คำขวัญ : เรื่องงานใหญ่ๆโตๆ มาติดเทอร์โบแล้วไปกับเรา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวางแผน และ ควบคุมกิจกรรมในโครงการ
Advertisements

Production Chart.
โครงงาน คุณธรรมจริยธรรมในชั้นเรียน
บทที่ 9 การบริหารคุณภาพ Quality Control and Management
การจัดทำผังดุลดัชนี (BSC) ตามกรอบแนวทาง
นางสาวสรัญญา ชื่นเย็น (พี่ออย) เจ้าหน้าที่ศูนย์นวัตกรรมการจัดการ อ.ก้องภู นิมานันท์ อาจารย์ที่ปรึกษา 1.น.ส.นพรัตน์ ปฏิกรณ์ (คุ๊กกี้) นายบุรินทร์
การบริหารงบประมาณ. รายงานผลการใช้จ่ายเงิน จัดทำแผนการใช้จ่ายเงิน จัดทำคำของบประมาณ.
นางยุภา พรเศรษฐ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนกันตังพิทยากร โรงแรมอินทรา รีเจนท์ กรุงเทพมหานคร การพัฒนาองค์ความรู้การบริหารจัดการ ห้องสมุดมีชีวิต และการขยายเครือข่ายห้องสมุดมีชีวิต.
หน้าต่างหลัก ของโปรแกรม Project Management เป็นโปรแกรมที่ ช่วยดูแล การ จัดการของงาน ต่างๆ ให้มี ความเป็น ระเบียบ และ ตรวจสอบการ ทำงานได้ง่าย ยิ่งขึ้น.
7 QC Tools.
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ .... (รอบ ... เดือน)
Management system at Dell
ผู้อำนวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์ความปลอดภัยแรงงาน สำนักความปลอดภัยแรงงาน
วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่ม ผลผลิต (Work Development with Quality Management.
ลดข้อผิดพลาด รวดเร็ว สมบูรณ์
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
บทที่ 3 การกําหนดปัญหา การศึกษาความเป็นไปได้และการวางแผนโครงการ
The Pareto Principle Some Sample 80/20 Rule Applications
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
เครื่องมือ 7 อย่างของคิวซี
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม Visual Studio 2013 Express
บทที่ 8 การจัดซื้อ บทนำ บทบาทของการจัดซื้อ กิจกรรมต่างๆ ของการจัดซื้อ
เทคนิคการแก้ไขปัญหาแบบ QCC (QC Circle Techniques)
สภาพปัจจุบัน (Actual)
Part 1 เริ่มต้นขายสินค้า Thaitrade.com (SOOK) ต้องทำอย่างไร
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ ๔ ภาค โครงการความร่วมมือขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมในระดับตำบล.
Visual Communication for Advertising Week15-16
ต่อมเอ๊ะ! กับ คำตอบสุดท้าย
“การเพิ่มผลผลิตผู้รับเหมา”
EASY CLEAR รวดเร็ว ฉับไว ใส่ใจ เรื่องเงิน
การติดตามผล (Monitoring) โดย สงวน พงศ์หว่าน 18 กันยายน พ.ศ. 2553
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
บทที่ 7 การควบคุม (Controlling).
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
บทที่1 ความรู้ทั่วไปสำหรับ การจัดการโซ่อุปทาน
กลุ่มที่ มาตรฐานที่ เรื่อง ตัวบ่งชี้/ประเด็นพิจารณาที่ ถึง
การออกแบบธุรกิจออนไลน์
การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ
บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง
Learning Tableau: Chapter 3
บทที่ 6 การบริหารและการวางแผนการผลิต
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
การจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
สวัสดิการ พนักงานส่วนท้องถิ่น
MOCKUP PACKAGE Digital Restaurant.
เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ระบบข้อมูลของโครงการสืบสานพระราชปณิธานต้านมะเร็งเต้านม
หน่วยที่ 9 เครื่องโทรศัพท์.
บทที่1 ความรู้ทั่วไปสำหรับ การจัดการโซ่อุปทาน
“Online Article Service & Tracking System”
การควบคุม (Controlling)
การควบคุมการผลิตสินค้าและบริการ
สร้างเครือข่ายในชุมชน
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การจัดการกระจายสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
การแจ้งจัดสรรงบประมาณประจำปี ๒๕๖๒ โครงการส่งเสริมการอ่านตามรอยพระจริยวัตรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามหนังสือ สพฐ. ที่ ศธ ๐๔๐๑๐/ว ๑๑๐๖.
บทที่ 3 การเตรียมดำเนินโครงการ
บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง
การจัดทำแผนปฏิบัติการ ระดับหน่วยงานกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
Analog vs. Digital Analog Digital
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน College of Logistics and Supply Chain
สหภาพโซเวียต.
บทบาทของโลจิสติกส์ต่อเศรษฐกิจและสังคม
การขายสินค้าออนไลน์.
เงินนอกงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตามเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชีในระบบ GFMIS (กระทรวงสาธารณสุข) นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำขวัญ : เรื่องงานใหญ่ๆโตๆ มาติดเทอร์โบแล้วไปกับเรา Lemon Turbo! ชื่อกลุ่ม Lemon Turbo Lemon มาจากคำว่า มะนาว ซึ่งความเปรี้ยวอยู่ในตัวเหมือนกับสมาชิกทุกคนในกลุ่มเปรียบเสมือนกับความสามารถ Turbo หมายถึงความเร็วที่แสดงถึงความกระตือรือร้นของสมาชิกภายในกลุ่ม เมื่อนำคำสองคำมารวมกันโดยจะมีความหมายว่า ทุกคนจะนำความสามารถของตัวเองออกมาใช้ในการทำงานอย่างเต็มที่และมีความกระตือรือร้นในการทำงาน คำขวัญ : เรื่องงานใหญ่ๆโตๆ มาติดเทอร์โบแล้วไปกับเรา - ลดปัญหาการขนส่งล่าช้าภายในประเทศไปยังท่าเรือ -

