ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ D O P A ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ นายเกรียงไกร ปัญญาพงศธร นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กองวิชาการและแผนงาน
กรอบการนำเสนอ 1. ที่มาของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 2. ความเข้าใจเรื่องการบริหารยุทธศาสตร์ 3. กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
1.ที่มาของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์(ภาครัฐ) ก่อนหน้า ปี 2545 ปี 2546 การจัดการภาครัฐ แนวใหม่ พ.ร.บ.บริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 5 ม.3/1 พ.ร.ฎ. บริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี มุ่งผลสัมฤทธิ์ เน้นประสิทธิผล ประสิทธิภาพ สามารถวัดได้ ทำงานเป็นทีม กระจายอำนาจ ประโยชนสุข ประชาชน ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจรัฐ ประสิทธิภาพ และคุ้มค่า ลดขั้นตอน ลดภารกิจ และยุบเลิก กระจายอำนาจ ประโยชน์สุข ประชาชน ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจรัฐ ประสิทธิภาพ และคุ้มค่า ลดขั้นตอน ปรับภารกิจทันต่อเหตุการณ์ สนองความต้องการ ประชาชน ประเมินผลสม่ำเสมอ แนวคิด บอกวัตถุประสงค์ บอกวิธีการ 3 3
หมวด 3 เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 3 เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มาตรา 9 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ให้ส่วนราชการปฏิบัติ ดังนี้ 1. ในการจัดทำภารกิจต่าง ๆ ส่วนราชการต้องมีแผนปฏิบัติงานล่วงหน้า (P) 2. แผนปฏิบัติงานต้องมีรายละเอียดขั้นตอนระยะเวลา และงบประมาณ (D) 3. ต้องมีระบบการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนงานนั้น (C) 4. ในกรณีที่มีผลกระทบต่อประชาชน ส่วนราชการต้องแก้ไข (A) มาตรา 16 ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน และในแต่ละปีให้จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 1 ปี และแผนปฏิบัติราชการมีผลโดยตรงกับงบประมาณ
2.1การวางแผนเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ 2. ความเข้าใจเรื่องการบริหารยุทธศาสตร์ 2.1การวางแผนเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ การวางแผน(P) การทบทวน หรือแก้ไข (A) การดำเนินการตามแผน (D) การติดตาม ประเมินผล(C)
เราจะไปสู่จุดนั้นได้อย่างไร? 2.2 เครื่องมือการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ P ปัจจุบันเราอยู่จุดไหน ศักยภาพเราเป็นอย่างไร SWOT Analysis การวิเคราะห์ศักยภาพ ประเมินสภาวะแวดล้อม ประเมินแรงกดดัน ประเมินผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์/ตัวชี้วัด ในอนาคตเราต้องการไปสู่ จุดไหน? Vision and Goals การกำหนดทิศทาง เราจะไปสู่จุดนั้นได้อย่างไร? แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ Strategies การกำหนดกลยุทธ์ เราต้องทำอะไร จ่ายเท่าไหร่เพื่อไปสู่จุดนั้น จัดทำโครงการ/งบประมาณ D การนำไปปฏิบัติ การมอบหมายงานแต่ละฝ่าย การจัดทำตัวชี้วัด/คำรับรอง เราทำได้ตามที่ต้องการ หรือไม่ การติดตาม ประเมินผล ติดตามประเมินผลการดำเนินการ Balanced Scorecard KPI Benchmarking C เราต้องปรับปรุงหรือแก้ไขอะไร เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมาย พิจารณาผลการดำเนินการ A ทบทวน/ปรับแผน การทบทวนยุทธศาสตร์
