การประชุมเชิงปฏิบัติการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็น 1. ที่มาและความสำคัญของสมรรถนะ 2. ประโยชน์และการประยุกต์ใช้
Advertisements

เกณฑ์การประเมิน ผู้บริหารสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำนวยการชำนาญ การพิเศษ / เชี่ยวชาญ.
บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ขั้นที่ 1 ออกแบบ โครงสร้างการ ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ ขั้นที่ 2 ประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ รายบุคคล (Performance Management.
ระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
เครื่องมือชุดธารปัญญา: แนวคิดและการประยุกต์ใช้
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
การประเมินศักยภาพองค์กรลุ่มน้ำ ( Self-Assessment and Reporting : SAR)
สิริพินท์ ศิริโสภาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
แนวทางการพัฒนา EOC กรมควบคุมโรค
ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค กุมภาพันธ์ 2554
ณ ห้องประชุมสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
ระบบบัญชาการเหตุการณ์และ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
การสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะ ช่องทางเข้าออกประเทศ ให้ได้มาตรฐานนานาชาติ
การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระบบบัญชาการเหตุการณ์
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
หลักการและแนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพ
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
ข้อมูลประกอบการประชุมผู้บริหารระดับสูง
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
กรอบแนวคิดในการพัฒนา มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย
แนวทางการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559
แนวทางการจัดทำรายงาน
ITA Integrity and Transparency Assessment
แนวทางการบริหารงานเพื่อสอดรับ กับการปรับระบบบริหารงานบุคคล
การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน สคร.5 เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2558
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔
มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลด้านคุณธรรมและความโปร่งใส
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.
ถ่ายทอดเกณฑ์ และแนวทางการประเมิน การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
ซักซ้อมแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการจ่ายค่าตอบแทน แนบท้ายข้อบังคับกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้กับหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.
รายงานการประเมินตนเอง
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
3 ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมโรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพ
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
หมวด 6.2 กระบวนการสนับสนุน
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
นายแพทย์ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
ผลการประชุมกลุ่มสาธารณสุข ไทย-ลาว
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
แนวทางการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย และหน่วยงานในสังกัด
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
การนำเสนอแบบโปสเตอร์
โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
คปสจ.เดือนสิงหาคม สิงหาคม 59.
ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมเชิงปฏิบัติการ บูรณาการงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ปีงบประมาณ 2560 กลุ่ม 4 แผนงานพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ ระหว่างวันที่ 8 - 10 พฤศจิกายน 2559 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร

ผลการประชุมกลุ่ม 1) เป้าหมายการดำเนินงาน ตัวชี้วัด โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงานร่วมกัน ในปีงบประมาณ 2560 2) ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 3) ข้อเสนอการพัฒนาแผนงานปีงบประมาณ 2561

68 ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ พรมแดนแม่สาย ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ พรมแดนแม่สอด พรมแดนสังขละบุรี (เจดีย์สามองค์) พรมแดนบ้านพุน้ำร้อน ท่าเรือกรุงเทพ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานหัวหิน พรมแดนสิงขร ท่าเรือประจวบคีรีขันธ์ ท่าเรือระนอง ท่าเรือภูเก็ต ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานกระบี่ ท่าเรือกระบี่ พรมแดนปาดังเบซาร์ พรมแดนเบตง พรมแดนสุไหงโก-ลก พรมแดนบูเก๊ะตา ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าเรือสงขลา ท่าเรือนครศรีธรรมราช ท่าเรือเกาะสมุย ท่าอากาศยานเกาะสมุย ท่าเรือเกาะสีชัง ท่าเรือแหลมฉบัง และท่าเรือศรีราชา พรมแดนบ้านหาดเล็ก (คลองใหญ่) ท่าเรือมาบตาพุด ท่าอากาศยานอู่ตะเภา พรมแดนบ้านผักกาด พรมแดนบ้านแหลม พรมแดนคลองลึก พรมแดนช่องจอม (กาบเชิง) พรมแดนภูสิงห์ (ช่องสะงำ) พรมแดนช่องเม็ก พรมแดนเทศบาลท่าเรือมุกดาหาร พรมแดนสะพานมิตรภาพ ๒ พรมแดนเทศบาลท่าเรือนครพนม พรมแดนสะพานมิตรภาพ ๓ พรมแดนบึงกาฬ ท่าอากาศยานอุดรธานี พรมแดนท่าลี่ พรมแดนท่าเรือวัดหายโศก พรมแดนสะพานมิตรภาพ ๑ พรมแดนสถานีรถไฟหนองคาย พรมแดนห้วยโก๋น ท่าอากาศยานแม่สอด พรมแดนตากใบ พรมแดนสะพานมิตรภาพ 4 ท่าเรือเชียงแสน พรมแดนสะเดา พรมแดนบ้านประกอบ พรมแดนเชียงคาน ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง ด่านควบคุมโรคฯ ใน พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ จำนวน 26 แห่ง ท่าอากาศยาน 3 แห่ง / ท่าเรือ 2 แห่ง/ พรมแดน 21 แห่ง ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ 68 ท่าอากาศยาน 17 แห่ง พรมแดน 33 แห่ง ท่าเรือ 18 แห่ง ท่าอากาศยานนราธิวาส

แผนพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560 แผนพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560 เป้าหมาย ช่องทางเข้าออกประเทศ จำนวน 68 แห่ง ได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามแนวทางของกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 (IHR, 2005) ร้อยละ 90 ของช่องทางเข้าออกประเทศที่มีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ตัวชี้วัด ช่องทางเข้าออกประเทศ สรต สำนักงานป้องกันควบคุมโรค รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 จำนวนช่องทางฯ 4+2 - 9+5 68 (แห่ง) หมายเหตุ: ช่องทางหลังเครื่องหมาย +หมายถึง ช่องทางฯ ที่มีด่านควบคุมโรคฯ สังกัด สสจ.(เชียงราย ตรัง สตูล ปัตตานี นราธิวาส) มาตรการที่สำคัญ มาตรการที่ 1 พัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ เพื่อการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพระหว่างประเทศ มาตรการที่ 2 ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 และกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 (IHR,2005)

แผนการดำเนินงานพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560 แผนการดำเนินงานพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560 มาตรการที่ 1 พัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ เพื่อการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพระหว่างประเทศ เป้าหมาย สำนักโรคติดต่อทั่วไป พัฒนาศักยภาพบุคลากร พัฒนาระบบเฝ้าระวังของด่านควบคุมโรคที่ช่องทาง พัฒนาระบบบริหารจัดการที่ช่องทางอย่างมีประสิทธิภาพ(ผ่านคณะอนุกรรมการ/คกก.โรคติดต่อจังหวัด/คกก.พัฒนาฯช่องทาง) สนับสนุนการดำเนินงาน (ทั้งภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน) ภารกิจพื้นฐาน ช่องทางเข้าออกประเทศได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 (IHR 2005) สำนักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) ช่องทางเข้าออกประเทศ ร่วมพัฒนาสมรรถนะบุคลากรด่านฯ/เครือข่าย สนับสนุนการปรับปรุง พัฒนา คู่มือการปฏิบัติงานประจำด่านฯ สนับสนุนการพัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพของช่องทางเข้าออกประเทศ สนับสนุนการฝึกซ้อม/ถอดบทเรียนแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ ของช่องทางในพื้นที่รับผิดชอบ สนับสนุนการดำเนินงานภารกิจพื้นฐาน (เฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ/พาหะนำโรค/สุขาภิบาลยานพาหนะ/สวล. ) ประชุมคณะทำงานประจำช่องทาง/ คณะทำงานพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ (ด่านเป็นบทบาทเลขาฯ) ประเมินตนเอง โดยใช้ คู่มือ CCAT จัดทำแผนพัฒนาช่องทางฯ ตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 และสอดคล้องกับผลการประเมินตนเอง ดำเนินการพัฒนาช่องทางฯ ตามแผนฯ ทั้งภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน (ตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 มาตรา 37 และ ตามภาคผนวก 1ข ของ IHR 2005) จนท.ด่านควบคุมโรค ปรับปรุง พัฒนาคู่มือการปฏิบัติงานด่านควบคุมโรคฯ

แผนการดำเนินงานพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560 (ต่อ) แผนการดำเนินงานพัฒนาช่องทางฯ ปีงบประมาณ 2560 (ต่อ) มาตรการที่ 2 ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 และกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 (IHR,2005) สำนักโรคติดต่อทั่วไป ช่องทางเข้าออกประเทศ ชี้แจงเกณฑ์และแนวทางการประเมินฯ ติดตามและประเมินผลการพัฒนาฯ ช่องทางในความรับผิดชอบและสุ่มประเมินช่องทางฯ ในส่วนภูมิภาคโดยทีมประเมินจากส่วนกลาง วิเคราะห์จัดทำแผนพัฒนาในภาพรวม ช่องทางฯ เตรียมการรองรับและสนับสนุนการติดตามและประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางจากโดยทีมติดตามและประเมินจากส่วนกลาง และ สคร. ช่องทางฯ จัดเตรียมข้อมูลและเอกสารการปฏิบัติงานตามข้อกำหนดของCCAT เจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคฯ จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานประจำเดือนและลงข้อมูลในระบบฐานข้อมูลด่านควบคุมโรคฯ http://203.157.41.192/pagth/index.php) สำนักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) ชี้แจงแผนสนับสนุนการพัฒนาช่องทางฯ ในพื้นที่รับผิดชอบ ติดตามและประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางฯ 65แห่ง โดยทีมติดตามและประเมินจาก สคร. 1-2, 5-6,8-12 วิเคราะห์จัดทำแผนพัฒนาเพื่อปิด gap

แผนผังกิจกรรมการพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศ ปีงบประเทศ 2560 ที่ กิจกรรมหลัก ผู้ดำเนินการ แผนการดำเนินงาน เอกสารประกอบ ต.ค. 59 พ.ย. 59 ธ.ค. ม.ค. 60 ก.พ. มี.ค. เม.ย.60 พ.ค. มิ.ย.60 ก.ค.60 ส.ค. ก.ย.60 1 ประสานและชี้แจงเป้าหมาย/ตัวชี้วัด/มาตรการในการดำเนินงานและแนวทางการประเมินการพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ ตป. 9-10 รายงานการประชุมชี้แจง 2 ช่องทางเข้าออกประเทศประเมินตนเอง (Self assessment) โดยใช้คู่มือประเมินตนเอง CCAT ช่องทางฯ ด่านฯ 26 แห่ง ด่านฯ 42แห่ง สคร.รวบรวมผล self assessment มายังสำนัก ต. 3 -ประชุมคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก/คณะทำงานพัฒนาช่องทางฯ -จัดทำแผนพัฒนาช่องทางฯที่สอดคล้องกับผลประเมิน ช่องทางฯ (สคร. สนับสนุน) ด่านฯ 68 แห่ง สคร.รวบรวมแผนพัฒนาช่องทางฯ ปี 2560 มายังสำนัก ต. 4 สคร.สนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศ (ด้านวิชาการ วัสดุอุปกรณ์ การเตรียมความพร้อมตอบโต้ฯ) สคร. ผลการดำเนินงานพัฒนาช่องทางฯ (68 แห่ง) 5 สคร. รายงานผลการดำเนินงานฯ เช่น ผลการดำเนินโครงการพัฒนาช่องทางฯ รายงานผลการประชุมคณะทำงานประจำช่องทางฯ ผลการฝึกซ้อม/ปรับปรุงแผนตอบโต้ฯ ของช่องทางในสังกัด เป็นต้น รายงาน มายังสำนักต. เพื่อสรุปภาพรวม(กพร.ติดตาม) 6 ส่วนกลางจัดอบรมจนท.ด่าน 3 ครั้ง รายงานผลการจัดอบรม 7 ส่วนกลางแต่งตั้งทีมติดตามฯ และลงพื้นที่ติตดามและสนับสนุน ทีมติดตามและแผน/ผลการติดตามฯ 8 ติดตามและประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ ของช่องทางฯ ที่รับผิดชอบ (Internal audit) โดยใช้คู่มือ CCAT - ผล Internal audit (68 แห่ง) - แผนพัฒนาช่องทางปี 2561 9 วิเคราะห์และสรุปผลการประเมินช่องทางเข้าออกประเทศพร้อมข้อเสนอแนะให้แก่ผู้บริหาร สคร.รวบรวมส่งผลการประเมินมายังสำนักต. (68 แห่ง) 10 สัมมนาวิชาการด่านควบคุมโรค ผลการดำเนินงาน 11 สรุปผลการประเมินช่องทางฯ ในภาพรวม รายงานในระบบ estimates ผลการประเมินช่องทางฯ ในภาพรวมทั้งประเทศ สรุปส่วนกลาง ดำเนินการ 1. อบรมเจ้าหน้าที่ด่านฯ 3 ครั้ง (q1-q3) 2. ทีมติดตามฯ ส่วนกลางสุ่มติดตามช่องทาง และส่งผลประเมินให้สคร., ช่องทาง (q2-q4) 3. จัดสัมมนาวิชาการด่านควบคุมโรคฯ (3ส.ค.) 4. รวบรวม&สรุป รายงานผลการดำเนินงานพัฒนาช่องทางในภาพรวมทั่วประเทศ (q4) สรุปสคร. ส่งผลการดำเนินงานมายังสำนักต. ดังนี้ ผลself assessment ช่องทางฯ 68 แห่ง (q1) แผนพัฒนาช่องทางฯ 68 แห่ง (q1-q2) ผลการดำเนินงานพัฒนาช่องทางฯ (ผลการประชุมคกก.ช่องทาง, ผลการพัฒนาจนท.ด่าน ช่องทาง, ผลการฝึกซ้อมแผน, ฯลฯ รายไตรมาส 2,3,4 (q2-q4) ผล Internal audit 68 แห่ง & แผนพัฒนาปี 61 (ภายใน ส.ค. 60) ผ่านทางหนังสือราชการหรือ E-mail: icdc_gcd@yahoo.com

ตัวชี้วัดผลผลิตสำนักงบประมาณ ปีงบประมาณ 2560 ตัวชี้วัดผลผลิตสำนักงบประมาณ ปีงบประมาณ 2560 ช่องทางเข้าออกประเทศ 68 แห่ง SDA 0617 SDA0619_1 (เชิงคุณภาพ) นอกพื้นที่เขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ จำนวน 42 แห่ง PSA04_1** SDA1135_1 SDA 1133 ในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (SZE) (10 จังหวัด) จำนวน 26 แห่ง ร้อยละของช่องทางฯ ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด (ร้อยละ 90) (PSA04_1) จำนวนช่องทางฯ ได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศพ.ศ.2548 (SDA 0617 และ SDA 1133) เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการเสริมสร้างความสามารถในการดำเนินงานช่องทางฯ (SDA0619_1 และ SDA1135_1)

ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด : (3 - 5 ปี) ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ ร้อยละของช่องทางฯ ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษผ่านเกณฑ์ การประเมินที่กำหนด (ร้อยละ 90) (ตัวชี้วัด : PSA04_1)** ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด : (3 - 5 ปี) POE เป้าหมาย POE 26 แห่ง ในเขตSEZ ตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2556 2557 2558 2559 จำนวนด่านช่องทางฯ ที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด แห่ง (ร้อยละ) เป้าหมาย 17 (94.4) 18 46 (90.2) 51 52 (77.6) 67 54 (80.6) ผ่านเกณฑ์การประเมิน > 50 % ของ CCAT & กระบวนการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ เป้าหมาย ปี 2560 เกณฑ์ที่กำหนดในการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ 1.มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานประจำด่านควบคุมโรคฯ 2.จัดทำร่างคำสั่งหรือคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก ตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 หรือคณะทำงานพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ 3.ประชุมคณะทำงานฯ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 4.ช่องทางฯ ประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศด้วยตนเอง (Self assessment) โดยใช้ CCAT 5.ช่องทางฯ จัดทำแผนพัฒนาช่องทางเข้าออกของตนเอง 6.สคร. จัดทำแผนติดตามและประเมินการพัฒนาฯ ช่องทางฯ(Internal audit) โดยใช้ CCAT วิเคราะห์ สรุปผลการประเมิน และรายงานผลการดำเนินงาน ไปยัง สำนักโรคติดต่อทั่วไป ร้อยละ 90 (23 แห่ง จาก 26 แห่ง) ในเขต SEZ KPI : PSA04_1 แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล จัดทำแผนสนับสนุนการพัฒนาช่องทางฯ ประเมิน Internal audit (CCAT) วิเคราะห์ผล & เสนอปัญหาและข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร แจ้งผลการประเมินให้สำนักโรคติดต่อทั่วไป(รายงาน SAR ในระบบ Estimates รอบ 6, 9 และ 12 เดือน ) สคร. 1-2, 5-6, 8-12 สำนักโรคติดต่อทั่วไป รวบรวมข้อมูล จัดทำสรุปผลการดำเนินงานภาพรวม & รายงาน SAR ในระบบ Estimates

