การคุ้มครองพยานในคดีอาญา ตาม พรบ.คุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2546

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
การออกคำสั่งทางปกครอง
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
สำนักความรับผิดทางแพ่ง
สาระสำคัญของ ร่างพระราชบัญญัติธนาคาร ที่ดิน พ. ศ..... โดย นายธรรมนิตย์ สุมันตกุล อดีตรองเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
ความเข้าใจเรื่องกลไกสิทธิมนุษยชน เรื่อง
“คลายทุกข์ สุขใจ ใกล้ประชาชน”
โดยอาจารย์ฐิติพร วัฒนชัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
การอำนวยความเป็นธรรม ในหน้าที่ของฝ่ายปกครอง
พงษ์เดช วานิชกิตติกูล
การกระทำอันไม่เป็นธรรม (Unfair Labour Practice)
พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สิทธิมนุษยชน.
กระบวนงานการให้บริการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
1. รวบรวมข้อมูล ตำรวจจับกุมและขอฝากขัง ผู้ต้องหา/จำเลยกรอกคำร้องขอปล่อย (ปส.1), ข้อมูลประวัติ (ปส.3) และ ข้อมูลเพื่อการติดต่อ (ปส.5)
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
กลุ่มเกษตรกร.
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
เรื่อง การใช้งานระบบ Survey license
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
ทบทวน ;) จริยธรรมนักกฎหมายต่างจากจริยธรรมทั่วไปอย่างไร?
อำนาจสืบสวน สอบสวน (มาตรา 17-21)
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
(Code of Ethics of Teaching Profession)
“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การคุ้มครองพยานในคดีอาญา ตาม พรบ.คุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2546 ตาม พรบ.คุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2546 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

การนำเสนอ ความเป็นมา/หลักการสำคัญของกฎหมาย การบังคับใช้กฎหมาย/แนวปฏิบัติ ปัญหาอุปสรรค ภาพของการคุ้มครองพยานในอนาคต นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

จากการที่ประเทศไทยเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ และเข้าเป็นภาคีสมาชิกในสนธิสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ทำให้มีพันธะผูกพันที่จะต้องปฏิบัติตามในหลายๆ เรื่องและในหลายๆ เรื่องดังกล่าว หนึ่งในเรื่องเหล่านั้นได้มีข้อกำหนดเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือเยียวยาผู้เสียหายหรือ เหยื่ออาชญากรรมไว้ด้วย นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ประเทศไทยจึงได้มีการนำหลักการพื้นฐานจากกฎบัตรสหประชาชาติ ปฏิญญาสากลและสนธิสัญญาต่างๆ ที่เป็นสาระสำคัญเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักการคุ้มครองสิทธิผู้เสียหาย และ พยานในคดีอาญา ซึ่งกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

ที่มาพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 244 กำหนดสิทธิพยานไว้ 3 ประการ 1. สิทธิได้รับการคุ้มครองความปลอดภัย 2. สิทธิได้รับการปฏิบัติที่เหมาะสม 3. สิทธิได้รับค่าตอบแทนที่จำเป็นและเหมาะสมจากรัฐ นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

พยานตามกฎหมายคุ้มครองพยาน พ.ศ. 2546 พยานตามกฎหมายคุ้มครองพยาน พ.ศ. 2546 “พยาน” หมายความว่า พยานบุคคลซึ่งจะมาให้ หรือได้ให้ข้อเท็จจริงต่อพนักงานผู้มีอำนาจสืบสวนคดีอาญา พนักงานผู้มีอำนาจสอบสวนคดีอาญา พนักงานผู้มีอำนาจฟ้องคดีอาญา หรือศาลในการดำเนินคดีอาญา รวมทั้งผู้ชำนาญการพิเศษ แต่มิให้หมายความรวมถึงจำเลยที่อ้างตนเป็นพยาน นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

การบูรณาการทำงานร่วมกัน ผู้รักษาการตามกฎหมาย ตามมาตรา 5 1. นายกรัฐมนตรี 2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม 3. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม 4. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

หน่วยงานที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกับการคุ้มครองพยาน สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กระทรวงกลาโหม กรมการปกครอง กรมคุ้มครองสิทธิฯ กรมสอบสวนคดีพิเศษ สำนักงาน ปปส. กรมราชทัณฑ์ ป.ป.ช./กกต. สำนักงาน ป.ป.ท. กรณีพยานอยู่ในสถานที่กักขังหรือควบคุม กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ 8

มาตรการคุ้มครองพยานความปลอดภัย มาตรการทั่วไป มาตรการพิเศษ นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

การใช้มาตรการทั่วไป นายไพฑูรย์ สว่างกมล นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

มาตรการทั่วไปในการคุ้มครองพยาน ดำเนินการเองหรือ แจ้งเจ้าพนักงานตำรวจหรือ เจ้าหน้าที่อื่นดำเนินการ ร้องขอ  พนักงานสืบสวน  พนักงานสอบสวน  พนักงานผู้มีอำนาจฟ้อง  ศาล สำนักงานคุ้มครองพยาน พยานหรือ ผู้มีประโยชน์เกี่ยวข้อง คุ้มครองให้ได้รับความปลอดภัย ได้แก่  อารักขาให้ได้รับ ความ ปลอดภัย  จัดให้อยู่ในสถานที่ที่ ปลอดภัย  ปกปิดข้อมูลที่สามารถ ระบุตัวพยานได้ 1 อาจจัดให้พยานอยู่ในความคุ้มครองในกรณีพยานอาจไม่ได้รับความปลอดภัย  พนักงานสืบสวน  พนักงานสอบสวน  พนักงานผู้มีอำนาจฟ้อง  ศาล  สำนักงานคุ้มครองพยาน 2 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