3.กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ การกำหนดทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมองค์กร ภาพในอนาคตที่องค์กรต้องการเป็น ในห้วงเวลาที่กำหนด วิสัยทัศน์ Vision ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก จุดแข็ง Strengths โอกาส Opportunities ขอบเขตการดำเนินงานขององค์กร เพื่อให้องค์กรบรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ ซึ่งอาจมีที่มาจากอำนาจหน้าที่ หรือวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งองค์กรนั้นๆ พันธกิจ Mission ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก จุดอ่อน Weaknesses ประเด็นยุทธศาสตร์ Strategic Issues ประเด็นสำคัญที่ต้องคำนึกถึง ต้องพัฒนา ต้องมุ่งเน้น เพื่อการบรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กร ภัยคุกคาม Threats เป้าหมายหลักที่องค์กรต้องการบรรลุตามประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ Goal ตัวชี้วัด (KPI) สิ่งที่จะเป็นตัวบอกว่าองค์กรสามารถบรรลุเป้าประสงค์หรือไม่ นำผลการวิเคราะห์ SWOT มาเป็นปัจจัยในการกำหนด กลยุทธ์ ค่าเป้าหมาย (Target) ตัวเลข หรือค่า ของตัวชี้วัดที่จะต้องไปให้ถึง กลยุทธ์ (Strategy) สิ่งที่องค์กรจะทำเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ โครงการ โครงการ โครงการ
3.1 วิเคราะห์สภาพแวดล้อมองค์กร (SWOT Analysis) ปัจจัยแวดล้อมภายใน โครงสร้าง บุคลากร เงิน วัสดุอุปกรณ์ การจัดการ ทักษะ ความชำนาญ วัฒนธรรมขององค์กร จิตสำนึก ความขัดแย้ง ความสามัคคี ภาวะผู้นำ (Leadership) วิสัยทัศน์/กลยุทธ์/แผน ทรัพยากร/ทุนในลักษณะต้นทุน ภูมิปัญญา / ทุนทางปัญญา S : Strengths จุดแข็ง - ข้อดีที่เกิดจากคนหรือสภาพแวดล้อมภายในองค์กร W : Weakness จุดอ่อน - ข้อเสียหรือปัญหาอุปสรรคที่เกิดจากคนหรือ สภาพแวดล้อมภายในองค์กร ซึ่งเราสามารถแก้ไขได้ ปัจจัยแวดล้อมภายนอก O : Opportunities โอกาส - ข้อดีที่เกิดจากคนหรือสภาพแวดล้อมภายนอก T : Threats ภัยคุกคาม/ข้อจำกัด - ข้อเสีย/ปัญหาอุปสรรคที่เกิดจากคนหรือ สภาพแวดล้อมภายนอก เราควบคุมไม่ได้ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม นโยบายของรัฐ การสนับสนุนจากภายนอก เทคโนโลยี (Technology)
หลักในการเขียนวิสัยทัศน์ 3.2 การกำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) หลักในการเขียนวิสัยทัศน์ สั้น กะทัดรัด จดจำได้ง่าย บอกถึงความปรารถนา ความคาดหวัง ความท้าทาย บอกถึงรูปพรรณของความคิด ความคาดหวัง บอกให้ทราบถึงสิ่งที่ต้องการจะบรรลุถึงหรือระดับของการให้บริการ เร้าความสนใจของสมาชิกทุกคนในองค์การ รวมทั้งผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย Vision = Information + Inspiration
ตัวอย่างวิสัยทัศน์หน่วยงานต่างๆ วิสัยทัศน์ประเทศไทย(แผน 11) : สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง วิสัยทัศน์กระทรวงมหาดไทย : เป็นกระทรวงหลักในการบริหารจัดการ และบูรณาการทุกภาคส่วน เพื่อบำบัดทุกข์ บำรุงสุขประชาชน วิสัยทัศน์กรมการปกครอง : “องค์กรหลักของชาติ ในการบูรณาการการบริหารราชการ การบริการ และ การรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายในทุกระดับในพื้นที่ให้เข้มแข็งบนฐานธรรมาภิบาล ที่ประชาชนเชื่อมั่น และศรัทธา”
3.3 การกำหนดพันธกิจ (Mission) 1) บ่งบอกว่าหน่วยงานจะทำอะไร ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน คือ พันธกิจตามกฎหมาย และพันธกิจ ตามวิสัยทัศน์ หรือนโยบายผู้บริหารระดับสูง 2) ต้องเป็นกรอบในการกำหนดพันธกิจของ หน่วยงานย่อย
Missions vs. Visions พันธกิจ (Mission) บอกให้รู้ถึงขอบเขตการดำเนินงานของหน่วยงาน บอกให้รู้ถึงสาเหตุของการดำรงอยู่ และมุ่งเน้นที่บทบาท หน้าที่ ที่จะต้องทำ วิสัยทัศน์ บอกให้รู้ถึงสิ่งที่หน่วยงานอยากจะหรือต้องการจะเป็นในอนาคต บอกให้รู้ถึงทิศทางที่ควรจะเป็น มีความเป็นไปได้ และเป็นที่ยอมรับ
พันธกิจ:กรมการปกครอง อำนวยการ บังคับใช้กฎหมาย การตรวจสอบถ่วงดุล ในด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายใน การอำนวยความเป็นธรรมในภารกิจกรมการปกครอง บริการประชาชนด้านงานทะเบียนราษฎร บัตรประจำตัวประชาชน ทะเบียนทั่วไป และทะเบียนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายใน บริหารจัดการระบบเทคโนโลยีการปฏิบัติงาน และระบบฐานข้อมูลกลางให้มีคุณภาพเพื่อการใช้ประโยชน์ร่วมกันอย่างบูรณาการของภาครัฐและภาคเอกชน บูรณาการการบริหารราชการ การปกครองท้องที่ การบริการ การรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายในทุกระดับในพื้นที่ให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน นโยบายรัฐบาล และการพัฒนาประเทศ พัฒนาองค์กรให้มีสมรรถนะสูง บนฐานธรรมาภิบาล
