งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
บทที่ 10 การดูแลบาดแผล ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช

2 ภายหลังจบบทเรียนผู้เรียนสามารถ
บทที่ 10 การดูแลบาดแผล ภายหลังจบบทเรียนผู้เรียนสามารถ 1.อธิบายความหมายแนวคิดบาดแผลได้ 2. อธิบายการปฐมพยาบาลผู้ประสบภัยหรือ ผู้บาดเจ็บที่มีบาดแผล ได้ 3. สามารถเตรียมการทำแผลให้พยาบาลได้ วัตถุประสงค์

3 คำถามก่อนเรียน นักศึกษาเคยเจออุบัติเหตุและ พบบาดแผลไหม

4 ในภาวะปัจจุบัน รถมีมาก อุบัติเหตุมีมาก
1. แนวคิดของการพยาบาล ในภาวะปัจจุบัน รถมีมาก อุบัติเหตุมีมาก ดังนั้นในฐานะผชพยาบาลต้องเรียนรู้ ในเรื่องการปฐมพยาบาลผู้ประสบภัยหรือ ผู้บาดเจ็บที่มีบาดแผล

5 การปฐมพยาบาลผู้ประสบภัย
การปฐมพยาบาล หมายถึง การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้บาดเจ็บหรือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุ โดยอุปกรณ์ที่มีอยู่หรือเท่าที่สามารถหาได้ ก่อนนำส่งแพทย์หรือโรงพยาบาล

6 การปฐมพยาบาล(ต่อ) วัตถุประสงค์ของการปฐมพยาบาลเพื่อ 1. ช่วยชีวิต
1. ช่วยชีวิต 2 บรรเทาความเจ็บปวด ลดอันตราย หรือป้องกันมิให้เกิดความพิการ 3 ส่งเสริมให้กลับคืนสู่สภาพเดิมได้เร็วขึ้น

7 การปฐมพยาบาล(ต่อ) คุณสมบัติของนักปฐมพยาบาล
1 มีความรู้และทักษะการปฐมพยาบาล 2 สามารถควบคุมสติ และมีจิตวิทยาในการให้กำลังใจ มีความละเอียดรอบคอบในการสังเกตลักษณธอาการต่าง ๆ สามารถประยุกต์อุปกรณ์ที่มีอยู่

8 การปฐมพยาบาล(ต่อ) คุณสมบัติของนักปฐมพยาบาล
1 มีความรู้และทักษะการปฐมพยาบาล 2 สามารถควบคุมสติ และมีจิตวิทยาในการให้กำลังใจ มีความละเอียดรอบคอบในการสังเกตลักษณะอาการต่าง ๆ สามารถประยุกต์อุปกรณ์ที่มีอยู่

9 บาดแผล(Wound) หมายถึง : การชอกช้ำและการฉีกขาดของผิวหนัง เนื้อเยื่อของร่างกาย ตามความรุนแรงของสิ่งที่มากระแทกและตำแหน่งที่เกิดบาดแผลนั้น ๆ

10 ชนิดของบาดแผล 1.แบ่งตามความสะอาดของบาดแผล แผลสะอาด (clean wound)
แผลกึ่งสะอาดกึ่งปนเปื้อน (clean-contaminated wound) แผลปนเปื้อน (contaminated wound) แผลติดเชื้อหรือแผลสกปรก (infected wound/dirty wound)

11 ชนิดของบาดแผล 2.แบ่งตามลักษณะการทำลายของผิวหนัง
แผลปิด (closed wound); แผลฟกช้ำ (contusion/bruise) แผลกระทบกระเทือน (concussion) แผลแตก (rupture) แผลจากการผ่าตัด (surgical incision) แผลเปิด (opened wound); แผลถลอก (abrasion wound) แผลฉีกขาด (laceration wound) แผลตัด (incision/ cut wound) แผลทะลุทะลวง (penetration wound) แผลที่มีเนื้อเยื่อขาดหรือหลุดออกจากร่างกาย (avulsion wound) แผลถูกระเบิด (explosive wound)

12 วิจัย:การดื่มสุราทำให้เด็กไทยเกิดอุบัติเหตุ
บาดเจ็บรุนแรงที่ศีรษะ 5,148 คน เฉลี่ยวันละ 14 คน ตายวันละ 1.5 คน = 4 เท่า ของโรคไข้เลือดออก !!