คำขวัญ : เรื่องงานใหญ่ๆโตๆ มาติดเทอร์โบแล้วไปกับเรา แนะนำสมาชิก นายวีราวุธ วงศ์อินทร์ 571512136 นายปฎิภาณ ขาวจิตร 571512089 นางสาวภาวิณี พรหมใจษา 571512116 Lemon Turbo! คำขวัญ : เรื่องงานใหญ่ๆโตๆ มาติดเทอร์โบแล้วไปกับเรา รายชื่อสมาชิก 1.นางสาว ธัญพิชา อรินต๊ะ นุ้งนิ้ง รหัสนักศึกษา 571512075 2.นางสาว นววรรณ วิริยม ไนซ์ รหัสนักศึกษา 571512081 3.นาย บุญยวิชญ์ ธาราวัชรศาสตร์ ตั้งโอ๋ รหัสนักศึกษา 571512086 4.นาย ปฏิภาณ ขาวจิตร จอม รหัสนักศึกษา 571512089 5.นางสาว ภาวิณี พรหมใจษา กิ๊ฟ รหัสนักศึกษา 571512116 6.นางสาว มณกร อะทะวงศ์ษา ครองแครง รหัสนักศึกษา 571512120 7.นาย วีราวุธ วงศ์อินทร์ อาร์ม รหัสนักศึกษา 571512136 8.นางสาว อภิชญา ขอสุข ตูน รหัสนักศึกษา 571512169 นางสาวอภิชญา ขอสุข 571512169 นางสาวนววรรณ วิริยม 571512081 นางสาวมณกร อะทะวงศ์ษา 571512120 นายบุญยวิชญ์ ธาราวัชรศาสตร์ 571512086 นางสาวธัญพิชชา อรินต๊ะ 571512075

แนะนำบริษัท บริษัท T.K. Express logistics จำกัด เป็นบริษัทเกี่ยวกับการรับส่งของและกระจายสินค้าไปยังต่างประเทศโดยใช้ช่องทางเดินเรือและทางอากาศโดยสินค้าส่วนใหญ่เป็นประเภทงานประดิษฐ์ที่ทำจากไม้และผ้า เช่น กระเป๋าหวาย ผ้าถุง พระพุทธรูปจากไม้ โคมไฟจากไม้