3.4 การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) ประเด็นยุทธศาสตร์ คือ สิ่งที่ต้องได้รับการพัฒนา สิ่งที่ต้องคำนึงถึง ประเด็นหลัก ประเด็นที่สำคัญที่จำเป็นต้องดำเนินการพัฒนาเพื่อนำไปสู่วิสัยทัศน์
ประเด็นยุทธศาสตร์:กรมการปกครอง การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการแบบบูรณาการในพื้นที่ให้เข้มแข็ง การรักษาความสงบเรียบร้อย และอำนวยความเป็นธรรม ให้สังคมสงบสุข การเสริมสร้างความมั่นคงภายในทุกระดับในพื้นที่ให้เข้มแข็ง มีเอกภาพ การพัฒนาระบบการบริการให้ทันสมัย มีคุณภาพ รองรับการเปลี่ยนแปลง พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การเสริมสร้างการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศ และพัฒนาบุคลากรสู่ความเป็นสากล
ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 3.5 การกำหนดเป้าประสงค์ ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์แต่ละด้าน จะต้องกำหนดว่าอะไรคือ เป้าประสงค์ที่ต้องการบรรลุ ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ ข้อที่ 1 เป้าประสงค์ ข้อที่ 2
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ การเสริมสร้างการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศ และพัฒนาบุคลากรสู่ความเป็นสากล เป้าประสงค์ ๕.๑ ระบบการบริหารจัดการของกรมการปกครองมีความเป็นเลิศตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มีความทันสมัยและเป็นสากลพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ๕.๒ บุคลากรของกรมการปกครองมีสมรรถนะสูง มีความสุขในการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัด ๕.๑.๑ ระดับความสำเร็จในการพัฒนาตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ๕.๒.๑ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร เป้าหมาย ๕๗ ระดับ ๕ ระดับ ๕ กลยุทธ์ ๑. ปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลังให้เหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจที่เปลี่ยนแปลง ๒. พัฒนาระบบบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนภารกิจของ ปค. ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ๓. พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานของกรมการปกครอง ๔. พัฒนาปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของกับบทบาทหน้าที่ของ ปค. ให้มีความเหมาะสมเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ๕. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารราชการในระดับพื้นที่เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ๑. พัฒนาบุคลากรให้มีองค์ความรู้รอบด้านเพิ่มทักษะและสมรรถนะที่เหมาะสม มีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน ๒. พัฒนาบุคลากรเพื่อเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ๓. พัฒนาระบบการสร้างขวัญกำลังใจและความก้าวหน้าในการทำงาน โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการพัฒนาบุคลากรของปกครองเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ๒. โครงการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มศักยภาพการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ๓. โครงการปรับปรุงโครงสร้างและเพิ่มอัตรากำลัง ๔. โครงการเสริมสร้างสมรรถนะข้าราชการผู้มีศักยภาพสูง (Dopa Yong Talent) ๕. โครงการปฏิบัติธรรมพัฒนาจิตเพื่อชีวิตที่สมดุล ๖. โครงการชมรม Dopa Spirit จิตอาสา ปค. ๗. ฯลฯ ๑. โครงการปรับปรุงโครงสร้างและวางแผนกำหนดอัตรากำลัง ๒. โครงการเสริมสร้างภาพลักษณ์ ๓. โครงการปรับปรุงโครงสร้างและเพิ่มอัตรากำลัง ๔. โครงการสัมมนาทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ๕. โครงการบริหารจัดการฐานข้อมูลสารสนเทศของ ปค. ๖. ฯลฯ ๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๕๒ - ๒๕๕๔)ของกรมการปกครอง 17
