นโยบายด้านการทดสอบและมาตรฐานด้าน การประเมิน ดร.วิษณุ ทรัพย์สมบัติ ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผล O-NET ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2559 เปรียบเทียบระดับประเทศ (รวมทุกสังกัด)
ผล O-NET ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2559 เปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2558
ผล O-NET ชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2559 จำแนกตามสังกัด
ผล O-NET ชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2559 เปรียบเทียบระดับประเทศ (รวมทุกสังกัด)
ผล O-NET ชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2559 เปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2558
ผล O-NET ชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2559 จำแนกตามสังกัด
ผล O-NET ชั้น ม.6 ปีการศึกษา 2559 เปรียบเทียบระดับประเทศ (รวมทุกสังกัด)
ผล O-NET ชั้น ม.6 ปีการศึกษา 2559 เปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2558
ผล O-NET ชั้น ม.6 ปีการศึกษา 2559 จำแนกตามสังกัด
จุดเน้นด้านการประเมิน และการพัฒนามาตรฐานการศึกษา การประเมินครู การประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนและสถานศึกษา การกำหนดแนวทางการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา การทดสอบผ่าน/การซ้ำชั้น ป.6 ม.3 ม.6 การพัฒนาแบบทดสอบการศึกษามาตรฐานระดับชาติ การสร้างเครื่องมือ ระบบ วิธีประเมิน การประกันคุณภาพการศึกษา
งานนโยบายที่สำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ (ด้านการทดสอบ) ปรับระบบการสอบ O-NET ให้เป็นที่ยอมรับและสะท้อน ถึงคุณภาพของการจัดการศึกษา - ทำให้ข้อสอบ O-Net สอดคล้องกับการเรียนการสอน - จัดทำ Test Blue Print - ให้มีการจัดทำ Item Card - ให้ความสำคัญกับกระบวนการคัดเลือกคนออกข้อสอบและผู้ตรวจข้อสอบ - เฉลยข้อสอบ - วิเคราะห์ผล O-Net เพื่อนำไปปรับปรุงคุณภาพการจัดการเรียนการสอน
ภารกิจตามนโยบาย สพค.* (..) สกบ. สวก. (..) (..) Mission Policy & Agenda Bureau การวางระบบการพัฒนาครูฯ ให้สอดรับวิทยฐานะ การพัฒนาครูด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพ (PLC) การพัฒนาครูโดยใช้ ICT (TEPE Online, DLIT etc.) สพค.* (..) การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา การรับรองหลักสูตรการพัฒนาครูฯ (Approve Course) การสร้างเครือข่ายการพัฒนาครูกับหน่วยงานภายนอก การทดสอบ ประเมินผล และประกันคุณภาพ การพัฒนาระบบการประเมินคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน การพัฒนาเครื่องมือวัดผล/ประเมินผลในชั้นเรียน(Formative Assessment) การวิเคราะห์และพัฒนาคลังข้อสอบเพื่อให้บริการ การพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลตามแนว PISA สทศ. (..) สวก. (..) การสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการทดสอบกับ สทศ. สสวท. การพัฒนาระบบ การประกันคุณภาพภายใน การเทียบวุฒิการศึกษา การกำกับ ติดตาม และประเมินผล รูปแบบการติดตามฯ ไม่สร้างภาระให้ สพท. สถานศึกษา วิธีการที่หลากหลาย จากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่แล้ว KPI หลักตามที่นโยบายกำหนด