การประชุมเพื่อคัดเลือกหัวข้อของปัญหา การคัดเลือกหัวข้อปัญหา ทางสมาชิกได้มีการประชุมว่ามีปัญหาใดในบริษัทบ้างและได้หัวข้อของปัญหาที่น่าสนใจ และได้หัวข้อปัญหาออกมา ได้แก่ 1.ปัญหาเกี่ยวกับการสื่อสารระหว่างแผนก 2.ปัญหาเกี่ยวกับการขนส่งไปยังท่าเรือล่าช้า 3.ปัญหาเกี่ยวกับการติดต่อขององค์กรและสายเรือ 4.ปัญหาที่เกี่ยวกับ องค์กร และ Supplier โดยมีการคัดเลือกจากความเป็นไปได้ ความรุนแรงที่เกิดขึ้น และความถี่มีการให้ลำดับคะแนน 1 – 5 และปัญหาที่มีคะแนนมากที่สุดจากผลรวมของการคูณตัวเลขจะเป็นปัญหาที่เราจะนำมาแก้ไข

การคัดเลือกหัวข้อปัญหา 1 ลำดับ ปัญหา คะแนน ความเป็นไปได้ ความรุนแรง ความถี่ รวม 1 ปัญหาเกี่ยวกับการสื่อสารระหว่างแผนก 3 2 18 ปัญหาเกี่ยวกับการขนส่งไปยังท่าเรือล่าช้า 4 48 ปัญหาเกี่ยวกับการติดต่อขององค์กรและสายเรือ 24 ปัญหาที่เกี่ยวกับ องค์กร และ Supplier 6 เราได้กำหนดระดับของคะแนนแสดงถึงปัญหาที่เกิดขึ้นคือ 1 คะแนนต่ำที่สุดและ 5 คะแนนคือสูงที่สุด การค้นหาปัญหาและคัดเลือกหัวข้อ จากการค้นหาปัญหาและคัดเลือกปัญหา เราได้หัวข้อปัญหาที่น่าสนใจมา 4 หัวข้อดังนี้ 1.ปัญหาเกี่ยวกับการสื่อสารระหว่างแผนก 2.ปัญหาเกี่ยวกับการขนส่งไปยังท่าเรือล่าช้า 3.ปัญหาเกี่ยวกับการติดต่อขององค์กรและสายเรือ 4.ปัญหาที่เกี่ยวกับ องค์กร และ Supplier จากการประชุมจึงได้เลือกหัวข้อที่มีระดับของความรุนแรงเกิดขึ้นมากที่สุดคือหัวข้อที่ 2 ปัญหาเกี่ยวกับการขนส่งไปยังท่าเรือล่าช้า มูลเหตุที่ทำให้กลุ่มของเราสนใจปัญหานี้ได้แก่ 1.เพราะเป็นปัญหาที่เราสามารถช่วยแก้ไขได้ค่อนข้างที่จะไม่กระทบกับองค์มากเกินไป 2.มีความเป็นไปได้ที่จะประสบความสำเร็จมากกว่าหัวข้ออื่นๆ 3.เป็นปัญหาที่พบบ่อยและเกิดขึ้นมากที่สุดในองค์กร ปัญหาที่ได้รับคัดเลือกก็คือ... ปัญหาเกี่ยวกับการขนส่งไปยังท่าเรือล่าช้า

2 กำหนดสภาพปัจจุบันและการตั้งเป้าหมาย การขนส่งของบริษัท T.K. Express logistics จำกัด Before After Order Order 1 days T.K. กรุงเทพฯ 4 days T.K. กรุงเทพฯ transports 7 days ท่าเรือแหลมฉบัง ท่าเรือแหลมฉบัง การกำหนดสภาพปัจจุบัน การขนส่งของบริษัทมีการขนส่งไปกลับๆ หลายทอดมากจนเกินไป โดยข้างต้นจะมีการรับสินค้าและส่งขึ้นมาเพื่อบรรจุสินค้าลงกล่องกันกระแทกที่จังหวัดเชียงใหม่และต้องรอสินค้าทั้งหมดโหลดเต็มตู้ จึงจะขนย้ายไปยังท่าเรือแหลมฉบังเพื่อขนส่งไปยังต่างประเทศ และจากการตั้งเป้าหมายทางสมาชิกกลุ่มได้มีการประชุมอยากจะลดระยะเวลาในการขนส่งไปยังท่าเรือให้เหลือ 9 วัน จากระยะเวลา ทั้งหมด 16 วัน ** ระยะเวลาข้างต้นเป็นระยะเวลาในการขนส่งของจังหวัดกรุงเทพฯและเชียงใหม่ จังหวัดอื่นนอกเหนือจากนี้จะใช้เวลามากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับระยะทาง 2 days - ตรวจสอบ - รับสินค้า - ขนส่งสินค้าไปเชียงใหม่ - ตรวจสอบสินค้า - บรรจุของลงกล่อง - โหลดเข้าตู้คอนเทนเนอร์ transports 3 days 1 days T.K. เชียงใหม่ 7 days transports T.K. เชียงใหม่ - ตรวจสอบสินค้า - บรรจุของลงกล่อง - โหลดเข้าตู้คอนเทนเนอร์ เป้าหมายที่ต้องการ 16 days 9 days