13 ชนิดของบาดแผล 2.แบ่งตามลักษณะการทำลายของผิวหนัง
แผลปิด (closed wound); แผลฟกช้ำ (contusion/bruise) แผลกระทบกระเทือน (concussion) แผลแตก (rupture) แผลจากการผ่าตัด (surgical incision)

14 แผลเปิด

15 ชนิดของบาดแผล 2.แบ่งตามลักษณะการทำลายของผิวหนัง
แผลเปิด (opened wound); แผลถลอก (abrasion wound) แผลฉีกขาด (laceration wound) แผลตัด (incision/ cut wound) แผลทะลุทะลวง (penetration wound) แผลที่มีเนื้อเยื่อขาดหรือหลุดออกจากร่างกาย (avulsion wound) แผลถูกระเบิด (explosive wound)

16 ชนิดของบาดแผล 3.แบ่งตามสาเหตุของการเกิดบาดแผล
แผลเกิดโดยเจตนา (intention wound) แผลเกิดโดยไม่เจตนา (unintentional wound) 4.ตามระยะเวลาที่เกิดแผล แผลสด แผลเก่า แผลเรื้อรัง 5.แผลประเภทอื่น ๆ

17 การหายของแผล (wound healing)
ที่มา (Craven&Hirnle, 2009, p. 1000)

18 ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
อายุ ¤ ลักษณะของแผล สภาวะของโรค ¤ ระบบการไหลเวียนโลหิต การติดการสร้างเนื้อเยื่อ ¤ สิ่งแปลกปลอมภายในแผล บุหรี่ ¤ เทคนิคการเย็บแผล/ ทำแผล ความอ้วน ¤ น้ำยาที่ใส่แผล รังสีรักษา ¤ ความเครียด การเคลื่อนไหว ¤ภาวะโภชนาการ ตำแหน่งการผ่าตัด ¤ ยา อุณหภูมิของแผล อาหาร การดูแลบาดแผล

19 การดูแลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ
1. การทำความสะอาดบาดแผล 2. การดูแลอวัยวะที่มีบาดแผลและการพักผ่อนร่างกาย 3.การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตมายังบาดแผล 4.การยกบริเวณที่มีบาดแผลไว้สูง 5.การส่งเสริมให้ได้รับสารอาหาร 6.การลดความเจ็บปวดจากแผล 7.การส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคล การดูแลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ

20 หลักการทำแผล (dressing)
ล้างแผลให้สะอาด sterile technique ทำแผลที่สะอาดกว่าก่อน กำจัดเนื้อตายหรือสิ่งแปลกปลอมออกจากแผล ระบายของเหลวที่ตกค้าง อย่าให้แผลกระทบกระเทือน ห้ามเลือดก่อนปิดแผล หลักการทำแผล (dressing)

21 น้ำยาที่ทำแผล (dressing)
0.9% normal saline •70% Alcohol 10% Providone-iodine solution 3% Hydrogenperoxide • Tincture benzoin 2.5% Tincture iodine • Mercurochrome - Zinc paste • Benzene, Acetone Dakin’s solution/ hyperchlorite solution น้ำยาที่ทำแผล (dressing)

22 ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล; ชุดทำแผลปราศจากเชื้อ (sterile dressing set) , สารละลาย/ น้ำยา (solution)

23 วัสดุสำหรับปิดแผล gauze Y-gauze Vaseline gauze hydrocolloid
transparent film

24 อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
transpore micropore leucopore

25 ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
Metzenbaum Suture scissors curette probe