สตผ. (..) กพร. (..) โอกาส คุณภาพ เท่าเทียม ประสิทธิภาพ สวก. (..) สกบ. (..) การจัดการศึกษาปฐมวัย การกำหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการจัดการศึกษาระดับอนุบาล 3 ปี การสร้างความเข้าใจและเตรียมความพร้อมปฐมวัย การส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาปฐมวัย การวิจัยและพัฒนาตามนโยบาย การสร้างและพัฒนานวัตกรรมเพื่อเตรียมความพร้อม Thailand 4.0 โรงเรียนคุณธรรม การต่อยอด นร. ที่มีความสามารถพิเศษเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ Thailand 4.0 สนก. (..) สวก. (..) สนผ. (..) ศาสตร์พระราชา โรงเรียนพระราชดำริ ประชารัฐ STEM+PISA จิตสำนึกเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การยกระดับคุณภาพการศึกษา และการบริหารจัดการ โรงเรียน ICU โรงเรียนแม่เหล็ก / โรงเรียนดีใกล้บ้าน กศจ. สวก. (..) สนผ. (..) สำนักอื่นๆ ความโปร่งใส Anti-Corruption
การประกันคุณภาพการศึกษา การจัดทำทะเบียนและสารสนเทศ ภารกิจ สทศ.สพฐ. การพัฒนาเครื่องมือที่ได้มาตรฐาน การประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT การอ่านการเขียน) การวัดระดับความสามารถด้านภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ การสร้างความเข้มแข็งด้านการประเมินแก่เขตพื้นที่และสถานศึกษา การทดสอบ การประเมินผล การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน การส่งเสริมและสร้างความเข้มแข็งด้านการประกันคุณภาพให้กับสถานศึกษา การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานประเมินคุณภาพภายนอก การคัดเลือกนักเรียนและสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลพระราชทาน การประกันคุณภาพการศึกษา การพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลและทะเบียนผู้จบการศึกษา การให้บริการตรวจสอบวุฒิ รับรองวุฒิ ออกเอกสารสำคัญทางการศึกษา การให้บริการเทียบวุฒิการศึกษา และการเทียบโอนผลการเรียน การศึกษาแนวโน้มการจัดการศึกษาของต่างประเทศเพื่อวางแผนการเทียบวุฒิการศึกษา และการเทียบโอนผลการเรียน การจัดทำทะเบียนและสารสนเทศ
การวัดและประเมินผลผู้เรียน ป.1-3. ป.4-6 ม.1-3 ม.4-6 การวัดและประเมินผลในชั้นเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ การโดยใช้ข้อสอบกลาง (ป.2 ป.4-5 และ ม.1-2) ป.3 ป.6 ม.3 ม.6 การประเมินระดับชาติ (NT และ O-NET) ป.1-4 ป.6 ม.3 ม.6 การอ่านการเขียน Pre O-NET Pre O-NET GAT/PAT 9 วิชาสามัญ PISA
ข้อเสนอเพื่อปรับระบบการทดสอบและประเมินคุณภาพผู้เรียน School Assessment Local Assessment National Assessment ปรับปรุงหลักสูตร/ตัวชี้วัด พัฒนาเครื่องมือที่มีมาตรฐาน (ให้วิเคราะห์ข้อสอบ และให้มีการเฉลยข้อสอบ) แจ้งโครงสร้างข้อสอบ (มาตรฐานและตัวชี้วัด) ลักษณะข้อสอบ ตัวอย่างข้อสอบ) ล่วงหน้าก่อนสอบ ใช้ข้อสอบอัตนัยในการประเมินระดับชาติ ลดการประเมินให้น้อยลง จัดหาเครื่องมือประเภทอัตนัยให้กับสถานศึกษา พัฒนาคลังข้อสอบร่วมกันระหว่างสถาบันทดสอบฯ กับกระทรวงฯ พัฒนาครูและผู้เกี่ยวข้องด้านการทดสอบและการประเมินฯ