จำนวนช่องทางฯ ได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศพ. ศ จำนวนช่องทางฯ ได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศพ.ศ.2548 (68 แห่ง) (ตัวชี้วัด : SDA0617 และ SDA 1133) POE 68 แห่ง ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ลงราชกิจจานุเบกษา 133 ตอนพิเศษ 128 ง ลว 3 มิ.ย.59 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด POE เป้าหมาย ตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2556 2557 2558 2559 จำนวนด่านช่องทางเข้าออกประเทศ*ได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 จำนวน เป้าหมาย - 51*   51 51  54 67 POE ที่ได้รับการพัฒนาตาม IHR 2005 ช่องทางฯ มีการดำเนินงานในการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ ครบทั้ง 3 ประเด็น เป้าหมาย ปี 2560 (42 แห่ง) นอกเขต SEZ KPI : SDA0617 (26 แห่ง) ในเขต SEZ KPI : SDA1133 เป้าหมาย การดำเนินงานในการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ 1.คณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก จัดทำแผนปฏิบัติการในการพัฒนาช่องทางฯ ของตนเอง 2.เจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคฯ ได้รับการอบรมพัฒนาความรู้ ทักษะ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ การควบคุมพาหะนำโรค และการดำเนินงานด้านสุขาภิบาล (ยานพาหนะ/สิ่งแวดล้อม) 3. ช่องทางฯ จัดทำสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลของโปรแกรมอย่างน้อย 1 เรื่อง ได้แก่ 1) การตรวจตราควบคุมกำกับด้านสิ่งแวดล้อมภายในช่องทาง (น้ำ อาหาร ขยะ น้ำเสีย อากาศ ฯลฯ) 2) การควบคุมพาหะนำโรค 3) การเฝ้าระวังโรคหรือภัยสุขภาพภายในช่องทางฯ 4) การตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล - รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามโครงการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ ในระบบ Estimates SM - สรุปผลตามแบบรายงาน SAR ในระบบ Estimates SM ภายในวันที่ 25 ของเดือนสิ้นไตรมาส สคร. 1-2, 5-6, 8-12 - รวบรวมข้อมูลจากแบบรายงาน SAR ของหน่วยงาน - จัดทำสรุปผลการดำเนินงานภาพรวมโดยรายงาน SAR ในระบบ Estimates SM ในหน่วยงานชื่อ “ภาพรวมกรม” ภายในวันที่ 30 ของเดือนสิ้นไตรมาส สำนักโรคติดต่อทั่วไป

เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการเสริมสร้างความสามารถ ในการดำเนินงานช่องทางเข้าออกประเทศ (ร้อยละ 75) (ตัวชี้วัด : SDA0619_1และ SDA 1135_1) POE 68 แห่ง ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ลงราชกิจจานุเบกษา 133 ตอนพิเศษ 128 ง ลว 3 มิ.ย.59 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด POE เป้าหมาย ตัวชี้วัด หน่วยวัด   ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2557 2558 2559 เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการเสริมสร้างความสามารถในการดำเนินงานด่านช่องทางเข้าออกประเทศ ร้อยละ 95.0 86.7 80.89 เครือข่าย POE ที่มีความพึงพอใจ ผลการประเมินความพึงพอใจ ที่มีค่าคะแนนระดับมาก คือ มากกว่า หรือเท่ากับร้อยละ 80 ของคะแนนเต็มทั้งหมด เป้าหมาย ปี 2560 (ร้อยละ 75) สคร. เลือกประเมิน 1 แห่ง นอกเขต SEZ KPI : SDA0619_1 (ร้อยละ 75) สคร. เลือกประเมิน จังหวัดละ 1 แห่ง ซึ่งไม่ซ้ำกับนอกเขต ในเขต SEZ KPI : SDA1135_1 เป้าหมาย การวิเคราะห์/แปลผล ความพึงพอใจ วัดเป็น Rating scale 5 ของเครือข่ายที่มีความพึงพอใจต่อการการเสริมสร้างความสามารถในการดำเนินงานช่องทางเข้าออกประเทศ แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์/แปลผล ตามเกณฑ์ตัวชี้วัด สูตรการคำนวณ จำนวนเครือข่ายที่มีความพึงพอใจฯ x 100 จำนวนเครือข่ายที่ตอบแบบประเมินทั้งหมด สำรวจความพึงพอใจ โดยใช้แบบประเมินฯ ตามแบบประเมินกลาง โดยสุ่มเก็บข้อมูลจากเครือข่ายหรือผู้รับบริการของช่องทางฯ ปีละ 1 ครั้ง ในช่วงเวลาที่เหมาะสมกับการดำเนินงาน จัดทำรายงานและแจ้งผลการประเมินฯ ให้สำนักโรคติดต่อทั่วไป จัดทำแบบรายงาน SAR ในระบบ Estimates สคร. 1-2, 5-6, 8-12 สำนักโรคติดต่อทั่วไป - รวบรวมข้อมูล และจัดทำแบบรายงาน SAR ในระบบ Estimates SM ใน“ภาพรวมกรม”