26 สรุป ชนิดของการทำแผล การทำแผลชนิดแห้ง (dry dressing) การทำแผลชนิดเปียก
(wet dressing) การทำแผลที่มีท่อระบาย ท่อระบาย (drain) การทำแผลที่ต้องใช้แรงกด (pressure dressing) การชะล้างแผล (wound irrigation) ที่มา (Taylor, et al., 2008, p. 1212) ที่มา (Taylor, et al., 2008, p. 1216)

27 สรุป การหายของบาดแผล อายุ ¤ ลักษณะของแผล
อายุ ¤ ลักษณะของแผล สภาวะของโรค ¤ ระบบการไหลเวียนโลหิต การติดการสร้างเนื้อเยื่อ ¤ สิ่งแปลกปลอมภายในแผล บุหรี่ ¤ เทคนิคการเย็บแผล/ ทำแผล ความอ้วน ¤ น้ำยาที่ใส่แผล รังสีรักษา ¤ ความเครียด การเคลื่อนไหว ¤ภาวะโภชนาการ ตำแหน่งการผ่าตัด ¤ ยา อุณหภูมิของแผล อาหาร การดูแลบาดแผล

28 การใช้ผ้าพันแผล การใช้ผ้าพันแผลจากกรวรรณ สุวรรณสาร การพันเกลียว
การใช้ผ้าพันแผลจากกรวรรณ สุวรรณสาร การพันเกลียว การพันเป็นรูปเลขแปด

29 บาดแผลที่ผู้ประสบภัย
ศีรษะ ตา หู จมูก ดูการมีบาดแผล การมีเลือดออก บวม รูปร่างและสัดส่วนของกะโหลกศีรษะ และใบหน้า

30 บาดแผลที่ผู้ประสบภัย
แขนขา ดูการผิดรูป แผล จำนวนนิ้วมือ นิ้วเท้า การบวมและการชอกช้ำ ประเมินการไหลเวียนของเลือดที่มาหล่อเลี้ยง การรับความรู้สึก และความสามารถในการเคลื่อนไหว คลำเพื่อประเมินความเจ็บปวด และชีพจร

31 บาดแผลที่ผู้ประสบภัย
แขนขา ดูการผิดรูป แผล จำนวนนิ้วมือ นิ้วเท้า การบวมและการชอกช้ำ ประเมินการไหลเวียนของเลือดที่มาหล่อเลี้ยง การรับความรู้สึก และความสามารถในการเคลื่อนไหว คลำเพื่อประเมินความเจ็บปวด และชีพจร

32 วิธีปฐมพยาบาลเมื่อมีบาดแผล(ต่อ)
วิธี แก้เมื่อโดนน้ำกรด ด่วนคร้าบ Back วิธีปฐมพยาบาลเมื่อมีบาดแผล(ต่อ) ลักษณะบาดแผล สาเหตุ/อาการ/อาการแสดง การปฐมพยาบาล แผลฉีกขาดขนาดใหญ่(กว้างและลึก) แผลอวัยวะตัดขาด มีการฉีกขาดของเนื้อเยื่อ กล้ามเนื้อ หลอดเลือด อาจมีกระดูกหักร่วมด้วย มีเลือดออกมาก อาจเสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อกจากการเสียเลือดและเสียชีวิต ส่วนของอวัยวะถูกตัดขาดออกจากกันเลือดออกมาก อาจเกิดภาวะช็อกจากการเสียเลือดและเสียชีวิต อาจสูญเสียอวัยวะถ้าเก็บไม่ถูกวิธี -เน้นเรื่องการห้ามเลือดและป้องกันภาวะช็อกจากการเสียเลือดและเสียชีวิต ห้ามเลือดและป้องกันภาวะช็อกจากการเสียเลือดและเสียชีวิต -นำอวัยวะส่วนที่ขาดใส่ถุงพลาสติกที่สะอาดและแห้ง มัดปากถุงให้แน่น(เขียนชื่อ-สกุลเวลาที่เกิดที่เหตุ) -รีบนำส่งโรงพยาบาล

