การบริหารงานวิชาการ สู่ศตวรรษที่ 21

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มคำสั่ง SQL สามารถแบ่งได้ดังนี้
Advertisements

ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
การศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับศตวรรษที่ ๒๑
Educational Policies.
การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและความสำคัญของ Learning Outcome Assessment
21st Century Learning and Medical Education
สรุป ภาษาไทย.
Introduction Education Internet Compare home with website
Information Technology
ASEAN University Network - Quality Assurance
การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การผลิตบัณฑิตกับวิชาการสายรับใช้สังคม
การพัฒนาศักยภาพครูสู่ตำแหน่งวิชาการ ในมุมมองของผู้บริหารโรงเรียน.
ครูปฐมวัย การพัฒนาเด็กในศตวรรษที่ 21
1. วัตถูประสงค์ - ใช้ในการพิมพ์ทั่วไป - ใช้ในการดูหนัง ฟังเพลง - เล่นเกมที่สเปคไม่มาก เช่น เกมออนไลน์ 2. อุปกรณ์ -Mainboard Asus H61M-D Price 1,590 LGA1155.
โรคหัวใจและหลอดเลือด. กลุ่มกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด ST Elevation MI หมายถึงกลุ่มโรคที่มีกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และตาย เฉียบพลัน ที่มีการเปลี่ยนแปลงทางคลื่นไฟฟ้าหัวใจชนิด.
การประเมินผลระหว่างเรียนที่ ส่งเสริมการสอนของครูและ การเรียนรู้ของนักเรียนใน ศตวรรษที่ 21.
ระบบจัดการไร่อ้อย Sugarcane Farm Management System จัดทำโดย นายที่รัก ช่วยจันทร์ รหัส นายสถาพร นิลทับ รหัส นายชนาธิป อักกุลดี
Strategy Map วิสัยทัศน์ : “เป็นองค์การที่เป็นเลิศในการบริหารจัดการและคุ้มครองสิทธิการถือครองที่ดินของรัฐและประชาชน มุ่งเน้นการให้บริการโดยบริหารจัดการที่ดี
Education in THAILAND Evidence-based Policy
การจัดทำโครงการ/กิจกรรม
วิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนา
ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2560
Art & Architecture Medieval Age
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
นโยบายด้านกิจการนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Dr. Montri Chulavatnatol
INTRO MOBILE COMP ผู้สอน ชัชวิทย์ อาภรณ์เทวัญ
การจัดหาหรือจัดให้มีการพัฒนา และการบํารุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบงานคอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศ มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศตามวิธีการแบบปลอดภัย.
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการให้คำแนะนำ
นพ.โภคิน ศักรินทร์กุล โรงพยาบาลลำพูน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ.
Carbon Footprint.
แนวโน้มประเด็นสำคัญของ การจัดการทรัพยากรมนุษย์
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
คัมภีร์ ของศาสนาคริสต์
ศูนย์ข้อมูลกลางกระทรวงมหาดไทยและจังหวัด
การบริหารผลการปฏิบัติงาน
ข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โดย คณะทำงานจัดทำข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โครงการฝึกอบรมนักบริหารรุ่นใหม่ กรมอนามัย รุ่นที่ 1 ปีงบประมาณ 2558.
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในสถานศึกษา
ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน บทเรียนเรื่อง “ความรู้และการสร้างองค์ความรู้” ภาคต้น ปีการศึกษา 2558 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนวย พิรุณสาร.
การปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงาน โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
อบรมการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น หัวข้อ การคีย์ใบงาน IT Service สำหรับผู้ใช้บริการ โดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การแพทย์ ฯ.
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
วันพุธที่ 22 กรกฎาคม 2558 เวลา น. ณ ห้องรัตนโกสินทร์
Big Picture ความสำคัญและที่มา ความหมายของการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
Mr. Chaiwat Tawarungruang
Scholarships Chayooth Theeravithayangkura
การดำเนินงานไตรมาส 1 (ต.ค. -ธ.ค.61)
College of Engineering & Physical Sciences
สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ.
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ในการทำประกันคุณภาพการศึกษา รศ.พญ. อัจฉรา ตั้งสถาพรพงษ์
13 October 2007
CASE STUDY : MYANMAR CHANGE OPPORTUNITY
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
การบูรณาการข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน/อุบัติเหตุ
Efficiency & Competitiveness Support Factor & Strategy Driver
การจัดทำแผนปฏิบัติการ ระดับหน่วยงานกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
Ensure we continue to maintain this improved consistency
Programme Assessment Results
(ตัวอย่าง)การวิเคราะห์สภาวะภายใน
[ บทที่ 3 ] ระบบสารสนเทศ.
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
เรื่อง เวลา และยุคสมัยประวัติศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารงานวิชาการ สู่ศตวรรษที่ 21 สมเกียรติ รัตนวิฑูรย์ ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 sk_rat99@hotmail.com : 081-8844178

ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21 st Century Student Outcomes and Support Systems) สมเกียรติ รัตนวิฑูรย์ ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 sk_rat99@hotmail.com : 081-8844178

ขอบข่ายและภารกิจการบริหารงานวิชาการ การบริหารหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ การประกันคุณภาพ การศึกษา การพัฒนาศักยภาพ การเรียนรู้ของนักเรียน ระเบียบและแนวทางปฏิบัติ ในการบริหารหลักสูตร การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การนำหลักสูตรไปใช้ การตรวจสอบ ทบทวน หลักสูตร การรายงานการตรวจสอบ ทบทวนหลักสูตร การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การวางแผนการ บริหารงานวิชาการ การจัดการเรียน การสอน การคัดเลือกหนังสือ แบบเรียน การนิเทศการศึกษา วิธีการจัดการเรียนรู้ การพัฒนานวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การแนะแนว การวิจัยในชั้นเรียน การวัดผลประเมินผล หลักการและแนวคิด การประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา การประกันคุณภาพ ภายนอกสถานศึกษา การพัฒนานักเรียน สู่ความเป็นเลิศ การจัดการศึกษา พิเศษ ร่วมเรียน

การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล งานหลัก การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล

งานสนับสนุน การวางแผนงานด้านวิชาการ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพฯ การนิเทศการศึกษา การแนะแนว การพัฒนาสื่อและการเลือกใช้ การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ การส่งเสริมและให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง

การพัฒนาหลักสูตร

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษา & ท้องถิ่น มาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง ระดับชาติ

กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น การนำหลักสูตรแกนกลางฯ สู่การปฏิบัติ สพฐ. หลักสูตรแกนกลาง สพป. กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน ส่วนที่สถานศึกษา เพิ่มเติม + + แกนกลาง ท้องถิ่น

กระทรวงศึกษาธิการ มาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง หลักสูตรสถานศึกษา

หลักสูตรสถานศึกษา ประถมศึกษา แกนกลาง สพฐ. 80% สาระเพิ่มเติม 8% กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน 12%

หลักสูตรสถานศึกษา ม.1-3 (ไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต) แกนกลาง สพฐ. 70% (66 หน่วยกิต) สาระเพิ่มเติม 20% (ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต) กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน 10%

การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การนำหลักสูตรไปใช้ 4. ประเมินผลการใช้หลักสูตร ให้สอดคล้องกับกระบวนการในการจัดทำหลักสูตร 1. ประชุมชี้แจง ให้ครูได้รับทราบ แนวทางการนำหลักสูตรไปใช้ 2. ให้ครูแต่ละกลุ่มสาระ ร่วมกันวิเคราะห์หลักสูตรสู่แผนการจัดการเรียนรู้ 5. สรุปผลการนำหลักสูตรไปใช้ จากแบบประเมิน 3. จัดทำแหนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ทันสมัย มุ่งคุณภาพ ของผู้เรียนเป็นสำคัญ

การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การตรวจสอบทบทวนหลักสูตร ประชุมชี้แจง ให้ครูได้รับทราบ แนวทางการตรวจสอบหลักสูตร คณะกรรมการจัดทำหลักสูตร สถานศึกษาร่วมกัน ตรวจสอบ ทบทวนหลักสูตร อย่างน้อย ปีการศึกษาละ 1 ครั้ง ตามหัวข้อ ดังนี้ วิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมาย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงสร้างหลักสูตร เป้าหมายและทิศทางของแต่ละกลุ่มสาระ มาตรฐาน และตัวชี้วัดของแต่ละกลุ่มสาระ รายวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การจัดการเรียนรู้ และการส่งเสริมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล สรุปข้อมูล เพื่อเตรียมจัดทำรายงาน การประเมินหลักสูตร

การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การรายงานการตรวจสอบทบทวนหลักสูตร 1. รวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึก ผลการประเมิน การใช้หลักสูตรในทุกองค์ประกอบ 2. นำผลจากข้อ 1 ไปจัดกระทำตามขั้นตอน กระบวนการประเมินผลทางสถิติ 3. นำผลที่ได้มาวิเคราะห์ ให้ผู้เกี่ยวข้อง และสาธารณชนทราบ

การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร 1. ผู้บริหารประชุมชี้แจง ให้ครูเห็นความสำคัญ และแนวทางการพัฒนาและการปรับปรุงหลักสูตร 2. คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร นำข้อที่ควรพัฒนา จากการประเมินผล การใช้หลักสูตร มาวางแผนพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร 3. ดำเนินการพัฒนา และปรับปรุงหลักสูตร 4. สรุปรายงานผลการปรับปรุงหลักสูตร ให้ฝ่ายวิชาการ และผู้บริหารทราบ

การจัดการเรียนรู้

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการแก้ไขปัญหา ความสามารถในการสือสาร

รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ อยู่อย่าง พอเพียง มุ่งมั่น ในการทำงาน ซื่อสัตย์สุจริต คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 8 ประการ รัก ความเป็นไทย มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีจิตสาธารณะ

การพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของนักเรียน ศึกษานักเรียนเป็นรายบุคคล คัดกรอง/ค้นหา/คัดแยก กลุ่มความสามารถพิเศษ กลุ่มปกติ กลุ่มความต้องการพิเศษ ส่งเสริมความต้องการ พัฒนาเพิ่มศักยภาพ คงสภาพ พัฒนาดีขึ้น จัดการศึกษา ที่เป็นเลิศ จัดการศึกษา เฉพาะกลุ่ม

การจัดการเรียนการสอน การส่งเสริมและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ การจัดทำแผนการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมพัฒนา ห้องสมุดและห้องปฏิบัติการ การจัดการเรียนการสอน การพัฒนาการเรียน การสอนทุกกลุ่มสาระ การจัดหาสื่อแหล่งเรียนรู้ การส่งเสริมงานวิจัย

การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม การวัดและประเมินผล การวิจัยในชั้นเรียน การสร้างความตระหนัก ส่งเสริมให้ครูผลิต/ การใช้สื่อการเก็บรักษา คณะกรรมการ บริหารหลักสูตร การสร้างความตระหนักให้กับครู การจัดการเรียนรู้ ด้วยวิธีที่หลากหลาย ส่งเสริมให้มีสื่อ/ แหล่งเรียนรู้ ระเบียบการวัดและการประเมินผลชาติและสถานศึกษา การส่งเสริมละพัฒนาครู ในการจัดทำวิจัย ในชั้นเรียน วิธีสอนหลายวิธี จัดสรรงบประมาณ กำหนดระเบียบ และวิธีการวัดและประเมินผล ระดับสถานศึกษา พัฒนาครู/ค้นคว้ารูปแบบการสอน ออกแบบการเรียนรู้ สู่ครูต้นแบบ การนิเทศ ติดตาม ดูแล ช่วยเหลือ การประกวดสื่อ การจัดกิจกรรมการศึกษา แหล่งเรียนรู้ ภายใน และภายนอกสถานศึกษา การรายงาน และการเผยแพร่ หลักการวัดและประเมินผล การจัดการเรียนรู้ ไม่จำกัดเวลา/สถานที่ การสร้างเครื่องมือและการพัฒนาเครื่องมือการวัดและประเมินผล การประเมินการใช้สื่อ และแหล่งเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการ เอกสารและการจัดทำเอกสารการวัดและประเมินผล/คู่มือการประเมินผลระดับโรงเรียน

การวัดและประเมินผล

การวัดและการประเมินผล คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และสาระย่อย/สาระเพิ่มเติม ระเบียบการวัดและประเมินผล ของโรงเรียนที่ปรับแล้ว โดยยึดของหลักสูตรแกนกลาง ระเบียบวิธีการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลาง กำหนดระยะเวลาการวัด การตรวจสอบ/การซ่อมเสริม ประเมินรายภาค/รายปี กำหนดวิธีการวัดและประเมินผล จำแนกเป็นรายวิชา/สาระ/กิจกรรม ปรับพื้นฐาน การจัดทำเกณฑ์/กำหนด วิธีการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ (อิงแกนกลาง) เอกสารการวัด และประเมินผล ตามรูปแบบของโรงเรียน ก่อนเรียน สอนซ่อมเสริม ระหว่างเรียน หลังเรียน ประเมินผลรายภาค/รายปี สรุปผลการประเมิน ผู้บริหารโรงเรียนตรวจสอบ/อนุมัติผลการเรียน

เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐานตามโครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดและรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด

เกณฑ์การจบระดับประถมมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิจตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 11 หน่วยกิจ ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน การคิดวิเคราะห์และการเขียน ในระดับผ่าน การเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านการเกณฑ์ การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด

การนิเทศการศึกษา (การนิเทศภายใน) สร้างความตระหนัก ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ วางแผนการนิเทศภายใน ดำเนินการนิเทศภายใน ตามโครงการ ประเมินผลการนิเทศภายใน ผลสรุปไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาต่อไป

....??? ขอบคุณ