ผลการประชุมกลุ่ม 1) เป้าหมายการดำเนินงาน ตัวชี้วัด โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงานร่วมกัน ในปีงบประมาณ 2560 2) ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 3) ข้อเสนอการพัฒนาแผนงานปีงบประมาณ 2561

แนวทางการแก้ไข/พัฒนา ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข/พัฒนา อัตรากำลัง ไม่เพียงพอต่อภาระงาน ( ไม่มีจนท.ประจำ /1 คนดูแลมากกว่า1แห่ง /บางแห่งเปิด24ชั่วโมงฯลฯ) อัตรากำลังไม่เหมาะสมตามที่จัดสรรจริง ด่านฯ สสจ. ไม่ใช่ภารกิจหลัก ไม่มีจนท.ประจำ บริหารจัดการแบบหมุนเวียนจนท.พื้นที่ (สสอ./ รพ.สต.) ขาดความต่อเนื่องของการดำเนินงาน และไม่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุม ขาดจนท.สายงานสนับสนุน เช่น นักจัดการงานทั่วไป เจ้าหน้าที่ธุรการ เป็นต้น ปฏิบัติงานประจำด่านฯ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านระบบสารบรรณ ผู้บริหาร/ผู้ที่รับผิดชอบจัดสรรให้มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ตามกรอบอัตรากำลัง/ความเหมาะสม จนท.ด่านสสจ./สคร. ประสานผู้บริหารของด่านสสจ.เพื่อทราบนโยบาย แนวทางและข้อมูลการพัฒนาช่องทางฯ สคร.เป็นพี่เลี้ยงในการพัฒนาช่องทางฯ ให้แก่ด่านสสจ. ผู้บริหารพิจารณาสนับสนุนจนท.ธุรการ นักจัดการงานทั่วไป ตามความเหมาะสม (อาจใช้การจ้างเหมา) บุคลากร

แนวทางการแก้ไข/พัฒนา ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข/พัฒนา ทักษะบุคลากร ขาดทักษะ และความชำนาญในการปฏิบัติงาน ( โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานใหม่) บุคลากรด่านฯ มีความหลากหลายในเรื่องวุฒิการศึกษา อาจไม่สามารถปฏิบัติงานด้านต่างๆได้ เช่น ให้การปฐมพยาบาลหรือฉีดยา การตรวจตราสิ่งแวดล้อมฯ เป็นต้น ความก้าวหน้าและความมั่นคงในอาชีพและสิทธิประโยชน์ ขาดขวัญกำลังใจและแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานมีความแตกต่างระหว่างหน่วยงาน 5. ส่วนกลางควรเสริมสร้างความรู้ทักษะให้แก่จนท.ใหม่ (มีหลักสูตรความรู้พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับจนท.ใหม่) 6. ส่วนกลางควรมีการพัฒนาทักษะ และศักยภาพในการปฏิบัติงานด่านควบคุมโรคฯ อย่างต่อเนื่อง (ทบทวนความรู้ พัฒนาทักษะ เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานเดิม) 7. สคร./สสจ.ควรพัฒนาจนท.เฉพาะด้านฯ ตามgapที่มีให้แก่จนท.ด่านฯ ที่รับผิดชอบ (จัดอบรม/ส่งเข้าอบรมฯลฯ) 8. ผู้บริหารผลักดันด่านฯ เป็นหน่วยบริการสุขภาพ บุคลากร(ต่อ)

แนวทางการแก้ไข/พัฒนา ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข/พัฒนา ไม่มีสถานที่ปฏิบัติงาน ไม่มีแบบแปลนมาตรฐานกลางของสถานที่ปฏิบัติงาน ขาดแคลนวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ เครื่องมือ อุปกรณ์ทางการแพทย์ หรือเครื่องมือที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานด่านควบคุมโรคฯ บางรายการไม่มีรายละเอียดของครุภัณฑ์ (สเป็คกลาง)เช่น เทอร์โมแสกน จนท.ด่านฯ ประสานผู้มีอำนาจในช่องทางเพื่อขอพื้นที่ในการสร้างสถานที่ปฏิบัติงาน คกก.ช่องทางฯ จัดทำแผนพัฒนาโครงสร้างภายในช่องทางฯ ส่วนกลางควรมีการเสนอกองแบบแผน ในการออกแบบแปลนกลางมาตรฐาน เพื่อใช้เป็นแบบแปลนมาตรฐานเดียวกัน อาจกำหนดลักษณะตามขนาดพื้นที่ จนท.ด่านฯ/สคร. ควรเตรียมแผนของบลงทุนในการจัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์ โดยสำรวจวัสดุครุภัณฑ์ที่ขาดแคลน และเตรียมข้อมูล รายละเอียด ให้พร้อมเพื่อให้สามารถของบประมาณได้ทันในแต่ละช่วงเวลา ส่วนกลางกำหนดเกณฑ์มาตรฐาน สเป็คกลาง เพื่อให้สอดคล้องกันทุกด่าน โครงสร้างพื้นฐาน

แนวทางการแก้ไข/พัฒนา ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข/พัฒนา งบประมาณไม่เพียงพอ งบประมาณไม่ได้ถูกนำมาใช้ตรงตามวัตถุประสงค์ ส่วนกลางของบประมาณในภาพรวม ด่านฯ สังกัดสสจ.จัดทำแผนงบประมาณในการพัฒนาช่องทาง เสนอหน่วยงานต้นสังกัด ด่านฯ /สคร.บริหารจัดการงบประมาณที่ได้รับจัดสรรอย่างมีประสิทธิภาพ งบประมาณ