การทดสอบ ประเมินผล และประกันคุณภาพ ภารกิจตามนโยบาย Mission Policy & Agenda Bureau การทดสอบ ประเมินผล และประกันคุณภาพ สทศ. (..) สวก. (..) การพัฒนาระบบการประเมินคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน การพัฒนาเครื่องมือวัดผล/ประเมินผลในชั้นเรียน (Formative/Summative Assessment) การพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลตามแนว PISA การสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการทดสอบกับ สทศ. สสวท. การพัฒนาระบบ การประกันคุณภาพภายใน การวิเคราะห์และพัฒนาคลังข้อสอบเพื่อให้บริการ การเทียบวุฒิการศึกษา
มาตรฐานการทดสอบ แนวปฏิบัติ มาตรฐาน ผู้สร้างข้อสอบ การพัฒนา แบบทดสอบ ครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระฯ มีจรรยาบรรณและเจตคติที่ดี รักษาความลับ มุ่งมั่น ตั้งใจ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี เปิดใจ เป็นครูของครู ผู้สร้างข้อสอบ มีประสบการณ์การสร้างข้อสอบ/ผลงานเชิงประจักษ์ เป็นเครือข่ายร่วมกับ สทศ.สพฐ. การพัฒนา แบบทดสอบ จัดทำ Test Blueprint จัดทำ Item Card สร้างข้อสอบ ตามระดับพฤติกรรม มีข้อสอบ ที่เป็นเขียนตอบ ข้อสอบถูกต้อง เป็นตัวแทน/คลุมตัวชี้วัดต้องรู้ สอดคล้องกับข้อสอบ ที่ใช้ในระดับนานาชาติ มีการเฉลยข้อสอบ การบริหาร การทดสอบ การกำหนดผู้รับผิดชอบ แผนการจัดสอบ/ศูนย์สอบ/การตั้งกรรมการสอน การชี้แจงกรรมการดำเนินงานจัดสอบ โปร่งใส ได้มาตรฐาน ประสิทธิภาพ การพิมพ์ข้อสอบ และตรวจให้คะแนน การพิมพ์ข้อสอบ/กระดาษคำตอบ การตรวจให้คะแนน (ปรนัยและเขียนตอบ) การกำหนดจุดตัดคะแนน การรายงานผล การทดสอบและ การนำผลไปใช้ รูปแบบและวิธีการรายงาน/การนำผลไปใช้ ช่วงเวลา NT Acess สาระของรายงาน กลุ่มเป้าหมาย แนวทาง การนำผลไปใช้
ผู้สร้างข้อสอบ มาตรฐานการทดสอบ เป็นครูของครู แนวปฏิบัติ ครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระฯ มีจรรยาบรรณและเจตคติที่ดี รักษาความลับ มุ่งมั่น ตั้งใจ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี เปิดใจ เป็นครูของครู เป็นเครือข่ายร่วมกับ สทศ.สพฐ. มีประสบการณ์การสร้างข้อสอบ/ผลงานเชิงประจักษ์
คุณลักษณะที่ดีของผู้สร้างข้อสอบ มีความรู้ในเนื้อหาและจุดมุ่งหมายของรายวิชาอย่างถูกต้อง ลึกซึ้ง จะได้ถามได้ตรงสาระสำคัญของวิชานั้นๆ มีความรู้เกี่ยวกับหลักการเขียนข้อสอบ รูปแบบของข้อสอบ และวิธีการสร้างข้อสอบ เพื่อจะได้เขียนข้อสอบให้มีคุณภาพดี ตรงตามเนื้อหา และพฤติกรรมที่ต้องการวัด มีความสามารถในการใช้ภาษา เพื่อจะได้เขียนข้อสอบได้อย่างเป็นปรนัยชัดเจน อ่านก็เข้าใจได้ตรงกัน ไม่คลุมเครือ รู้วิธีการถามในลักษณะแปลกใหม่ ในแง่มุมต่างๆ มีทักษะในการวิจารณ์ข้อสอบ มีนิสัยฝึกเขียนข้อสอบบ่อยๆ จะทำให้เขียนข้อสอบได้ดี
เป็นตัวแทน/คลุมตัวชี้วัดต้องรู้ ที่ใช้ในระดับนานาชาติ มาตรฐานการทดสอบ มาตรฐาน การพัฒนาแบบทดสอบ แนวปฏิบัติ จัดทำ Item Card จัดทำ Test Blueprint สร้างข้อสอบ ตามระดับพฤติกรรม มีข้อสอบ ที่เป็นเขียนตอบ ข้อสอบถูกต้อง เป็นตัวแทน/คลุมตัวชี้วัดต้องรู้ สอดคล้องกับข้อสอบ ที่ใช้ในระดับนานาชาติ มีการเฉลยข้อสอบ
คุณภาพของแบบทดสอบ ความตรง หรือ ความเที่ยงตรง (Validity) ความเที่ยง หรือ ความเชื่อมั่น (Reliability) ความเป็นปรนัย (Objectivity) 3.1 ชัดในความหมายของคำถาม 3.2 ตรวจให้คะแนนได้ตรงกัน 3.3 แปลความหมายของคะแนนได้ตรงกัน ความยากง่าย (Difficulty) อำนาจจำแนก (Discrimination) ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) ความยุติธรรม (Fair) คำถามลึก (Searching) คำถามยั่วยุ (Exemplary) จำเพาะเจาะจง (Definite)