การวางแผนและการดำเนินงาน 3 Gantt Chart ขั้นตอน 7 step of QC story ผู้รับผิดชอบ มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน สิ่งที่ต้องปฏิบัติ 1 2 3 4 การค้นหา/คัดเลือกปัญหาหัวข้อ สมาชิก   กลุ่มมาช่วยกันค้นหาปัญหาและสำรวจปัญหาที่เกิดขึ้นในโรงงาน การสำรวจสภาพปัจจุบันและตั้งเป้าหมาย วิเคราะห์ปัญหาและหาความถี่ที่เกิดขึ้น การวางแผนกิจกรรม ช่วยกันกำหนดหน้าที่ที่จะต้องทำ การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ได้จัดทำแผนผังก้างปลาเพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา 5 การกำหนดมาตรการแก้ไขและการปฏิบัติ กำหนดวิธีการแก้ไขและเสนอวิธีการแก้ไขให้แก่บริษัท 6 การตรวจสอบผลการแก้ไข ตรวจสอบผลว่าตรงกับที่คาดไว้หรือไม่ 7 การสร้างมาตรฐานและการทำเป็นมาตรฐาน ทำให้แผนการดำเนินงานให้กลายเป็นมาตรฐาน 8 นำเสนอผลงาน จากตารางข้างต้นแสดงให้เห็นถึงระยะเวลาของการปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอน และ สิ่งที่ต้องปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 การค้นหา/คัดเลือกปัญหาหัวข้อ ในช่วงอาทิตย์ที่ 2 และ 3 ของเดือนมกราคม สมาชิกภายในกลุ่มได้ช่วยกันค้นหาปัญหาโดยสอบถามปัญหาต่างๆจากบริษัท และได้คัดเลือกปัญหาที่เกิดขึ้นบ่อยที่สุดมาแก้ไข ขั้นตอนที่ 2 การสำรวจสภาพปัจจุบันและตั้งเป้าหมาย สมาชิกได้ตั้งเป้าหมายว่าปัญหาที่เลือกมานั้น จะมีแนวทางแก้ไขอย่างไรถึงจะได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด โดยสมาชิกทั้งหมดมาช่วยกันทำในอาทิตย์ที่ 4 ของเดือนมกราคม จนถึงอาทิตย์ที่ 2 ของเดือนกุมพาพันธ์ ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนกิจกรรม ในช่วงกลางเดือนถึงปลายเดือนกุมภาพันธ์ สมาชิกในกลุ่มมาช่วยกันวางแผนการดำเนินงานในการทำขั้นตอนต่อๆไป ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตอนกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงต้นเดือนมีนาคม สมาชิกได้จัดทำการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา โดยใช้แผนผังก้างปลาและค้นหาความถี่ ให้แสดงออกมาในรูปแผนภูมิพาเรโต ขั้นตอนที่ 5 การกำหนดมาตรการแก้ไขและปฏิบัติ สมาชิกในกลุ่มได้จัดหาวิธีการแก้ไขปัญหาที่เลือกมาให้เกิดประสิทธิภาพให้มากที่สุด ด้วยวิธีการลดระยะเวลาของกิจกรรมโดยใช้ผังการไหลของกิจกรรมตามหน้าที่และเวลา กลุ่มได้ใช้เวลา ในช่วงอาทิตย์ 2 ถึง 4 ของเดือนมีนาคม ในการทำ ขั้นตอนที่ 6 การตรวจสอบผลการแก้ไข ทำในช่วงเวลาอาทิตย์ที่ 1 และ 2 ของเดือนเมษายน กลุ่มได้ตรวจสอบผลว่าตรงกับเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ ขั้นตอนที่ 7 การสร้างมาตรฐานและการทำเป็นมาตรฐาน ในช่วงเวลาอาทิตย์ที่ 3 ของเดือนเมษายน กลุ่มได้สร้างมาตรฐาน โดยใช้แผนงานที่ทำขึ้นและให้บริษัทนำไปปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 8 นำเสนอผลงาน โดยกลุ่มจะนำเสนอในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ.2559 ** จากตารางข้างต้นเป็นการแสดงให้เห็นถึงช่วงระยะเวลาการวางแผนของการปฏิบัติงาน ( รายอาทิตย์ )

วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา 4 แผนผังก้างปลาเป็นแผนผังที่แสดงสาเหตุต่างๆและความเป็นไปได้ที่จะทำให้เกิดปัญหา ซึ่งจากข้อมูลด้านบนมีหลายปัจจัยที่ทำให้การขนส่งเกิดความล่าช้า และสาเหตุที่น่าสนใจที่สุดคือด้านวิธีการที่อาจจะส่งผลกระทบโดยตรงกับปัญหาที่เกิดขึ้น ทางสมาชิกกลุ่มจริงได้มาช่วยกันพิจารณาหาสาเหตุของปัญหาทางด้านวิธีการ และจึงไดข้อสรุปดังนี้ ปัญหาทางด้านวิธีการได้แก่ 1.การขนส่งหลายทอด 2.การตรวจนับไม่ตรงกัน ( น้ำหนัก ) 3.เอกสารการจัดส่งไม่ครบถ้วน 4.ขอใบอนุญาตจากกรมศิลป์ใช้เวลานาน ( ในกรณีเป็นสินค้าที่ต้องได้รับการคุ้มครอง เช่น ไม้สัก ) 5.การติดต่อไม่ชัดเจน 6.ใช้เวลานานในการบรรจุเนื่องจากสินค้าชำรุดง่าย

วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา 4 ตารางแสดงความถี่ของปัญหา ลักษณะของปัญหา ความถี่ เปอร์เซ็นต์ความถี่ ความถี่สะสม 1.การขนส่งหลายทอด 9 39.13% 2.ใช้เวลานานในกี่บรรจุเนื่องจากสินค้าชำรุดง่าย 6 65.23% 15 3.การติดต่อไม่ชัดเจน 4 82.62% 19 4.เอกสารการจัดส่งไม่ครบถ้วน 2 91.32% 21 5.การตรวจนับไม่ตรงกัน(น้ำหนัก) 1 95.66% 22 6.ขอใบอนุญาตจากกรมศิลป์ใช้เวลานาน 100% 23 ขั้นตอนของการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ปัญหาที่เกิดขึ้นที่ทำให้การขนส่งเกิดความล่าช้านั้น นำสาเหตุต่างๆมาแสดงความถี่และเปอร์เซ็นต์ของความถี่ซึ่งพบว่า การขนส่งหลายทอดมีความถี่ที่เกิดขึ้นมากเป็นอันดับหนึ่งและมากที่สุด จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้การขนส่งเกิดความล่าช้ามากที่สุดนั่นเอง

แผนภูมิ Pareto แผนภูมิที่แสดงความถี่และความถี่สะสมของปัญหา โดยที่ปัญหาที่มีความถี่มากที่สุดคือปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไขเป็นอันดับแรก นั่นก็คือ การขนส่งหลายทอด หรือขั้นตอนการขนส่งที่ซับซ้อนจากจังหวัดกรุงเทพฯกลับมาเชียงใหม่และขนย้ายไปยังท่าเรือแหลมฉบัง

การกำหนดมาตรการแก้ไข การขนส่งหลายทอด 1.สินค้าที่ลูกค้าสั่งในกรุงเทพฯ จะบรรจุลงกล่องที่โกดังในกรุงเทพฯ การกำหนดมาตรการแก้ไขโดยใช้หลักการ ปรับเปลี่ยนขั้นตอน บางอย่างที่สามารถทำให้มันง่ายขึ้นได้ ( Rearrange ) ตามหลักการ ESCR การขนส่งหลายทอด 1.สินค้าที่ลูกค้าสั่งในกรุงเทพฯ จะบรรจุลงกล่องที่โกดังในกรุงเทพฯ 2.มีการตรวจนับและชั่งน้ำหนักสินค้าที่โกดังในกรุงเทพฯ 3.รถบรรทุกจะเดินทางจากเชียงใหม่ไปรับสินค้าในกรุงเทพฯแล้วเดินทางไปท่าเรือแหลมฉบัง 2.มีการตรวจนับและชั่งน้ำหนักสินค้าที่โกดังในกรุงเทพฯ 3.รถบรรทุกจะเดินทางจากเชียงใหม่ไปรับสินค้าในกรุงเทพฯแล้วเดินทางไป ท่าเรือแหลมฉบัง

5 การกำหนดมาตรการแก้ไขและปฏิบัติ ระบบการขนส่งของต่างจังหวัดแบบเก่า ก่อนปรับปรุง ลูกค้านำ order การสั่งซื้อสินค้ามาให้บริษัทโดยบริษัทใช้เวลา3วันในการตรวจสอบการสั่งซื้อและใช้เวลา1วันเพื่อไปรับสินค้าจากร้านค้าที่กรุงเทพฯแล้วนำมาเก็บไว้ที่โกดัง จ.เชียงใหม่ทางบริษัทใช้เวลาประมาณ7วันในการตรวจสอบ แพ็คของและโหลดขึ้นรถบรรทุกและใช้เวลา3วันในการเคลื่อนย้ายไปท่าเรือแล้วจากนั้นเรือก็นำสินค้าไปส่งลูกค้าโดยใช้เวลาที่28วัน รวมเวลาทั้งสิ้น44วัน

5 การกำหนดมาตรการแก้ไขและปฏิบัติ ระบบการขนส่งของต่างจังหวัดแบบใหม่ หลังปรับปรุง ลูกค้านำ order การสั่งซื้อสินค้ามาให้บริษัทโดยบริษัทใช้เวลา3วันในการตรวจสอบการสั่งซื้อและใช้เวลา1วันเพื่อไปรับสินค้าจากร้านค้าที่กรุงเทพฯและนำสินค้าไปแพ็คที่บริษัทในกรุงเทพฯโดยใช้เวลา3วันในการแพ็คสินค้า แล้วใช้เวลา2วันในการโหลดและเคลื่อนย้ายสินค้าไปยังท่าเรือจากนั้นเรือก็นำสินค้าไปส่งลูกค้าโดใช้เวลา28วัน รวมเวลาทั้งสิ้น37วัน จะเห็นได้ว่าเวลาลดลงไป 7 วัน เพราะว่าเราเปลี่ยนกระบวนการที่จะต้องนำสินค้ามาแพ็คที่เชียงใหม่เป็นการแพ็คที่กรุงเทพฯเพื่อประหยัดเวลาในการเคลื่อนย้ายสินค้า

นำเสนอวิธีแก้ไขและวิธีปฏิบัติให้กับบริษัท T.K. logistics จำกัด การนำเสนอปัญหาและวิธีการแก้ไขให้กับทางบริษัท T.K. Express logistics จำกัด ซึ่งทางบริษัทได้พิจารณาและได้นำไปทดลองปรับปรุงแก้ไข ในการขนส่งทางด้านจังหวัดกรุงเทพฯ

นำเสนอวิธีแก้ไขและวิธีปฏิบัติให้กับบริษัท T.K. logistics จำกัด การนำเสนอปัญหาและวิธีการแก้ไขให้กับทางบริษัท T.K. Express logistics จำกัด ซึ่งทางบริษัทได้พิจารณาและได้นำไปทดลองปรับปรุงแก้ไข ในการขนส่งทางด้านจังหวัดกรุงเทพฯ

ตรวจสอบผลการแก้ไข 6 Before After 9 days 16 days เป้าหมายที่ได้ Order Order 1 days T.K. กรุงเทพฯ 4 days T.K. กรุงเทพฯ transports 7 days ท่าเรือแหลมฉบัง ท่าเรือแหลมฉบัง จากการตรวจสอบผลการแก้ไขการขนส่งวันที่ 1 เมษายน 2559 ตามที่ได้เสนอวิธีการแก้ไขปัญหาและทางบริษัทได้ทดลองปฏิบัติตาม จึงเป็นไปตามเป้าหมายที่ต้องการแต่อาจจะคลาดเคลื่อนบ้างเล็กน้อยด้วยปัจจัยภายนอกอื่นๆ ที่ไม่สามารถควบคุมได้ และ การขนส่งครั้งนี้ของบริษัทได้ถึงยังท่าเรือแหลมฉบังในวันที่ 10 เมษายน 2559 2 days - ตรวจสอบ - รับสินค้า - ขนส่งสินค้าไปเชียงใหม่ - ตรวจสอบสินค้า - บรรจุของลงกล่อง - โหลดเข้าตู้คอนเทนเนอร์ transports 3 days 1 days T.K. เชียงใหม่ 7 days transports T.K. เชียงใหม่ - ตรวจสอบสินค้า - บรรจุของลงกล่อง - โหลดเข้าตู้คอนเทนเนอร์ เป้าหมายที่ได้ 16 days 9 days

ตรวจสอบผลการแก้ไข 6 ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนการดำเนินงาน ระยะเวลาแบบเก่า ( วัน ) ระยะเวลาแบบใหม่ รับคำสั่งซื้อและตรวจสอบสินค้า 3 รับสินค้าที่ลูกค้าสั่ง 1 เคลื่อนย้ายสินค้าไปยังเชียงใหม่ 2 - ตรวจสอบสินค้า บรรจุสินค้าลงกล่องกันกระแทก 4 โหลดสินค้าลงตู้คอนเทนเนอร์และเคลื่อนย้ายสินค้าไปยังท่าเรือแหลมฉบัง รวม 16 9 จากการที่ได้นำแนวทางการแก้ไขไปปฏิบัติทางบริษัทสามารถลดระยะเวลาในการเคลื่อนย้ายสินค้าไปยังท่าเรือได้ทั้งหมด 7 วัน หรือจำนวน 1 อาทิตย์ ** ลดระยะเวลาการขนส่งสินค้าได้ถึง 7 วัน

การกำหนดมาตรฐานปฏิบัติ 7 แนวทางการจัดส่งสินค้าแบบใหม่ที่ได้รับการแก้ไข ลูกค้าสั่ง Order บริษัทรับ ไปรับสินค้าจากร้านค้า เคลื่อนย้ายสินค้ามายังโกดังบริษัท แพ็คสินค้าที่บริษัท T.K. กทม. โหลดสินค้าขึ้นรถบรรทุก เคลื่อนย้ายไปท่าเรือ นำสินค้าขึ้นเรือ ลูกค้าได้รับสินค้า วิธีการนี้ใช้ได้กับกรณีที่ลูกค้าได้สั่งสินค้าที่ร้านค้าในกรุงเทพฯ เพื่อเป็นการลดระยะเวลาในการดำเนินงานไม่ให้เกิดการล้าช้าขึ้นอีกในอนาคต

ผลที่ได้รับจากการแก้ไข - สินค้าส่งถึงท่าเรือเร็วกว่าเดิม - ลดต้นทุนในด้านการขนส่งหลายทอด - ลดปัญหาสินค้าชำรุดจากการขนส่ง - ช่วยเพิ่มความพึงพอใจให้กับลูกค้าด้วยการขนส่งที่รวดเร็วขึ้น ผลที่ได้จากการแก้ไข 1. ช่วยเพิ่มความพึงพอใจให้กับลูกค้าด้วยการขนส่งที่รวดเร็วขึ้น 2. สินค้าส่งถึงท่าเรือเร็วกว่าเดิม 3. สามารถนำแผนการปฏิบัติไปใช้ได้ในอนาคต 4. ลดต้นทุนในด้านการขนส่งหลายทอด 5. ลดการทำงานที่ซับซ้อนของบริษัท 6. ลดปัญหาสินค้าชำรุดจากการขนส่ง - ลดการทำงานที่ซับซ้อนของบริษัท - สามารถนำแผนการปฏิบัติไปใช้ได้ในอนาคต