แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMEGA 16

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นายนิรันดร์ อังควัฒนวิทย์ นางสาวรุจิรา อาชวานันทกุล
Advertisements

Basic Programming for AVR Microcontroller
ไมโครคอนโทรลเลอร์เบื้องต้น
Information and Communication Technology Lab2
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
สรุปความก้าวหน้าโครงการ 3G กลุ่ม 2 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ล่วงหน้าเบสแบนด์ 28 พฤษภาคม G Research Project 3G Research Project Thai Wireless Consortium.
หน่วยที่ 1 อุปกรณ์อินพุท/เอ้าท์พุทเซนเซอร์และวงจรควบคุม
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายลูกา เนตรเนรมิต, นายนิพนธ์ พิมพ์พืช และนายสัณห์ อุทยารัตน์ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ.
หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
คำสั่ง : TIMER และ TIMH (FUN15)
การรับส่งข้อมูลระหว่าง Group 1 กับ Group 2
โดย คุณครูนัฏฐา อัครวงษ์ โรงเรียนวังข่อยพิทยา
Pro/Desktop.
การรับส่งข้อมูลระหว่าง Group 2 กับ Group 3 ในสถานีเคลื่อนที่ (Mobile Station) 2 พฤษภาคม G Research Project 3G Research Project Thai Wireless Consortium.
ระดับทะเลปานกลาง (MSL)
การสื่อสารข้อมูล.
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
บทที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ การทำงาน ของระบบคอมพิวเตอร์
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
จัดทำโดย นางสาว อุศนันท์หาดรื่น ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2557.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
การเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ การเชื่อมต่อเมาส์และ คีย์บอร์ด การเชื่อมต่อจอภาพ 1 2 ช่องเสียบหัวต่อ สายไฟ เข้ากับตัวเครื่อง และสายจอภาพ จอภ าพ คีย์บอ.
ระบบสื่อประสม วิวัฒนาการและองค์ประกอบ
คอมพิวเตอร์กราฟิกเพื่องานออกแบบ
Material requirements planning (MRP) systems
Microcontroller (PIC + Example)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
SPI.
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
Flip-Flop บทที่ 8.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
Serial Communication.
เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อจำลองระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
การแปลงสัญญาณ ดิจิตอล เป็น อนาล็อก Digital to Analogue Conversion
ตัวอย่างการต่ออุปกรณ์ต่อพ่วงเข้ากับ PIC16F877A
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
ไมโครคอนโทรลเลอร์ บทที่ 11.
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Interrupt & Timer.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Memory & I/O Mapping (Z80)
Basic Input Output System
Introduction to Microprocessors
Flip-Flop บทที่ 8.
Flip-Flop บทที่ 8.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายวิชา ไมโครโปรเซสเซอร์ในงานอุตสาหกรรม
แผงวงจรพ่วง (Peripheral Board)
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
การสร้างวงจรต้นแบบ (Circuit Prototyping)
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การจัดบล๊อคและบัฟเฟอร์ (Blocking and Buffering)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
หลักสูตรการบำรุงรักษาระบบโทรศัพท์
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMEGA 16 ผศ.ประดนเดช นีละคุปต์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

แผงวงจร IPST-Microbox September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

ไดอะแกรมวงจร IPST-Microbox วงจร Power Supply วงจร IPST-Microbox September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

ลักษณะโครงสร้างภายนอกของ ATMega 16 September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16 เป็นไมโครคอนโทรเลอร์สมรถนะสูงขนาด 8 bit ที่กินไฟต่ำ โดยมีสถาปัตยกรรมโครงสร้างภายในเป็นแบบ RISC (reduce instruction set computer) มีรีจีสเตอร์ขนาด 8 bit ทั้งหมด 32 ตัวที่เชื่อมต่อกับ ALU โดยตรง สามารถติดต่อรีจีสเตอร์ 2 ตัวโดยใช้สัญญาณนาฬิกาเพียง 1 clock cycle ทำให้มีประสิทธิภาพ มากกว่า CISC ไมโครคอนโทรเลอร์ทั่วไป September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

คุณสมบัติพื้นฐานของ ATMega 16 สถาปัตยกรรมขั้นสูงแบบ RISC ชุดคำสั่งภาษา assembly 131 คำสั่งซึ่งส่วนใหญ่ทำงานที่ 1 clock cycle รีจีสเตอร์ ขนาด 8 bit 32 ตัว มี throughput 16 MIPS @16 MHz Memory แบบ Flash ขนาด16 Kbytes สามารถเขียน/ลบโปรแกรมได้ 10,000 ครั้ง แบบ EEPROM ขนาด 512 bytes สามารถเขียน/ลบข้อมูลได้ 100,000 ครั้ง แบบ SRAM ขนาด 1 Kbytes September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

คุณสมบัติพื้นฐานของ ATMega 16 JTAG (IEEE std. 1149.1 Compliant) Interface ใช้ในการตรวจสอบวงจรแบบ Boundary scan ใช้ในการโปรแกรม FLASH, EEPROM ใช้ในการตรวจสอบ chip ตัวเอง ความเร็ว 0 – 8 MHz สำหรับ ATMega 16L 0 – 16 MHz สำหรับ ATMega 16 ไฟเลี้ยง 2.7 – 5.5 สำหรับ ATMega 16L 4.5 – 5.5 สำหรับ ATMega 16 September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

คุณสมบัติพื้นฐานของ ATMega 16 Peripheral Feature พอร์ตอินพุตและเอาท์พุตขนาด 8 บิท จำนวน 4พอร์ต timer/counter ขนาด 8 bit 2 ตัว timer/counter ขนาด 16 bit 1 ตัว ระบบการเปลี่ยนสัญญาณ analog to digital ขนาด 10 bits จำนวน 8 ช่อง Analog comparator บน chip September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

คุณสมบัติพื้นฐานของ ATMega 16 ระบบตรวจจับการทำงานผิดพลาดของCPU (Watchdog timer) ระบบการอินเตอร์รัพท์จากภายในและภายนอก (Internal and External Interrupt) Sleep mode 6 modes: idle, ADC Noise Reduction, Power save, Power down, Standby,and Extended Standby ระบบการรีเซ็ตแบบอัตโนมัติเมื่อเริ่มจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าไมโครคอนโทรลเลอร์(Power on reset) September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

รายละเอียดขาของ ATMega 16 T0 (Timer/Counter0 External Counter Input) XCK (USART External Clock Input/Output) T1 (Timer/Counter1 External Counter Input) AIN0 (Analog Comparator Positive Input) INT2 (External Interrupt 2 Input) AIN1 (Analog Comparator Negative Input) OC0 (Timer/Counter0 Output Compare Match Output) Analog to digital pin (8 channels) Use for programming Serial Peripheral Interface (SPI) Power pin VCC & GND Power pin VCC & GND Timer counter (1, 2) oscillator XTAL pin JTAG pin UART External Interrupt 0, 1 2-wire Serial Interface Timer Counter 1 Output Compare A, B match Timer/Counter2 Output Compare Match Output Timer Counter 1 Input Capture pin September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16 รายละเอียดขาสัญญาณ VCC เป็นขาจ่ายไฟให้กับ CPU GND เป็นขากราวด์ AREF เป็นเป็นขาแรงดันอ้างอิงที่ใช้งานในส่วนของวงจร Analog to Digital ปกติจะต่อกับ VCC AVCC ใช้จ่ายไฟให้กับวงจร Analog to Digital September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16 รายละเอียดขาสัญญาณ Port A (PA0..PA7) ทำหน้าที่เป็นพอร์ตอินพุตของสัญญาณ analog สำหรับการแปลงสัญญาณ analog to digital เป็นพอร์ต 2 ทิศทางขนาด 8 บิท โดยสามารถกำหนดให้แต่ละขาของพอร์ตต่อกับ pullup resistorภายในซึ่งแยกจากกันสามารถรับกระแส sink 20 mA September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16 รายละเอียดขาสัญญาณ Port B (PB0..PB7) เป็นพอร์ต 2 ทิศทางขนาด 8 บิท โดยสามารถกำหนดให้แต่ละขาของพอร์ตต่อกับ pullup resistorภายในซึ่งแยกจากกันสามารถรับกระแส sink 20 mA สามารถใช้งานพิเศษตามความต้องการของ ATMega 16 September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16 รายละเอียดขาสัญญาณ Port C (PC0..PC7) เป็นพอร์ต 2 ทิศทางขนาด 8 บิท โดยสามารถกำหนดให้แต่ละขาของพอร์ตต่อกับ pullup resistorภายในซึ่งแยกจากกันสามารถรับกระแส sink 20 mA สามารถทำหน้าที่เป็น JTAG Interface ได้ September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16 รายละเอียดขาสัญญาณ Port D (PD0..PD7) เป็นพอร์ต 2 ทิศทางขนาด 8 บิท โดยสามารถกำหนดให้แต่ละขาของพอร์ตต่อกับ pullup resistorภายในซึ่งแยกจากกันสามารถรับกระแส sink 20 mA สามารถใช้งานพิเศษตามความต้องการของ ATMega 16 September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16 รายละเอียดขาสัญญาณ SPI (SERIAL PERIPHERAL INTERFACE) PIN GROUP SCK (SPI Bus Serial Clock) เป็นสัญญาณนาฬิกาสำหรับ SPI MISO (SPI Bus Master Input/Slave Output) เป็นสัญญาณอินพุตสำหรับ SPI MOSI (SPI Bus Master Output/Slave Input) เป็นสัญญาณเอาต์พุตสำหรับ SPI SS (SPI Slave Select Input) ใช้เลือกสัญญาณของ SPI ในกรณีที่มีหลาย SLAVE September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16 รายละเอียดขาสัญญาณ JTAG PIN GROUP TDI (JTAG Test Data In) TDO (JTAG Test Data Out) TMS (JTAG Test Mode Select) TCK (JTAG Test Clock) ใช้สำหรับตรวจสอบ (debug) วงจร และสามารถใช้โปรแกรม chip ได้ด้วย September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16 รายละเอียดขาสัญญาณ TIMER PIN GROUP T0 (Timer/Counter0 External Counter Input) T1 (Timer/Counter1 External Counter Input) เอาไว้ให้ counter นับ trigger ของสัญญาณภายนอก EXTERNAL CLOCK FOR TIMER TOSC1 (Timer Oscillator Pin 1) TOSC2 (Timer Oscillator Pin 2) ถ้าไม่อยากใช้ clockจาก CPU เช่นอยากใช้ 1Hzเพื่อทำเป็นนาฬิกา September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16 EXTERNAL INTERRUPT PIN GROUP INT0 (External Interrupt 0 Input) INT1 (External Interrupt 1 Input) INT2 (External Interrupt 2 Input) เพื่อเรียก interrupt service routine เมื่อเจอ trigger จากขาพวกนี้ September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16 รายละเอียดขาสัญญาณ USART PIN GROUP TXD (USART Output Pin) DATA OUTPUT RXD (USART Input Pin) DATA INPUT XCK (USART External Clock Input/Output) CLOCK ขาคล๊อกใช้เมื่ออยู่ในโหมด synchronous September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16

แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16 Q/A September 17, 2018 แนะนำไมโครคอนโทรเลอร์ ATMega 16