แนวทางการแก้ไข/พัฒนา ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข/พัฒนา ทีมประเมินส่วนกลาง/ สคร. มีแนวทางการประเมินไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทีมประเมินจากสคร. มีการหมุนเวียนของเจ้าหน้าที่ทำให้ขาดความต่อเนื่องและความเข้าใจในเรื่องเกณฑ์การประเมินที่ไม่ตรงกัน เครื่องมือที่ใช้ประเมินมีเนื้อหาค่อนข้างมาก ไม่กระชับ สสจ.ไม่รู้จักเครื่องมือประเมิน ผู้รับการประเมินขาดความพร้อมในการรับประเมิน เช่น เอกสารไม่ครบถ้วน หน่วยงานเครือข่ายบางแห่งยังไม่เข้าใจบทบาทของตนเองที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาช่องทางฯ ตามIHR2005 ส่วนกลาง/สคร. จัดอบรมร่วมกับสสจ.เกี่ยวกับแนวทางการติดตามและประเมินผลที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพื่อสร้างความเข้าใจของผู้ประเมินและสามารถประเมินผลไปในมาตรฐานเดียวกัน ทีมประเมินควรมีการประสาน และชี้แจงแนวทางการประเมินให้กับหน่วยงานที่รับการประเมินให้มีความชัดเจน ประชุมช่องทางฯ เพื่อชี้แจงข้อกำหนดและความสำคัญของIHR2005 และร่วมกันจัดทำแผนพัฒนาช่องทาง พร้อมทั้งการเตรียมความพร้อมรับการประเมิน ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างด่านฯ การประเมินผล

ผลการประชุมกลุ่ม 1) เป้าหมายการดำเนินงาน ตัวชี้วัด โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงานร่วมกัน ในปีงบประมาณ 2560 2) ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 3) ข้อเสนอการพัฒนาแผนงานปีงบประมาณ 2561

แผนการพัฒนาช่องทางฯ ตาม IHR2005 ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2560-2564) เป้าหมาย หน่วย งาน กิจกรรม ค่าเป้าหมาย 2560 2561 2562 2563 2564 -ร้อยละของช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศที่มีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด   คู่มือประเมิน: CCAT เป้าหมาย: ช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศทั่วประเทศ 68 แห่ง แบ่งเป็น - นอกเขตเศรษฐกิจพิเศษ 42 แห่ง - ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ 26 แห่ง *ค่าเป้าหมายอาจมีการปรับเปลี่ยนขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาล สรต. -พัฒนา/เพิ่มขีดความสามารถจนท. /เครือข่าย (อบรม/ประชุม/สัมมนา) - สนับสนุนการดำเนินงาน - ภารกิจพื้นฐาน(เฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ/พาหะนำโรค/สุขาภิบาลยานพาหนะ/สวล. ) -ติดตามและประเมินผล ร้อยละ 90 ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ (61 แห่ง) 68แห่ง ร้อยละ100 (68แห่ง) เป้าหมาย68แห่ง 30 เกณฑ์ระดับปานกลาง (20แห่ง) ร้อยละ50เกณฑ์ระดับปาน กลาง (34แห่ง) ร้อยละ70เกณฑ์ระดับปานกลาง เป้าหมาย (48แห่ง) สคร. 1-2, 5-6, 8-12 สสจ.เชียงราย, ตรัง, สตูล, ปัตตานี, นราธิวาส

เป้าหมายปีงบประมาณ 2561 ตัวชี้วัด: ร้อยละ100 ของช่องทางเข้าออกประเทศที่มีการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (เกณฑ์ขั้นต่ำ) > 50 % ของ CCAT & กระบวนการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ ระดับพื้นฐาน ระดับพื้นฐาน - มีเจ้าหน้าที่ประจำด่านควบคุมโรคฯ - จัดทำร่างคำสั่งหรือคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก ตามพ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 - ประชุมคณะทำงานฯ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง - ช่องทางฯ Self assessment โดยใช้ Core Capacities Assessment Tool: CCAT - ช่องทางฯ จัดทำแผนพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ - สคร. จัดทำแผนติดตามและประเมินการพัฒนาฯ (Internal audit) เสนอผู้บริหาร

ข้อเสนอการพัฒนาแผนงานปีงบประมาณ 2561 พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรค /เจ้าหน้าที่ช่องทางฯ ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 (ส่วนกลาง/สคร.จัดอบรม, ส่งจนท.เข้าอบรม, การศึกษาดูงานด่านต่างประเทศ/ด่านฯต้นแบบ) พัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพของช่องทางเข้าออกประเทศ (ประชุมคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก/คณะทำงานพัฒนาช่องทางฯ) พัฒนา คู่มือ แนวทางการปฏิบัติงาน ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อระหว่างประเทศ (การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานประจำด่าน, SOP, พัฒนางานวิชาการ R2R ฯลฯ) สนับสนุนการดำเนินงาน เพื่อการพัฒนามาตรฐานการป้องกันควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ - ค่าอุปกรณ์ วัสดุวิทยาศาสตร์ หรืออื่นๆที่จำเป็นในการเฝ้าระวังโรค สิ่งแวดล้อม ยานพาหนะ ฯลฯ ภายในช่องทาง - ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ (อาหาร น้ำ อากาศ ฯลฯ) - การเฝ้าระวังพาหะนำโรคในช่องทางฯ - การฝึกซ้อม/ ถอดบทเรียน/ทบทวน เพื่อปรับปรุงแผนตอบโต้ฯ ให้เป็นปัจจุบัน - ค่า OT (เฉพาะด่านฯ คร) ติดตาม และประเมินการดำเนินงานพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศพ.ศ.2548

