ประวัติศาสตร์ศิลป์ตะวันออก History of Oriental Arts 2 (2-0-4) รหัสวิชา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 หลักการพื้นฐานของพุทธศาสนามหายาน
Advertisements

ศิลปะอินเดีย.
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็น ต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึง.
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย
ผู้จัดทำ ด. ญ. ภัทรธิดา เล้าการนา ผู้จัดทำ ด. ญ. ภัทรธิดา เล้าการนา.
โครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี
เครื่องเบญจรงค์.
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
กระบวนการของการอธิบาย
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบ บริเวณใดของโลก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนับเป็นแหล่งอารยธรรม เริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย.
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
ศาสนาคริสต์111
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
ศิลปะโรมัน (ROMAN ART)
เทศกาล / วันสำคัญทางศาสนา
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
Scene Design and Lighting Week1-3
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
โดย ครูสมจินตนา เทียมวิไล
กลุ่มเกษตรกร.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
World Time อาจารย์สอง Satit UP
ศิลปะไบแซนไทน์ (BYZANTINE ART)
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การออกแบบลวดลาย ประวัติและความเป็นมา โดย อ.จรรจิรา โมน่า.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
แผนที่กรีกโบราณ. แผนที่กรีกโบราณ ไอโอเนียน เอเคียน และดอเรียน จึงได้อพยพเข้าไปอยู่ในแหลมกรีก ตามลำดับ ชาวกรีกเป็นพวกอินโด – ยูโรเปียน ซึ่งมีหลักแหล่งดั้งเดิมอยู่ที่ลุ่มแม่น้ำดานูบ.
การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย
ศาสนาเชน Jainism.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
ยิ้มก่อนเรียน.
สรุปผลการปฏิบัติงานประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2559
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
เพลง ปลุกใจ บ้านเรารู้ได้จักเพลงประเภทนี้ในรูปแบบสากลเป็นครั้งแรก ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อ ครูฝึกทหารวังหน้าชาวอังกฤษ.
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประวัติศาสตร์ศิลป์ตะวันออก History of Oriental Arts 2 (2-0-4) รหัสวิชา 0605108 พิทักษ์ น้อยวังคลัง 9/19/2018

ศิลปกรรม “ตะวันออก” ยุคก่อนประวัติศาสตร์ คำถามสำคัญ 1.รูปแบบ (Style) เป็นอย่างไร 2.ประติมานวิทยา (Iconography) เป็นอย่างไร 3.บริบทเกี่ยวกับก่อนประวัติศาสตร์ (Historical Context ) เป็นอย่างไร 4.สร้างงานศิลปะ (The work of Art) เพื่ออะไร 9/19/2018

9/19/2018

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ และสมัยพระเวท อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ และสมัยพระเวท 9/19/2018 4

ศิลปะในประเทศอินเดีย มีระยะเวลามากกว่า 4,500 ปี มีความโดดเด่น ส่งอิทธิพลให้กับหลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การศึกษาศิลปะอินเดียจึงเป็นรากฐานที่สำคัญในการศึกษาศิลปะในภูมิภาคนี้และประเทศไทย สำหรับประเทศไทยรับรับอิทธิพลของศิลปะอินเดีย ทั้งใน สถาปัตยกรรม ประติมากรรม รวมถึงคติความเชื่อของการสร้างงานศิลปะด้วย 9/19/2018 5

ภูมิหลังอินเดีย ประเทศอินเดียเป็นดินแดนอารยธรรมแห่งหนึ่งของโลกที่มีการรับอารยธรรมจากภายนอกและเผยแพร่อารยธรรมไปสู่ดินแดนต่าง ๆ ประเทศอินเดียได้รับอิทธิพลทางศิลปะจากต่างประเทศ 4 ครั้ง 1.ประมาณ 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช อิทธิพลจากเมโสโปเตเมียแพร่เข้ามาในลุ่มแม่น้ำสินธุจนถึงประมาณ 1,000 ปีก่อนพุทธศักราช ชาวอารยันได้บุกรุกอินเดียและทำลายอารยธรรมดั้งเดิม 2.ราวพุทธศตวรรษที่ 3 ได้รับอิทธิพลศิลปะจากอิหร่านและกรีก 3.พุทธศตวรรษที่ 6 ได้รับอิทธิพลของกรีกและโรมัน มีบทบาทต่อศิลปะอินเดีย 4.พุทธศตวรรษที่ 16 กลุ่มมุสลิมซึ่งนับถือศาสนาอิสลามได้รุกรานอินเดีย 9/19/2018 6

