแห้ง (dry dressing) การทำแผลชนิดเปียก (wet dressing) การทำแผลที่มีท่อระบาย ท่อระบาย (drain) การทำแผลที่ต้องใช้แรงกด (pressure dressing) การชะล้างแผล (wound irrigation) ที่มา (Taylor, et al., 2008, p. 1212) ที่มา (Taylor, et al., 2008, p. 1216)

วิธีการตัดไหม (stitch off) 1.ตรวจสอบคำสั่งการรักษาของแพทย์ 2. ก่อนและหลังการตัดไหมทุกครั้ง เช็ดด้วยแอลกอฮอล์ 70% 3. ไม่ดึงไหมส่วนที่มองเห็นลอดผ่านใต้ผิวหนัง 4. ตัดไหมส่วนที่ชิดผิวหนัง ใต้ปมที่ผูกไว้ ดึงไหมออกให้ 5.ขอบแผลแยกให้หยุด และปิดด้วยวัสดุที่ช่วยดึงรั้งขอบแผล 6. หลังตัดไหมปิดทับด้วยผ้าก๊อซบาง ๆ และอย่าให้แผลสกปรกหรือถูกน้ำ 7. แนะนำผู้ป่วยเกี่ยวกับการดูแลแผล หากผิดปกติให้มาพบแพทย์ก่อนวันนัด  การตัดไหม (ภาพซ้าย) การดึงลวดเย็บแผล (ภาพขวา) ที่มา (Taylor, et al., 2008, p. 1219)

การใช้ผ้าพันแผล สิ่งที่ควรคำนึงถึง 1. สภาพผิวหนัง 2. บริเวณที่พันผ้าต้องสะอาด 3. ไม่พันแน่นหรือหลวมเกินไป 4. พันจากส่วนปลายขึ้นไปข้างบน และพันจากส่วนเล็กไปหาส่วนใหญ่ 5. ตรวจสอบแผนการรักษา 6. ประเมินความสามารถในการเคลื่อนไหวของอวัยวะที่จะพันผ้า

การใช้ผ้าพันแผล การพันเกลียว การพันเป็นรูปเลขแปด

จบการนำเสนอบทที่ 9 นักศึกษาสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเอกสารประกอบการสอน และหนังสือตามที่ปรากฏรายชื่ออยู่ในบรรณานุกรมท้ายบทที่ 9