กิจกรรมภายใต้ความร่วมมือระหว่างประเทศ การฝึกซ้อมแผนระหว่างไทย-มาเลเซีย (สคร.12) สคร.2 Twin cities (ไทย-ลาว) : อุตรดิต-ไชยบุรี สสจ.เชียงราย Twin cities (ไทย-ลาว) : เชียงราย-บ่อแก้ว สคร.6 Twin cities : บ้านแหลม-พระตะบอง, ผักกาด-ไพลิน, คลองใหญ่-เกาะกง, อรัญประเทศ-บันเตียเมียนเจย สคร.8 Twin cities : หนองคาย-เวียงจันทร์, นครพนม-คำม่วน สคร. 10 ที่มี CCA มุกดาหาร

กิจกรรมภายใต้ความร่วมมือระหว่างประเทศ การฝึกซ้อมแผนระหว่างไทย-มาเลเซีย (สคร.12) สคร.2 Twin cities (ไทย-ลาว) : อุตรดิต-ไชยบุรี สสจ.เชียงราย Twin cities (ไทย-ลาว) : เชียงราย-บ่อแก้ว สคร.6 Twin cities : บ้านแหลม-พระตะบอง, ผักกาด-ไพลิน, คลองใหญ่-เกาะกง, อรัญประเทศ-บันเตียเมียนเจย สคร.8 Twin cities : หนองคาย-เวียงจันทร์, นครพนม-คำม่วน

รายละเอียดระดับการพัฒนาฯ ระดับพื้นฐาน - มีเจ้าหน้าที่ประจำด่านควบคุมโรคฯ - จัดทำร่างคำสั่งหรือคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก ตามพ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 - ประชุมคณะทำงานฯ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง - ช่องทางฯ Self assessment โดยใช้ Core Capacities Assessment Tool: CCAT - ช่องทางฯ จัดทำแผนพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ - สคร. จัดทำแผนติดตามและประเมินการพัฒนาฯ (Internal audit) เสนอผู้บริหาร

ระดับปานกลาง สำนักงานป้องกันควบคุมโรค มีแผนสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศในความรับผิดชอบ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคสนับสนุนด้านวิชาการ เช่น จัดอบรม/สัมมนา/ประชุมวิชาการ หรือส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมอบรมที่ส่วนกลาง สำนักงานป้องกันควบคุมโรค สนับสนุนการจัดทำ/ฝึกซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ ของช่องทางเข้าออกประเทศ สนับสนุนด้านวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นในการปฏิบัติงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ สำนักงานป้องกันควบคุมโรค มีผลการประเมินช่องทางเข้าออกประเทศ โดยใช้เครื่องมือขององค์การอนามัยโลก Joint external evaluation tool: International Health Regulations (2005) (JEE: IHR) - ตัวชี้วัด(JEE)ภาวะปกติ ระดับที่ 1,4,5 ดำเนินการทุกช่องทาง และระดับ 2,3 ช่องทางที่กำหนดต้องดำเนินการ - ตัวชี้วัด(JEE)ฉุกเฉิน ประเมินเฉพาะระดับที่ 1 ตามเครื่องมือโครงสร้างของแผนฉุกเฉินที่กำหนด (International Health regulations(2005) A guide for public health emergency contingency planning at designated points of entry)

มีผลงานวิชาการเผยแพร่ในระดับประเทศหรือต่างประเทศ ระดับดี มีการบูรณาการซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง สำรวจความพึงพอใจของเครือข่ายฯ ที่มีต่อการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ระดับอ้างอิง มีผลงานวิชาการเผยแพร่ในระดับประเทศหรือต่างประเทศ มีการประเมินประสิทธิภาพของการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ณ ช่องทางเข้าออกประเทศ ตลอดจนพิมพ์เผยแพร่ หรือมีการฝึกซ้อมแผนตอบโต้ฯ ร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน

แผนงานโครงการเสนอของบประมาณประจำปี 2561 ในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ปี 2561 ในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ปี 2561 กิจกรรมสำคัญ ผลผลิตโครงการ งบประมาณ (บาท) หมายเหตุ กิจกรรมที่ 1. ประชุมคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก ประชุมคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก 26 แห่ง ในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 1,040,000 งบสำหรับสคร. กิจกรรมที่ 2 อบรมบุคลากรที่ปฏิบัติงานช่องทางฯ บุคลากรปฏิบัติงานช่องทางเข้าออกประเทศได้รับการอบรมจำนวน 26 แห่ง 3,900,000 กิจกรรมที่ 3 อบรมเจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคฯ 3 หลักสูตร อบรมเจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ จำนวน 150 ราย 2,800,000 งบดำเนินการของส่วนกลาง กิจกรรมที่ 4 สนับสนุนการดำเนินงานด่านควบคุมโรคฯ (เช่นเฝ้าระวังผู้เดินทางระหว่างประเทศ สุขาภิบาลยานพาหนะ และสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เฝ้าระวังพาหะนำโรคที่ช่องทางฯ เป็นต้น) ด่านควบคุมโรคฯในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษได้รับการสนับสนุนการปฏิบัติงาน 26 แห่ง 5,240,000 ส่วนกลาง 800,000.-บาท สคร. 4,440,000.-บาท กิจกรรมที่ 5 ปรับปรุงคู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานด่านควบคุมโรคฯ ที่สอดคล้องกับ พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 และพัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพของแผนการดำเนินงานควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ ได้คู่มือปฏิบัติงานประจำด่านควบคุมโรคฯ 26 แห่ง 2,940,000 ส่วนกลาง 500,000.-บาท สคร. 2,440,000.-บาท กิจกรรมที่ 6 ติดตาม และประเมินการดำเนินงานพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ ตาม IHR 2005 ผลการประเมินการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ และแผนพัฒนาฯในปีถัดไปจำนวน 26 แห่ง 3,160,000 ส่วนกลาง 2,250,000.-บาท สคร. 910,000.-บาท รวม 19,080,000 งบส่วนกลาง 6,350,000.- บาท งบสำหรับ สคร.12,730,000.- บาท

แนวทางการดำเนินงานติดตามและประเมินการพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ กลุ่มที่ 2

การติดตามและประเมินการพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข/พัฒนา 1. การติดต่อสื่อสารระหว่างช่องทางฯ เช่น การอัพเดทบัญชีรายชื่อ - อัพเดทบัญชีรายชื่อให้เป็นปัจจุบัน โดยการทำหนังสือประสานการขอรายชื่อ หรือการจัดประชุม 2. ทีมประเมินจากสคร. มีการหมุนเวียนของเจ้าหน้าที่ทำให้ขาดความต่อเนื่องและความเข้าใจในเรื่องเกณฑ์การประเมินที่ไม่ตรงกัน - จัดให้มีการฝึกอบรมทีมประเมิน ให้มีความเข้าใจใน CCAT ที่ตรงกัน 3. ด้านสิ่งแวดล้อม ขาดการระบุเกณฑ์หรือคู่มือแนวทางที่ใช้ในการตรวจวัดคุณภาพด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งท่าอากาศยาน ท่าเรือและพรมแดน - ศึกษาและหาคู่มือแนวทางมาตรฐานที่ใช้ในการตรวจวัด 4. ด้านบุคลากรด่านฯ บุคลากรด่านฯมีความหลากหลายในเรื่องวุฒิการศึกษา อาจไม่สามารถให้การปฐมพยาบาลหรือฉีดยาได้ ขาดบุคลากร สถานที่และอุปกรณ์ในการดำเนินงาน (บางแห่งเจ้าหน้าที่คนเดียวรับผิดชอบงาน 3 ด่าน) ควรจัดฝึกอบรมหลักสูตรการปฐมพยาบาลหรือมีเจ้าหน้าที่ที่มีวุฒิการศึกษาที่สามารถให้การปฐมพยาบาลหรือฉีดยาได้ ด่านฯ ควรยกระดับเป็นหน่วยบริการสุขภาพ ให้การรักษาพยาบาล สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน และป้องกันควบคุมโรค การออกกฎหมายคุ้มครองผู้ปฏิบัติงานรักษาพยาบาล สคร.ให้การสนับสนุน

การติดตามและประเมินการพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข/พัฒนา 5. ขาดแนวทางการจัดการศพมนุษย์ที่ชัดเจน - ให้ส่วนกลางสนับสนุน SOP การจัดการศพมนุษย์ เพื่อนำไปปรับใช้ 6. ไม่มีการดูแลรักษาและส่งต่อสัตว์ป่วย รวมทั้งไม่มีพื้นที่ในการกักสัตว์ป่วย ทำได้เพียงแค่ทำลายเชื้อ ส่วนกลาง(ตป.)ประสานกรมปศุสัตว์ 7. การฝึกอบรม เนื่องจากมีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนเจ้าหน้าที่และบุคลากรที่ทำงานนานกว่า 3 ปี ทำให้เกิดปัญหาเรื่องการขาดใบรับรองการฝึกอบรม - สคร. หรือส่วนกลาง จัดฝึกอบรม

ข้อเสนอแนะ - การจัดตั้งด่านฯต้นแบบ/ด่านฯอ้างอิง อบรมให้เจ้าหน้าที่ด่านฯมีความรู้เรื่องเวชศาสตร์การเดินทางและการท่องเที่ยว การสุขาภิบาลเรือ และการจัดทำเว็บไซต์ ให้มีการนิเทศไขว้ ระหว่างสคร. เช่น สคร. 1 ไปประเมิน สคร. 2

แผนโครงการเสนอของบประมาณ ปี 2561 กิจกรรมที่ 7 วัสดุอุปกรณ์ (การปฐมพยาบาล, อุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ, ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ) กิจกรรมที่ 8 การฝึกซ้อมแผนตอบโต้ของช่องทางฯ กิจกรรมที่ 9 การศึกษาดูงานต่างประเทศ กิจกรรมที่ 10 การศึกษาดูงานด่านฯต้นแบบ

กิจกรรมภายใต้ความร่วมมือระหว่างประเทศ การฝึกซ้อมแผนระหว่างไทย-มาเลเซีย (สคร.12) สคร.2 Twin cities (ไทย-ลาว) : อุตรดิต-ไชยบุรี สสจ.เชียงราย Twin cities (ไทย-ลาว) : เชียงราย-บ่อแก้ว สคร.6 Twin cities : บ้านแหลม-พระตะบอง, ผักกาด-ไพลิน, คลองใหญ่-เกาะกง, อรัญประเทศ-บันเตียเมียนเจย สคร.8 Twin cities : หนองคาย-เวียงจันทร์, นครพนม-คำม่วน