มาตรการพิเศษ มูลฐานความผิดตามมาตรา 8 อำนาจเป็นของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม วิธีการคุ้มครองพยานมีรูปแบบมากขึ้น นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

มาตรการพิเศษในการ คุ้มครองพยาน นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

มาตรการพิเศษในการคุ้มครองพยาน ไม่รับคำร้อง อุทธรณ์ต่อ ศาลยุติธรรมชั้นต้น / ศาลทหารชั้นต้น  พยาน  ผู้มีประโยชน์ เกี่ยวข้อง  พนักงานสืบสวน  พนักงานสอบสวน พนักงานผู้มีอำนาจ ฟ้อง ยื่นคำร้อง เสนอคำร้องพร้อมความเห็นประกอบให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม หรือผู้ได้รับมอบหมาย สำนักงานคุ้มครองพยาน พิจารณาสั่งการ ไม่เกิน 30 วัน สำนักงานคุ้มครองพยาน - ดำเนินการ - ประสานหน่วยงาน ตรวจสอบความถูกต้อง แจ้งสิทธิและผลกระทบ ออกใบรับคำร้อง รับคำร้อง (พยานลงลายมือชื่อ) ให้สำนักงานคุ้มครองพยานดำเนินการคุ้มครองพยานตามมาตรการพิเศษอย่างหนึ่งอย่างใดดังนี้ 1.) ย้ายที่อยู่/จัดหาที่พักให้ 2.) จ่ายค่าเลี้ยงชีพ 3.) เปลี่ยนชื่อตัวชื่อสกุลและหลักฐานทางทะเบียนที่ระบุตัวพยานและดำเนินการกลับคืนฐานะ เดิมตามคำร้องขอของพยาน 4.) จัดหาอาชีพ/การศึกษา/ดำเนินการใดเพื่อให้พยานดำรงชีพอยู่ได้ตามความเหมาะสม 5.) ช่วยเหลือในการเรียกร้องสิทธิที่พยานพึงได้รับ 6.) จัดเจ้าหน้าที่คุ้มครองความปลอดภัย 7.) ดำเนินการอื่นใดตามที่เห็นสมควร มูลฐานความผิด ตามมาตรา 8 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

พยานร้องขอให้ใช้มาตรการทั่วไปกับบุคคลอื่น พยานสามารถร้องขอคุ้มครองความปลอดภัยให้กับบุคคลอื่นได้ ตามมาตรา 7 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

การยื่นอุทธรณ์คำสั่ง กรณีไม่พอใจคำสั่งสามารถใช้สิทธิอุทธรณ์คำสั่งได้ภายใน 30 วัน ตามมาตรา 20 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

สิทธิของพยานในการได้รับ ค่าตอบแทนและค่าใช้จ่าย 1.ค่าใช้จ่ายพยานกรณีเข้าโครงการคุ้มครองพยาน 2. ค่าตอบแทนพยานกรณีมาให้ข้อเท็จจริง 3. ค่าตอบแทนกรณีเสียชีวิต/บาดเจ็บ นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

อัตราค่าใช้จ่าย เจ้าหน้าที่ที่คุ้มครองความปลอดภัย มีสิทธิได้รับตามระเบียบกระทรวงยุติธรรม นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

บทกำหนดโทษ การเปิดเผยความลับเกี่ยวกับข้อมูลของพยานมีบทกำหนดโทษ ตามมาตรา 21 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

การสิ้นสุดการคุ้มครองพยาน พฤติการณ์เกี่ยวกับความปลอดภัยของพยานเปลี่ยนแปลงไป นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

สถิติพยานที่ยื่นคำร้องขอรับการคุ้มครอง ผ่าน 4 หน่วยงาน ปีงบประมาณ 2547 – กรกฎาคม 2559 รวม ทั่วประเทศ 3,445 ราย DSI 150 ราย ปกครอง 11 ราย พยานเข้าโครงการ 2,066 ราย สถานะข้อมูล : กรกฎาคม 2559 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

สถิติกลุ่มความผิดอาญาที่พยานร้องขอคุ้มครองความปลอดภัย ปีงบประมาณ 2547 - กรกฎาคม 2559 49% 12% 10% 3% เจ้าพนักงานประพฤติมิชอบ 10% 2% 3% 1% 8% 2% สถานะข้อมูล : กรกฎาคม 2559 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

“กฎหมายคุ้มครองพยานเป็นเครื่องมือ ที่มีประสิทธิภาพในกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา” นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

ภาพการคุ้มครองพยานในอนาคต Budget WPO Witness Protection Office Strategy - Witness Protection - Witness Assistance Commando Witness Protection (Safe House) Court Marshal นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

ช่องทางการร้องขอคุ้มครองพยาน สายด่วนคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ www.rlpd.moj.go.th สายด่วนคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ โทร 1111 กด 77 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

The End นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