ศิลปะสมัยก่อนอินเดีย รากฐานศิลปะก่อนอินเดียคือวัฒนธรรมที่ใช้ภาษาสันสกฤต มีศิลปะที่เมืองหะรัปปา (Harappa) และโมเหนโช-ดาโร (Mohenjo-daro) ทางแถบลุ่มแม่น้ำสินธุ เมื่อ 1,500 ปีก่อนพุทธศักราช อารยธรรมบนลุ่มแม่น้ำสินธุ 9/19/2018

ซากเมืองโบราณโมโฮนโจ-ดาโรและฮารัปปา อายุ 2,500-1,500 ปีก่อนศริสต์ศักราช 9/19/2018

เมืองโมเฮนโจดาโร 9/19/2018

ประติมากรรมชายมีเครา 9/19/2018

ประติมากรรมหญิงสำริด 9/19/2018

ภาพแกะสลักบนหินสบู่รูปคนและสัตว์ 9/19/2018

ภาพแกะสลักบนหินสบู่รูปคนสวดเครื่องสวมหัวมีเขา 9/19/2018

แผนที่ภูมิประเทศของอินเดีย 9/19/2018

สมัยพระเวท ยุคพระเวท คือ ช่วงแรกที่ชาวอารยันเริ่มเข้ามาในอินเดีย หลักฐานที่กล่าวถึงเรื่องราวของชาวอารยันช่วงนี้ คือ คัมภีร์พระเวท ซึ่งเป็นตำราที่รวบรวมโคลงและบทสวดทางศาสนา อารยธรรมยุคมหากาพย์ปรากฏในลักษณะต่างๆดังนี้ - การปกครองอาศัยรวมกันเป็นเผ่า มีผู้นำ คือ ผู้ใหญ่บ้าน มีหน้าที่แจกจ่ายที่ดินและเก็บภาษี - สร้างที่อยู่โดยก่อกำแพงด้วยโคลน พื้นปูด้วยดินเหนียว หลังคามุงด้วยหญ้า - ดำรงชีพด้วยการเลี้ยงปศุสัตว์ทั้ง วัว ม้า แพะ แกะ ทำการเกษตรทั้งทำนาและท้าไร่ - งานหัตถกรรมฝีมือเช่น ช่างปั้น ช่างไม้ ช่างทำอาวุธ 9/19/2018

คัมภีร์พระเวท 9/19/2018

คัมภีร์พระเวท 9/19/2018

ฤคเวท 9/19/2018

จักรวรรดิคุปตะ (อังกฤษ: Gupta Empire) เป็นจักรวรรดิอินเดียโบราณที่รุ่งเรืองระหว่างปี ค.ศ. 280 จนกระทั่งปี ค.ศ. 550 มีอาณาบริเวณที่ครอบคลุมตางตอนเหนือและตอนกลางของอินเดียทั้งหมด และบังคลาเทศปัจจุบัน ก่อตั้งขึ้นโดยพระเจ้าศรีคุปต์ โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่ปาฏลีบุตรที่ปัจจุบันคือปัฏนาทางตอนเหนือของรัฐพิหาร 9/19/2018

ความรุ่งเรืองของจักรวรรดิภายใต้การนำของพระมหากษัตริย์ราชวงศ์คุปตะทำให้มีความเจริญในด้าน -วิทยาศาสตร์และศิลปะ - ด้านความเจริญทางด้านวัฒนธรรม สมัยจักรวรรดิคุปตะถือกันโดยนักวิชาการบางคนว่าเป็นยุคทองของอินเดียในด้านวิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี, วิศวกรรม, ศิลปะ, วรรณคดี, ตรรกศาสตร์, คณิตศาสตร์, ดาราศาสตร์, ศาสนา และปรัชญา 9/19/2018

9/19/2018

พระมหาจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิคุปตะ 9/19/2018

ศิลปะทางด้านสถาปัตยกรรม ในสมัยคุปตะนี้มีความงดงามเปลี่ยนแปลงไปจากสมัยก่อนๆ เช่น ที่ถ้ำอชันตา ( Ajanta ) ปรากฏว่าสถาปัตยกรรมของอินเดียได้เปลี่ยนแปลงไป ตั้งแต่รูปร่างของเสาที่กลายเป็นการประดับตกแต่งลวดลายต่างๆ อย่างมากมาย มีบัวหัวเสารูปร่างคล้ายผ้าโพกหัวแขก วงโค้งรูปเกือกม้าที่เรียกว่า กูฑุ มีขนาดเล็กลงไปอีก และกลายเป็นเครื่องประดับตกแต่งอย่างธรรมดา ผนังถ้ำประดับประดาไปด้วยเครื่องตกแต่ง และพระพุทธรูป 9/19/2018

ในช่วงปลายของศิลปะคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ ๑๑ - ๑๓) สถาปัตยกรรมของอินเดียก็ยังมีความงดงามอยู่ แต่มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ คือ เสาต่างๆเริ่มมีรูปร่างใหญ่ขึ้น และบางครั้งก็มีบัวหัวเสารูปผ้าโพกหัวแขกขนาดใหญ่ รวมทั้งฐานของเสาที่สูงขึ้นมากจนเกือบทำให้ลำตัวของเสาหายไป สถาปัตยกรรมที่สำคัญในช่วงหลังนี้มีเทวสถานที่สำคัญอยู่ ๒ แห่ง คือ เอลลูรา (Ellura) และ เอเลฟันตะ ( Elephanta) งานสถาปัตยกรรมที่น่าสนใจและน่าประหลาดใจที่สุดคือ ถ้ำเอลลูราที่ ๑๖ หรือ ถ้ำไกรลาส ที่สลักลงไปในหินก้อนใหญ่มหึมากลางแจ้งรอบเทวสถานแห่งนี้ขุดเข้าไปในศิลาโดยรอบ ที่มาวลีปุรัมทางภาคใต้ของอินเดียได้พบศาสนสถานเล็กๆ ที่เรียกว่า รถะ ซึ่งเชื่อกัน ว่าให้อิทธิพลต่อรูปแบบศาสนสถานในเอเชีย 9/19/2018

ถ้ำอชันตา ( Ajanta ) 9/19/2018

ถ้ำอชันตา (อังกฤษ: Ajanta Caves, มราฐี: अजिंठा लेणी) ตั้งอยู่ในเมืองออรังกาบาด รัฐมหาราษฏระ ประเทศอินเดีย ได้ชื่อว่าเป็น วัดถ้ำในพุทธศาสนาที่งดงามและเก่าแก่ที่สุดในโลก สร้างเมื่อ พ.ศ. 350 โดยพระภิกษุในสมัยนั้นได้ค้นพบสถานที่แห่งนี้ เห็นว่าเป็นสถานที่เหมาะสำหรับการปฏิบัติธรรมกรรมฐานเป็นอย่างยิ่ง จึงได้เจาะภูเขาเพื่อสร้างเป็นกุฏิ โบสถ์ วิหาร ฯลฯ เพื่ออาศัยอยู่อย่างสันโดษ เนื่องจากเป็นสถานที่ห่างไกลผู้คน ภายในเต็มไปด้วยงานแกะสลักหิน เป็นองค์เจดีย์ เป็นพระพุทธรูป และภาพจิตรกรรมฝาผนังถ้ำ เล่าเรื่องราวต่างๆ ในพุทธประวัติและชาดก ในปี พ.ศ. 2527 ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดย องค์การยู 9/19/2018