3.6 การกำหนดตัวชี้วัด (Key Performance Indicators) เป้าประสงค์ --- สิ่งที่จะวัด / จะวัดอะไร / What to measure? ตัวชี้วัด --- จะวัดอย่างไร / How to measure? ภายใต้เป้าประสงค์แต่ละประการ อะไรคือตัวชี้วัดที่จะบอกได้ว่าสามารถบรรลุเป้าประสงค์ดังกล่าว ตัวชี้วัด สามารถพิจารณาได้ ในแง่ ปริมาณ / คุณภาพ / ต้นทุน / เวลา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ การเสริมสร้างการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศ และพัฒนาบุคลากรสู่ความเป็นสากล เป้าประสงค์ ๕.๑ ระบบการบริหารจัดการของกรมการปกครองมีความเป็นเลิศตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มีความทันสมัยและเป็นสากลพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ๕.๒ บุคลากรของกรมการปกครองมีสมรรถนะสูง มีความสุขในการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัด ๕.๑.๑ ระดับความสำเร็จในการพัฒนาตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ๕.๒.๑ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร เป้าหมาย ๕๗ ระดับ ๕ ระดับ ๕ กลยุทธ์ ๑. ปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลังให้เหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจที่เปลี่ยนแปลง ๒. พัฒนาระบบบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนภารกิจของ ปค. ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ๓. พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานของกรมการปกครอง ๔. พัฒนาปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของกับบทบาทหน้าที่ของ ปค. ให้มีความเหมาะสมเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ๕. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารราชการในระดับพื้นที่เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ๑. พัฒนาบุคลากรให้มีองค์ความรู้รอบด้านเพิ่มทักษะและสมรรถนะที่เหมาะสม มีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน ๒. พัฒนาบุคลากรเพื่อเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ๓. พัฒนาระบบการสร้างขวัญกำลังใจและความก้าวหน้าในการทำงาน โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการพัฒนาบุคลากรของปกครองเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ๒. โครงการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มศักยภาพการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ๓. โครงการปรับปรุงโครงสร้างและเพิ่มอัตรากำลัง ๔. โครงการเสริมสร้างสมรรถนะข้าราชการผู้มีศักยภาพสูง (Dopa Yong Talent) ๕. โครงการปฏิบัติธรรมพัฒนาจิตเพื่อชีวิตที่สมดุล ๖. โครงการชมรม Dopa Spirit จิตอาสา ปค. ๗. ฯลฯ ๑. โครงการปรับปรุงโครงสร้างและวางแผนกำหนดอัตรากำลัง ๒. โครงการเสริมสร้างภาพลักษณ์ ๓. โครงการปรับปรุงโครงสร้างและเพิ่มอัตรากำลัง ๔. โครงการสัมมนาทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ๕. โครงการบริหารจัดการฐานข้อมูลสารสนเทศของ ปค. ๖. ฯลฯ ๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๕๒ - ๒๕๕๔)ของกรมการปกครอง 19
3.7 การกำหนดกลยุทธ์ กลยุทธ์ เป็นสิ่งที่หน่วยงานจะทำ หรือ ดำเนินการ เพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ เป้าประสงค์แต่ละประการ จะต้องมีกลยุทธ์มาสอดรับ โดยกลยุทธ์เป็นภาพใหญ่ที่มองถึงสิ่งที่จะทำให้บรรลุเป้าประสงค์ แต่ยังไม่ลงไปในรายละเอียดถึงขั้นของโครงการ กลยุทธ์แต่ละข้อจะต้องมีการกำหนดหน่วยงานเจ้าภาพ ทุกกลยุทธ์จะต้องมีการจัดทำโครงการมารองรับ
ด้วยความขอบคุณ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง