การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Moderate Class More Knowledge ดร.วรศักดิ์ วัชรกำธร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การดำเนินการ ระยะที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2558 (2 พ.ย. 58) โรงเรียนสมัครใจเข้าร่วมโครงการ รวม 4,100 โรงเรียน ดังนี้ สพฐ. 3,831 โรงเรียน - ประถมศึกษา 3,437 โรงเรียน - มัธยมศึกษา 384 โรงเรียน - ขยายโอกาส 10 โรงเรียน ท้องถิ่น 108 โรงเรียน - ประถมศึกษา 54 โรงเรียน - มัธยมศึกษา 54 โรงเรียน เอกชน 161 โรงเรียน - ประถมศึกษา 101 โรงเรียน - มัธยมศึกษา 12 โรงเรียน - ขยายโอกาส 48 โรงเรียน
การดำเนินการ ระยะที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2558 (2 พ.ย. 58) จำนวนกิจกรรม รวม 390 กิจกรรม หน่วยงานภายนอก 155 กิจกรรม (40%) สพฐ. 235 กิจกรรม (60%)
การดำเนินการ ระยะที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2558 (2 พ.ย. 58) ประเภทกิจกรรมนอกเวลาเรียน
กรอบแนวคิดการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ปฏิญญาสากลว่าด้วยการจัดการศึกษาของ UNESCO learning to know Learning to do Learning to be Learning to live with the others มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทย ที่พึงประสงค์ เป็นคนดี มีปัญญา(คนเก่ง) และมีความสุข มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 3 แนวการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 67 มาตรฐานการเรียนรู้ เบนจามิน บลูมและคณะ (Bloom et al, 1956) 1.พุทธิพิสัย (6 ระดับ) (Cognitive Domain) 2.จิตพิสัย (5 ระดับ) (Affective Domain) 3.ทักษะพิสัย (5 ระดับ) (Psychomotor Domain) คน มีปัญญา(เก่ง) คนดี มีความสุข สมรรถนะ 5 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ หมายถึง การปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนของครู โดยลดเวลาสอนด้วยการบรรยายที่เน้นความจำให้น้อยลง แต่เพิ่มเวลาและโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง มีประสบการณ์ตรง เรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้นตามความถนัด ความสนใจ และเต็มตามศักยภาพของนักเรียน หลักองค์ 4 การจัดการศึกษา 1. ด้านพุทธิศึกษา 2. ด้านจริยศึกษา 3. ด้านหัตถศึกษา 4. ด้านพลศึกษา กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ HEAD HEART HAND HEALTH
- คุณภาพการศึกษาไทยต่ำ - นักเรียนไทยเรียนภาคความรู้ความจำมากกว่าภาคปฏิบัติและมากเกินกว่า ที่หลักสูตรกำหนด - คุณภาพการศึกษาไทยต่ำ - คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษาศักยภาพ ไม่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ O-NET PISA
กระแสพระราชดำรัสเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา 1 กระแสพระราชดำรัสเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา แนวทางตามกระแสพระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้ครูรักเด็กและเด็กรักครู ให้ครูสอนเด็กให้มีน้ำใจต่อเพื่อนไม่ให้แข่งขันกัน แต่ให้แข่งกับตัวเอง ให้เด็กที่เรียนเก่งกว่าช่วยสอนเพื่อนที่เรียนช้ากว่า ให้ครูจัดกิจกรรมให้เด็กทำงานร่วมกันเพื่อให้เห็นคุณค่า ของความสามัคคี
2 ตามนโยบายของรัฐบาล - ปรับหลักสูตรและตำราเรียนให้เหมาะสม - ปรับหลักสูตรและตำราเรียนให้เหมาะสม ปรับหลักสูตรทำให้เด็ก ครู ผู้ปกครองมีความสุข ใช้สื่อการสอน เพื่อสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา มีคุณภาพเท่าเทียม เรียนไม่ใช่เพื่อสอบแต่เรียนให้ได้ทักษะ ชีวิตอยู่ ในโลกไร้พรมแดน
ทฤษฎีการเรียนรู้ 3 ทฤษฎีการเรียนรู้ เบนจามิน บลูมและคณะ (Bloom et al, 1956) ได้จำแนกจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ออกเป็น 3 ด้าน คือ 1. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) 2. ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) 3. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
4 หลักองค์ 4 การจัดการศึกษา 1. ด้านพุทธิศึกษา 2. ด้านจริยศึกษา 3. ด้านหัตถศึกษา 4. ด้านพลศึกษา 4
ปฏิญญาสากลการจัดการศึกษา หลักสูตรและการสอน การประเมินผลการจัดกิจกรรม ประเด็นการนำเสนอ Dr.Passakorn ปฏิญญาสากลการจัดการศึกษา หลักสูตรและการสอน การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ การประเมินผลการจัดกิจกรรม
UNESCO องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมฯ ปฏิญญาสากลการจัดการศึกษา เป้าหมายการจัดการจัดการศึกษา UNESCO องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมฯ 9/16/2018 12
เป้าหมายการจัดการเรียนรู้
Learn to know : หมายถึงเพื่อรู้ทุกสิ่งทุกอย่าง อันจะเป็น ประโยชน์ต่อไปได้แก่การแสวงหาให้ได้มา ซึ่งความรู้ที่ต้องการ ต่อยอดความรู้ที่มีอยู่ และรวมทั้งการสร้างความรู้ขึ้นใหม่
Learn to do หมายถึงการลงมือทำ หรือ การประกอบอาชีพจากความรู้ที่ได้ได้รับจากการศึกษามา รวมทั้งเพื่อประกอบอาชีพ ในการสร้างประโยชน์ให้สังคม
Learn to live together หมายถึงการดำเนินชีวิตร่วมกับคนอื่น ได้อย่างมีความสุข ทั้งในการดำเนินชีวิตในชีวิตครอบครัว และชีวิตการทำงาน
Learn to be หมายถึง การรู้จักตัวเองอย่างถ่องแท้ เป็นตัวของตัวเองและ พัฒนาศักยภาพให้เต็มศักยภาพหรือพัฒนาตนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เพราะทุกคนยังสามารถที่จะดึงความรู้ ความสามารถออกมาใช้ประโยชน์ได้อีก ถ้าได้รับการส่งเสริมกระตุ้นเพียงพอ
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคน ไทย ที่พึงประสงค์ มาตรฐานการศึกษา ชาติ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคน ไทย ที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการ เรียนรู้ ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็น สำคัญ มาตรฐานที่ 3 แนวการสร้างสังคม แห่ง การเรียนรู้หรือสังคม แห่งความรู้ เป้าหมายการจัดการเรียนรู้ Learn to know Learn to do Learn to be Learn to live together (Unessco,1998)
หลักสูตรแกนกลาง การศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนา ผู้เรียน คนดี มีปัญญา (คน เก่ง) มีความสุข มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่ 3
ลักษณะความเก่ง รู้สังคมไทย สากล ความสามารถเฉพาะทาง คิดสร้างสรรค์ รู้สังคมไทย สากล ความสามารถเฉพาะทาง คิดสร้างสรรค์ ทันสมัย ทันเหตุการณ์ทันโลก ทันเทคโนโลยี เรียนรู้ด้วยตนเอง
ลักษณะคนดี ดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดีทั้งจิตใจ และพฤติกรรม ดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดีทั้งจิตใจ และพฤติกรรม มีวินัยต่อตนเองและสังคม ควบคุมตนเองได้ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ พัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ
ครู เป้าหมาย/หลักสูตร วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล กิจกรรมการเรียนหลากหลาย วัด/ประเมินผลอิงมาตรฐาน เทคโนฯในการเรียนการสอน ผลการประเมินพัฒนาผู้เรียน วิจัยนวัตกรรมพัฒนาผู้เรียน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ
สังเคราะห์ Synthesize รู้-คิด P e r f o m ประเมินค่า Evaluate Thinking Skills สังเคราะห์ Synthesize วิเคราะห์ Analyze K n o w l e d g นำไปใช้ Apply เข้าใจ Understand รู้จำ Remember/Recall
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับนักเรียนในปัจจุบัน เป้าหมายการเรียนรู้ ระดับการเรียนรู้ ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) (HAED) ความรู้ ความจำ 2. ความเข้าใจ 3. การนำไปใช้ 4. การวิเคราะห์ 5. การสังเคราะห์ 6. การประเมินค่า
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับนักเรียนในปัจจุบัน เป้าหมายการเรียนรู้ ระดับการเรียนรู้ ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) (HEART) การรับรู้ 2. การตอบสนอง 3. การเกิดค่านิยม 4. การจัดระบบ 5. บุคลิกภาพ
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับนักเรียนในปัจจุบัน เป้าหมายการเรียนรู้ ระดับการเรียนรู้ ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) (HAND/HEALTH) 1. การเลียนแบบ/ทำตาม 2. การลงมือปฏิบัติทำเอง 3. การหาความถูกต้อง 4. การทำอย่างต่อเนื่อง 5. การทำอย่างเป็น ธรรมชาติ
ความหมาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ความหมาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ลดเวลาเรียน การลดเวลาเรียนภาควิชาการและลดเวลาของการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้รับความรู้ เช่น การบรรยาย การสาธิต การศึกษาใบความรู้ให้น้อยลง เพิ่มเวลารู้ การเพิ่มเวลาและโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง มีประสบการณ์ตรง คิดวิเคราะห์ ทำงานเป็นทีม เรียนรู้ด้วยตนเอง อย่างมีความสุข จากกิจกรรมที่หลากหลาย
แนวทางการบริหารจัดการ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” แนวทางการบริหารจัดการ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สถานศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาบุคลากร จัดสรรงบประมาณ การมีส่วนร่วม สนับสนุนทางวิขาการ การดำเนินการ จัดกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ควบคุมคุณภาพ - นิเทศติดตาม การจัดกิจกรรม - วิจัย ประเมินผลและพัฒนา กิจกรรม
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน หลักสูตร 1 กระบวน การจัดการเรียนรู้ 2 การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ การประเมินผล 3 การทบทวน หลังการปฏิบัติ (AAR) 4
การดำเนินการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” การดำเนินการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” จัดทำโครงสร้างเวลาเรียน โครงสร้างหลักสูตร ตารางเรียน จัดทำ/คัดเลือกกิจกรรม เสนอคณะกรรมการสถานศึกษาชั้นพื้นฐานเพื่อเห็นชอบ จัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ตรวจสอบ/ติดตามประเมินผล
2. จัดทำ / คัดเลือกกิจกรรม 1. การเตรียมความพร้อมของครูในการจัดกิจกรรม 2. ลักษณะของกิจกรรมที่สนับสนุนแนวคิด ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
สนองตอบความสนใจและความถนัด ของผู้เรียนอย่างหลากหลาย สร้างความรู้ผ่านกระบวนการและกิจกรรม ลงมือปฏิบัติและสร้างความรู้ ในบรรยากาศที่ อบอุ่น อิสระ ปลอดภัย เปลี่ยนครูผู้สอนเป็นผู้ให้คำปรึกษาแนะนำ ประเมินผลอย่างหลากหลาย ตามสภาพจริง
แนวทางการกำหนดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” แนวทางการกำหนดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” แนวทางที่ 1 โรงเรียนจัดกิจกรรมหลากหลายให้นักเรียนเลือก ตามความถนัด ความสนใจ รายบุคคล/รายกลุ่ม แนวทางที่ 2 โรงเรียนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนรายบุคคล/รายกลุ่มเสนอกิจกรรมให้ครูที่ปรึกษาดูแลช่วยเหลือ แนวทางที่ 3 ใช้แนวทางที่ 1+ แนวทางที่ 2 ที่สอดคล้องกับสภาพและบริบทของโรงเรียน ชุมชน
กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” 4 หมวด (HEAD HEART HAND HEALTH ) 1) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (กิจกรรมบังคับตาม หลักสูตร) 2) สร้างเสริมสมรรถนะและการเรียนรู้ HEAD 3) สร้างเสริมคุณลักษณะและค่านิยม HEART 4) สร้างเสริมทักษะการทำงาน การดำรงชีพ และทักษะชีวิต HAND HEALTH
1. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (กิจกรรมบังคับตามหลักสูตร)ประกอบด้วย 3 กลุ่มกิจกรรม 1) กิจกรรมแนะแนว 2) กิจกรรมนักเรียน 3) กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์
2. สร้างเสริมสมรรถนะและการเรียนรู้ HEAD สร้างเสริมสมรรถนะและการเรียนรู้ประกอบด้วย 5 กลุ่มกิจกรรม 1) พัฒนาความสามารถด้านการสื่อสาร 2) พัฒนาความสามารถด้านการคิดและการพัฒนา กรอบความคิดแบบเปิดกว้าง (Growth Mindset) 3) พัฒนาความสามารถด้านการแก้ปัญหา 4) พัฒนาความสามารถด้านการใช้เทคโนโลยี 5) พัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ
H E A D d
3. สร้างเสริมคุณลักษณะและค่านิยม HEART สร้างเสริมคุณลักษณะและค่านิยม ประกอบด้วย 4 กลุ่มกิจกรรม 1. ปลูกฝังค่านิยมและจิตสำนึกการทำประโยชน์ต่อสังคม มีจิต สาธารณะและการให้บริการด้านต่างๆ ทั้งที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเองและต่อส่วนรวม 2. ปลูกฝังความรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ 3. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม (มีวินัย ซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ อดทน มุ่งมั่นในการทำงาน กตัญญู) 4. ปลูกฝังความรักความภาคภูมิใจในความเป็นไทย และหวงแหน สมบัติของชาติ
H E R A T
4. สร้างเสริมทักษะการทำงาน การดำรงชีพ และทักษะชีวิต (HAND HEALTH) ประกอบด้วย 4 กลุ่มกิจกรรม 1. กิจกรรมที่ตอบสนองความสนใจ/ความถนัด/ ความต้องการของผู้เรียน 2. ฝึกการทำงาน/ทักษะทางอาชีพ/ทรัพย์สินทาง ปัญญา อยู่อย่างพอเพียง/มีวินัยทางการเงิน/ 3. พัฒนาความสามารถด้านการใช้ทักษะชีวิต 4. สร้างเสริมสมรรถนะทางกาย
Hand Health
3. เสนอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อเห็นชอบ 1. โครงสร้างเวลาเรียน โครงสร้างหลักสูตร ตารางเรียน 2. กิจกรรมที่จัด ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ HEAD HEART HAND HEALTH
การทบทวนหลังปฏิบัติ After action review (AAR) ทบทวนเหตุการณ์ว่าเกิดอะไรขึ้น ทำไมจึงเกิด รักษาจุดแข็งปรับจุดอ่อนอย่างไร ทำให้ทีมได้เรียนรู้จากความสำเร็จและความล้มเหลว ไม่มีการตำหนิหรือยึดติดกับปัญหา ต้องแบ่งปันความรู้ที่ฝังลึกในคนไปสู่ความรู้ชัดแจ้ง
ประโยชน์ของ AAR ช่วยให้สมาชิกและทีมได้เรียนรู้กระบวนการทำงาน สามารถทำได้ทันทีหลังเหตุการณ์ เหตุการณ์ที่ทำควรมีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด ตามเป้าหมายที่วางไว้ให้ชัดเจน สามารถวัดผลดำเนินงานได้
Worasak2500@hotmail.com ดร.วรศักดิ์ วัชรกำธร 0818627410 ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ ศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.