33 วิธีปฐมพยาบาลเมื่อมีบาดแผล
วิธี แก้เมื่อโดนน้ำกรด ด่วนคร้าบ Back วิธีปฐมพยาบาลเมื่อมีบาดแผล ลักษณะบาดแผล สาเหตุ/อาการ/อาการแสดง การปฐมพยาบาล แผลฟกช้ำ เป็นการฉีกขาดของเนื้อเยื่อ หลอดเลือดใต้ผิวหนัง บาดแผลมีลักษณะ บวม ซ้ำซึ่งอันตรายขึ้นอยู่กับตำแหน่งของบาดแผล เช่น ถูกกระแทกศีรษะ มีเลือดคั่งในสมอง อวัยวะภายในแตก ฉีกขาด หรือมีการเสียเลือดมาก -ประคบด้วยความเย็นใน 24 ชม -ประคบด้วยความร้อนหลัง 24 ชม เพื่อให้ก้อนเลือดละลายดูดซึมกลับ -กรณีแผลซ้ำบริเวณอวัยวะสำคัญ เช่นถูกกระแทกที่ศีรษะ ช่องท้องช่องให้รีบนำส่งโรงพยาบาล

34 วิธีปฐมพยาบาลเมื่อมีบาดแผล(ต่อ)
วิธี แก้เมื่อโดนน้ำกรด ด่วนคร้าบ Back วิธีปฐมพยาบาลเมื่อมีบาดแผล(ต่อ) ลักษณะบาดแผล สาเหตุ/อาการ/อาการแสดง การปฐมพยาบาล แผลถลอก/แผลฉีกขาดตื้น ๆ ผิวหนังชั้นกำพร้าและหนังแท้ถูกทำลายตื้นๆมีการฉีกขาดของหลอดเลือดฝอยเลือดออกซึมๆไม่มาก อันตรายอาจจะเกิดการติดเชื้อไม่พบอันตรายเสียเลือดมาก เน้นความสะอาด โดยการล้างด้วยน้ำและสบู่ -อาจต้องฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก

35 3. การช่วยพยาบาล ท่านอยู่ในสถานการณ์บาดแผล นี้ทำอย่างไร

36

37 test Test เป้าหมายระยะแรกของ ภาวะฉุกเฉิน เช่น การกรีดข้อมือทำร้ายตนเอง คือข้อใด 1.การทำแผล 2.การได้ตระหนักถึงปัญหา (insight) ที่เกิดขึ้น 3.การทำแผลและการยอมรับปัญหาที่เกิดขึ้นได้ 4.การสามารถกลับไปทำหน้าที่ได้ตามปกติเหมือนก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน

38 1.บาดแผลแบ่งตามการทำลายของ ผิวหนังมีอย่างไรบ้าง
Test สอบหลังเรียน 1.บาดแผลแบ่งตามการทำลายของ ผิวหนังมีอย่างไรบ้าง 2. หลักการทำแผลมีอะไรบ้าง 3.อุปกรณ์และน้ำยาทำแผลมีอะไรบ้าง 4. วิธีปฐมพยาบาลเมื่อมีบาดแผลฟกช้ำ ต่างจากแผลฉีกขาดอย่างไร 5.

39 1.

40 Test เป้าหมายระยะแรกของ ภาวะฉุกเฉิน เช่น การกรีดข้อมือทำร้ายตนเอง คือข้อใด 1.การทำแผล 2.การได้ตระหนักถึงปัญหา (insight) ที่เกิดขึ้น 3.การทำแผลและการยอมรับปัญหาที่เกิดขึ้นได้ 4.การสามารถกลับไปทำหน้าที่ได้ตามปกติเหมือนก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน

41 ข้อคิดสำคัญของการจัดการกับ บาดแผล
ข้อคิดสำคัญของการจัดการกับ บาดแผล ตั้งสติ ประเมินสถานการณ์ หาอุปกรณ์ รักษาตามอาการ และสนับสนุนการหายของบาดแผล

42 The End


ดาวน์โหลด ppt ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google