จิตรกรรมผนังถ้ำอชันตา 9/19/2018

ภาพวาดพระปัทมปาณิโพธิสัตว์และ พระวัชรปาณีโพธิสัตว์ จิตรกรรมที่ผนังถ้ำอชันตา หมายเลข1 ศิลปะคุปตะตอนปลาย หรือหลังคุปตะ(พุทธศตวรรษที่12) ถือกันว่าเป็นงานจิตรกรรมที่งดงามที่สุดภาพหนึ่งของประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดีย 9/19/2018

ศิลปะทางด้านประติมากรรม ทางด้านประติมากรรม ศิลปะสมัยคุปตะส่วนใหญ่เป็นประติมากรรมรูปมนุษย์มิใช่รูปสัตว์ หรือรูปมนุษย์ที่อยู่กับธรรมชาติ หรือถ้ามีก็เป็นเพียงส่วนประกอบเท่านั้น ไม่มีความสำคัญเหมือนกับสมัยมถุรา และอมราวดี ศิลปะคุปตะได้ถ่ายทอดสุนทรียภาพทางความงามออกมาให้ปรากฏ โดยการสร้างมนุษย์ให้มีความงาม สมบูรณ์แบบ เหมือนวัยหนุ่มสาว ประติมากรรมที่สร้างขึ้นจะเนียนเรียบ อาภรณ์ที่สวมใส่ก็แนบเนื้อ เหมือนผ้าที่เปียกน้ำ ทำให้แทบมองทะลุเข้าไปเนื้อในได้ 9/19/2018

ประติมากรรมชิ้นสำคัญที่สุดในสมัยนี้ คือ พระพุทธรูปปางปฐมเทศนา สลักจากหินทรายที่สารนาถ พุทธลักษณะมีรัศมีกลมใหญ่ สลักลวดลายพรรณพฤกษาประดับอย่างงดงาม ริ้วจีวรบางแนบเนื้อติดกับพระองค์คล้ายผ้าเปียกน้ำ พระพักตร์กลม พระอังสาใหญ่ บั้นพระองค์เล็ก ประทับนั่งขัดสมาธิเพชร พระหัตถ์แสดงปางปฐมเทศนา(ปางแสดงธรรม) เบื้องล่างสลักเป็นรูปปัจวัคคีย์ และกวางหมอบ มีธรรมจักรคั่นกลาง ปัจวัคคีย์มีขนาดเล็กแสดงให้เห็นถึงความยิ่งใหญ่ของพระพุทธองค์ จึงอาจกล่าวได้ว่าไม่มีรูปเคารพใดที่สวยงามเทียบกับพระพุทธรูปองค์นี้ได้ทั้งในความหมายและรูปแบบศิลปะ 9/19/2018

พระพุทธรูปปางปฐมเทศนา 9/19/2018

ปางปฐมเทศนา เป็นพระพุทธรูปลักษณะประทับ (นั่ง) ขัดสมาธิราบ พระหัตถ์ซ้ายทำประคองพระหัตถ์ขวา วางบนพระเพลา (ตัก) หรือถือชายจีวร พระหัตถ์ขวายกขึ้นเสมอพระอุระ (อก) จีบนิ้วพระหัตถ์ เป็นเครื่องหมายว่าพระธรรมจักร มีเครื่องประกอบทำเป็นรูปวงล้อ (ธรรมจักร) กับรูปกวางไว้ตรงพุทธบัลลังก์ และบางทีมีปัญจวัคคีย์พนมมือด้วย (พระพุทธรูปปางนี้ที่ไทยเราเอามาสมมุติเรียกว่า พระคันธารราฐสำหรับขอฝน) 9/19/2018

แผนที่ อาณาจักรเมารยะ 260 ปี ก่อน ค.ศ. และ อาณาจักรคุปตะ ค.ศ. 400 9/19/2018

แผนที่ google Earth 9/19/2018