การบริหารงานวิชาการ สู่ศตวรรษที่ 21 สมเกียรติ รัตนวิฑูรย์ ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 sk_rat99@hotmail.com : 081-8844178
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21 st Century Student Outcomes and Support Systems) สมเกียรติ รัตนวิฑูรย์ ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 sk_rat99@hotmail.com : 081-8844178
ขอบข่ายและภารกิจการบริหารงานวิชาการ การบริหารหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ การประกันคุณภาพ การศึกษา การพัฒนาศักยภาพ การเรียนรู้ของนักเรียน ระเบียบและแนวทางปฏิบัติ ในการบริหารหลักสูตร การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การนำหลักสูตรไปใช้ การตรวจสอบ ทบทวน หลักสูตร การรายงานการตรวจสอบ ทบทวนหลักสูตร การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การวางแผนการ บริหารงานวิชาการ การจัดการเรียน การสอน การคัดเลือกหนังสือ แบบเรียน การนิเทศการศึกษา วิธีการจัดการเรียนรู้ การพัฒนานวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การแนะแนว การวิจัยในชั้นเรียน การวัดผลประเมินผล หลักการและแนวคิด การประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา การประกันคุณภาพ ภายนอกสถานศึกษา การพัฒนานักเรียน สู่ความเป็นเลิศ การจัดการศึกษา พิเศษ ร่วมเรียน
การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล งานหลัก การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
งานสนับสนุน การวางแผนงานด้านวิชาการ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพฯ การนิเทศการศึกษา การแนะแนว การพัฒนาสื่อและการเลือกใช้ การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ การส่งเสริมและให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง
การพัฒนาหลักสูตร
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษา & ท้องถิ่น มาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง ระดับชาติ
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น การนำหลักสูตรแกนกลางฯ สู่การปฏิบัติ สพฐ. หลักสูตรแกนกลาง สพป. กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน ส่วนที่สถานศึกษา เพิ่มเติม + + แกนกลาง ท้องถิ่น
กระทรวงศึกษาธิการ มาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง หลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษา ประถมศึกษา แกนกลาง สพฐ. 80% สาระเพิ่มเติม 8% กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน 12%
หลักสูตรสถานศึกษา ม.1-3 (ไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต) แกนกลาง สพฐ. 70% (66 หน่วยกิต) สาระเพิ่มเติม 20% (ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต) กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน 10%
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การนำหลักสูตรไปใช้ 4. ประเมินผลการใช้หลักสูตร ให้สอดคล้องกับกระบวนการในการจัดทำหลักสูตร 1. ประชุมชี้แจง ให้ครูได้รับทราบ แนวทางการนำหลักสูตรไปใช้ 2. ให้ครูแต่ละกลุ่มสาระ ร่วมกันวิเคราะห์หลักสูตรสู่แผนการจัดการเรียนรู้ 5. สรุปผลการนำหลักสูตรไปใช้ จากแบบประเมิน 3. จัดทำแหนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ทันสมัย มุ่งคุณภาพ ของผู้เรียนเป็นสำคัญ
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การตรวจสอบทบทวนหลักสูตร ประชุมชี้แจง ให้ครูได้รับทราบ แนวทางการตรวจสอบหลักสูตร คณะกรรมการจัดทำหลักสูตร สถานศึกษาร่วมกัน ตรวจสอบ ทบทวนหลักสูตร อย่างน้อย ปีการศึกษาละ 1 ครั้ง ตามหัวข้อ ดังนี้ วิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมาย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงสร้างหลักสูตร เป้าหมายและทิศทางของแต่ละกลุ่มสาระ มาตรฐาน และตัวชี้วัดของแต่ละกลุ่มสาระ รายวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การจัดการเรียนรู้ และการส่งเสริมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล สรุปข้อมูล เพื่อเตรียมจัดทำรายงาน การประเมินหลักสูตร
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การรายงานการตรวจสอบทบทวนหลักสูตร 1. รวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึก ผลการประเมิน การใช้หลักสูตรในทุกองค์ประกอบ 2. นำผลจากข้อ 1 ไปจัดกระทำตามขั้นตอน กระบวนการประเมินผลทางสถิติ 3. นำผลที่ได้มาวิเคราะห์ ให้ผู้เกี่ยวข้อง และสาธารณชนทราบ
การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร 1. ผู้บริหารประชุมชี้แจง ให้ครูเห็นความสำคัญ และแนวทางการพัฒนาและการปรับปรุงหลักสูตร 2. คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร นำข้อที่ควรพัฒนา จากการประเมินผล การใช้หลักสูตร มาวางแผนพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร 3. ดำเนินการพัฒนา และปรับปรุงหลักสูตร 4. สรุปรายงานผลการปรับปรุงหลักสูตร ให้ฝ่ายวิชาการ และผู้บริหารทราบ
การจัดการเรียนรู้
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการแก้ไขปัญหา ความสามารถในการสือสาร
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ อยู่อย่าง พอเพียง มุ่งมั่น ในการทำงาน ซื่อสัตย์สุจริต คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 8 ประการ รัก ความเป็นไทย มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีจิตสาธารณะ
การพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของนักเรียน ศึกษานักเรียนเป็นรายบุคคล คัดกรอง/ค้นหา/คัดแยก กลุ่มความสามารถพิเศษ กลุ่มปกติ กลุ่มความต้องการพิเศษ ส่งเสริมความต้องการ พัฒนาเพิ่มศักยภาพ คงสภาพ พัฒนาดีขึ้น จัดการศึกษา ที่เป็นเลิศ จัดการศึกษา เฉพาะกลุ่ม
การจัดการเรียนการสอน การส่งเสริมและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ การจัดทำแผนการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมพัฒนา ห้องสมุดและห้องปฏิบัติการ การจัดการเรียนการสอน การพัฒนาการเรียน การสอนทุกกลุ่มสาระ การจัดหาสื่อแหล่งเรียนรู้ การส่งเสริมงานวิจัย
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม การวัดและประเมินผล การวิจัยในชั้นเรียน การสร้างความตระหนัก ส่งเสริมให้ครูผลิต/ การใช้สื่อการเก็บรักษา คณะกรรมการ บริหารหลักสูตร การสร้างความตระหนักให้กับครู การจัดการเรียนรู้ ด้วยวิธีที่หลากหลาย ส่งเสริมให้มีสื่อ/ แหล่งเรียนรู้ ระเบียบการวัดและการประเมินผลชาติและสถานศึกษา การส่งเสริมละพัฒนาครู ในการจัดทำวิจัย ในชั้นเรียน วิธีสอนหลายวิธี จัดสรรงบประมาณ กำหนดระเบียบ และวิธีการวัดและประเมินผล ระดับสถานศึกษา พัฒนาครู/ค้นคว้ารูปแบบการสอน ออกแบบการเรียนรู้ สู่ครูต้นแบบ การนิเทศ ติดตาม ดูแล ช่วยเหลือ การประกวดสื่อ การจัดกิจกรรมการศึกษา แหล่งเรียนรู้ ภายใน และภายนอกสถานศึกษา การรายงาน และการเผยแพร่ หลักการวัดและประเมินผล การจัดการเรียนรู้ ไม่จำกัดเวลา/สถานที่ การสร้างเครื่องมือและการพัฒนาเครื่องมือการวัดและประเมินผล การประเมินการใช้สื่อ และแหล่งเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการ เอกสารและการจัดทำเอกสารการวัดและประเมินผล/คู่มือการประเมินผลระดับโรงเรียน
การวัดและประเมินผล
การวัดและการประเมินผล คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และสาระย่อย/สาระเพิ่มเติม ระเบียบการวัดและประเมินผล ของโรงเรียนที่ปรับแล้ว โดยยึดของหลักสูตรแกนกลาง ระเบียบวิธีการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลาง กำหนดระยะเวลาการวัด การตรวจสอบ/การซ่อมเสริม ประเมินรายภาค/รายปี กำหนดวิธีการวัดและประเมินผล จำแนกเป็นรายวิชา/สาระ/กิจกรรม ปรับพื้นฐาน การจัดทำเกณฑ์/กำหนด วิธีการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ (อิงแกนกลาง) เอกสารการวัด และประเมินผล ตามรูปแบบของโรงเรียน ก่อนเรียน สอนซ่อมเสริม ระหว่างเรียน หลังเรียน ประเมินผลรายภาค/รายปี สรุปผลการประเมิน ผู้บริหารโรงเรียนตรวจสอบ/อนุมัติผลการเรียน
เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐานตามโครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดและรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
เกณฑ์การจบระดับประถมมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิจตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 11 หน่วยกิจ ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน การคิดวิเคราะห์และการเขียน ในระดับผ่าน การเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านการเกณฑ์ การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
การนิเทศการศึกษา (การนิเทศภายใน) สร้างความตระหนัก ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ วางแผนการนิเทศภายใน ดำเนินการนิเทศภายใน ตามโครงการ ประเมินผลการนิเทศภายใน ผลสรุปไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาต่อไป
....??? ขอบคุณ