มาตรฐานการทดสอบ การบริหาร การทดสอบ การชี้แจงกรรมการดำเนินงานจัดสอบ แนวปฏิบัติ แผนการจัดสอบ/ศูนย์สอบ/การตั้งกรรมการสอน การกำหนดผู้รับผิดชอบ การชี้แจงกรรมการดำเนินงานจัดสอบ โปร่งใส ได้มาตรฐาน ประสิทธิภาพ
หลักการและกระบวนการบริหารการสอบ มีจุดมุ่งหมาย ชัดเจน เพื่อเป็นทิศทางในการดำเนินการสอบให้มีประสิทธิภาพ มีแผนการดำเนินงาน อย่างรอบคอบว่าจะสอบอะไร สอบอย่างไร สอบเมื่อไร สอบที่ใด และใครเป็นผู้รับผิดชอบ มีแนวปฏิบัติ ในการดำเนินการสอบที่ชัดเจนและแจ้งให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องได้ทราบ มีการเตรียมความพร้อม ให้อาจารย์และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการสอบมีความพร้อมในการจัดทำแบบทดสอบ จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการสอบ สถานที่สอบ และการดำเนินการสอบ มีความสะดวก เอื้ออำนวยให้ผู้เข้าสอบได้รับความสะดวกสูงสุด มีการรบกวนน้อยที่สุด เพื่อให้ผู้เข้าสอบได้ใช้ความรู้ความสามารถในการทำแบบทดสอบอย่างเต็มศักยภาพ มีความยุติธรรม ทั้งในเรื่องการแจกและเก็บแบบทดสอบ การชี้แจงในการสอบ การใช้เวลาในการสอบ และการกำกับการสอบ มีประสิทธิผล กำกับดูแลให้การดำเนินการสอบเป็นไปตามแผนการสอบ และแนวปฏิบัติในการสอบอย่างเคร่งครัดและบรรลุจุดมุ่งหมายของการสอบ
การพิมพ์ข้อสอบ/กระดาษคำตอบ มาตรฐานการทดสอบ แนวปฏิบัติ มาตรฐาน การพิมพ์ข้อสอบ/กระดาษคำตอบ การพิมพ์ข้อสอบ และตรวจให้คะแนน การกำหนดจุดตัดคะแนน การตรวจให้คะแนน (ปรนัยและเขียนตอบ)
รูปแบบและวิธีการรายงาน/การนำผลไปใช้ มาตรฐานการทดสอบ มาตรฐาน การรายงานผล การทดสอบและ การนำผลไปใช้ แนวปฏิบัติ รูปแบบและวิธีการรายงาน/การนำผลไปใช้ ช่วงเวลา NT Access สาระของรายงาน กลุ่มเป้าหมาย แนวทาง การนำผลไปใช้
ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาแบบทดสอบ การวิเคราะห์หลักสูตร จัดทำ Test Blueprint เขียนข้อสอบ หาคุณภาพก่อนใช้ ทดลองใช้แบบทดสอบ วิเคราะห์ผล Item & Test Analysis คัดเลือกข้อสอบเข้าคลังข้อสอบ Empirical Review Logical Review 27
ระดับพฤติกรรมทางสติปัญญาของบลูม (ปรับปรุงใหม่) Bloom Taxonomy’s Revised ข้อสอบเขียนตอบ BLOOM (ปรับปรุงใหม่) การจำ การเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า การ สร้างสรรค์ ข้อสอบเลือกตอบ (ส่วนใหญ่)
ประเภทของคำถามจำ ความจำเกี่ยวกับศัพท์และนิยาม ถามชื่อ คำแปล ความหมาย ตัวอย่าง ถามตรง ข้าม ความจำเกี่ยวกับสูตรกฎ ความจริง ความสำคัญ ถามสูตรกฎ เนื้อเรื่อง ขนาดจำนวน สถานที่ เวลา คุณสมบัติ วัตถุประสงค์ สาเหตุและผลที่ เกิด ประโยชน์และคุณโทษ สิทธิหน้าที่ ความจำเกี่ยวกับวิธีการ ถามแบบฟอร์ม ธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ลำดับขั้น แนวโน้ม ชนิดประเภท ถามเข้าพวก ถามต่างจากพวก ถามเกณฑ์ ถาม วิธี ถามการปฏิบัติ ถามเปรียบเทียบ ความจำเกี่ยวกับความคิดรวบยอด ถามหาคติหรือหลักของเรื่อง การขยายคติหรือ หลักของเรื่อง หลักวิชาและขยายหลักวิชา ถาม ทฤษฎีโครงสร้าง
ประเภทของคำถามเข้าใจ ถามแปลความ แปลความหมายของคำตามนัยของเรื่อง แปลความหมายกลุ่มคำ ยกตัวอย่างที่ แปลกใหม่ เปรียบเปรย แปลความหมายภาพและวัตถุสิ่งของ สัญลักษณ์ สูตรกฎ กราฟ และตาราง พฤติกรรมและพฤติการณ์ แปลถอดความ ต่างลักษณะ ต่างภาษา ถามตีความ ตีความหมายของเรื่องและข้อเท็จจริง ถามขยายความ ขยายความแบบจินตภาพ พยากรณ์ สมมติ และอนุมาน
ประเภทของคำถามนำไปใช้ ถามความสอดคล้อง หลักวิชากับตัวอย่างของจริง ตัวอย่างกับ ตัวอย่าง ถามขอบเขตหลักวิชาและการปฏิบัติ ขอบเขตเงื่อนไขหลักวิชาและการปฏิบัติ ข้อยกเว้นของหลักวิชาและการปฏิบัติ ถามให้อธิบายหลักวิชา ถามให้แก้ปัญหา ถามให้แก้ปัญหาเฉพาะหน้า แก้ปัญหาตามหลัก วิชา ถามเหตุผลของการปฏิบัติ ถามให้ตรวจสอบแก้ไข วินิจฉัย คัดเลือก
ประเภทของคำถามวิเคราะห์ วิเคราะห์ความสำคัญ ถามให้วิเคราะห์ชนิดตามเกณฑ์ ถามวิเคราะห์สิ่งสำคัญของเรื่อง ถาม วัตถุประสงค์และผลลัพธ์ ถามให้วิเคราะห์เลศนัย วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ถามความสัมพันธ์ได้กี่ลักษณะ ใช้อะไร เป็นต้นเรื่อง และสัมพันธ์กันแง่ใด วิเคราะห์หลักการ วิเคราะห์โครงสร้าง วิเคราะห์ หลักการ
ประเภทของคำถามประเมินค่า ถามให้ประเมินค่าโดยใช้เกณฑ์ภายใน ประเมินความถูกต้องเที่ยงตรงของเรื่อง ประเมินความเป็นเอกพันธ์ของเรื่อง ประเมินความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูล ประเมินความเหมาะสมของวิธีการและการ ปฏิบัติ ประเมินความสมเหตุสมผลของผลลัพธ์ผลสรุป ถามให้ประเมินค่าโดยใช้เกณฑ์ภายนอก ประเมินโดยสรุป ประเมินโดยการเปรียบเทียบ ประเมินกับมาตรฐาน ประเมินความเด่นและความด้อย
ประเภทของคำถามสังเคราะห์และสร้างสรรค์ สังเคราะห์ข้อความ สังเคราะห์โดยการพูด การเขียน และการ แสดง สังเคราะห์แผนงาน สังเคราะห์ความสัมพันธ์ สร้างสรรค์ข้อความ สร้างสรรค์ข้อความที่มีความแปลกใหม่ เป็น ประโยชน์ ยืดหยุ่น และคล่อง สร้างสรรค์แผนงานและผลงาน สร้างสรรค์แผนงานที่มีความแปลกใหม่ ผลิต หรือสร้างผลงานที่มีประโยชน์และแปลกใหม่
ข้อสอบ ตรงตามเนื้อหา สอดคล้องกับระดับพฤติกรรมที่ต้องการวัด มีความยากง่ายเหมาะสมกับระดับชั้น เน้นวัดความคิดขั้นสูง ใช้รูปแบบที่หลากหลาย (ทั้งเลือกตอบและเขียนตอบ) มีจำนวนข้อเหมาะสม ครอบคลุมเนื้อหาและตัวชี้วัดสำคัญ 35
แนวทางการใช้ระบบการวัดและประเมินผลผู้เรียนสู่การยกระดับผล NT และ O-NET พัฒนาระบบการทดสอบและประเมินผลในชั้นเรียน จัดกลุ่มคุณภาพโรงเรียนตามผลการประเมิน วางระบบการพัฒนา และการสนับสนุนส่งเสริมด้านการวัดและประเมินผล
ข้อเสนอและแนวทางขับเคลื่อน นโยบายการทดสอบและการประเมินผล ส่งเสริมและพัฒนาครูด้านการสร้างข้อสอบที่ได้มาตรฐาน จัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาครูด้านการวัดและประเมินผล วางระบบบริหารงานวิชาการที่เป็นเอกภาพในสถานศึกษา ปรับปรุงข้อสอบและสร้างข้อสอบใหม่เพื่อสร้างคลังข้อสอบ ส่งเสริมให้ครูใช้สื่อการเรียนรู้ตามโครงการ DLIT เขตพื้นที่เข้าร่วมปฏิบัติการสร้างข้อสอบกับสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวบรวมผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดผลให้เป็นที่ปรึกษาแก่สถานศึกษา กำหนดนโยบายการสร้างข้อสอบที่มีคุณภาพเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน บริการเครื่องมือและจัดทำคลังข้อสอบในระดับประเทศให้บริการ