Open source.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาระบบ โดยใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส และฟรีแวร์
Advertisements

ธีระพงษ์ แสงรักษาวงศ์
Software คือ ชุดคำสั่งหรือ ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
Intro : การเขียนโปรแกรมบนอินเตอร์เน็ต
SSL VPN-based NAC Dr. Pipat Sookavatana อาจารย์ภาควิศวกรรมศาสตร์
ศุภโชค จันทรประทิน ผู้ช่วยนักวิจัย ห้องปฎิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์
วิธีปิดทางHacker วิธีปิดทางHacker.
Firewall IPTABLES.
Interoperable ICT system and Open Data Format
Introduction to php Professional Home Page :PHP
Operating System โครงสร้างคอมพิวเตอร์ และภาษาแอสเซมบลี้
การติดตั้งและใช้งาน Linux Server RedHat Fedora Core 4
การใช้เทคโนโลยี Open Source ในการพัฒนาซอฟต์แวร์
อุทัย คูหาพงศ์. ในอดีต โปรแกรมต่างๆมีการพัฒนาโดย นักพัฒนาและแลกเปลี่ยนกันโดยเสรี เริ่มมีการพัฒนาทางการค้าของ ซอฟต์แวร์มากขึ้น กลุ่มคนที่มองว่าซอฟต์แวร์เป็นสมบัติ
Introduction to Server Services
Software ส. อ. ประกาศิต วรนุช ไมโครคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเฉลิมกาณจนา บุรีรัมย์ ลิขสิทธิ์ โดย ส. อ. ประกาศิต วรนุช ไมโครคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย เฉลิมกาณจนา บุรีรัมย์
Modeling and Activity Diagram
PHP : [1] PHP เบื้องต้น. PHP คืออะไร ? PHP ได้รับการเผยแพร่เป็นครั้ง แรกในปี ค. ศ โดย Rasmus Lerdorf ต่อมาได้มีนัก โปรแกรมเมอร์เข้ามาช่วยในการ พัฒนาต่อมาตามลำดับ.
Introduction to SQL (MySQL) – Special Problem (Database)
OS Network. Network Operating System, NOS Netware from Novell Microsoft Windows NT Server Microsoft Windows NT 2003 Server AppleShare Unix Linux.
CHAPTER 1 INTRODUCTION TO JAVA WEB PROGRAMMING Wattanapong suttapak, Software Engineering, school of Information communication Technology, university of.
PHP.
การพัฒนาเว็บด้วย Joomla CMS 1. ทำความเข้าใจถึงระบบ Open Source 2. ทำความรู้จักกับ CMS (Content Management System) ยอดนิยม 3. แนวโน้มการใช้งาน Joomla 4.
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกประวัติ ความเป็นมาของโปรแกรม FreeMind ได้ 2. บอกความหมายและสามารถเลือกใช้โปรแกรม Open Source Software ได้ 3. บอกความหมายของการอับโหลดและการดาวน์
Saving Cost Connection
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
การสื่อสารข้อมูล.
Security in Computer Systems and Networks
ระบบคอมพิวเตอร์.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
Information Technology For Life
U C S m a r t Smart Organizing Solution by Unified Communication
บทที่ 3 โพรโตคอล ทีซีพีและไอพี TCP / IP
บทที่ 8 เครือข่ายการสื่อสารทางไกลระหว่างประเทศ
Firewall อาจารย์ ธนัญชัย ตรีภาค ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
Wireless Network เครือข่ายไร้สาย
Crowded Cloud e-services: Trust and Security
Computer Network.
Pentaho Installation.
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ในประเทศไทย
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต Internet Technology
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Toward National Health Information System
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software).
บทที่ 5 ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ * Management Information Systems
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า Information Technology for Study Skill 01/12/61.
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การใช้โปรแกรมเบื้องต้น (Application Overview)
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
UML (Unified Modeling Language)
บทที่ 2 ซอฟต์แวร์ รายวิชา ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อ.อภิพงศ์ ปิงยศ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
Multimedia Production
บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต.
Database ฐานข้อมูล.
บทที่ 9 การออกแบบระบบ และการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟช
บทเรียนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
Development Strategies
เรื่อง การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล MySQL Database
Injection.
อ.พิณรัตน์ นุชโพธิ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
สิ่งสนับสนุน (ห้องต่าง ๆ เครื่องมืออุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก)
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ และภาษาซี
ระบบปฏิบัติการ ( OS – Operating System )
Introduction to GNU/Linux
Virtualization and CentOS Installation
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 2 ระบบเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Open source

องค์กรอิสระ Open Source Initiative (OSI) ได้นิยามซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สไว้ดังนี้ อนุญาตให้นำไปเผยแพร่ได้อย่างเสรี (Free Redistribution) ให้มาพร้อมกับซอฟต์แวร์ต้นฉบับ (Source Code) อนุญาตให้สร้างซอฟต์แวร์ใหม่โดยต่อยอดจากซอฟต์แวร์ต้นฉบับ (Derived Works) ต้องไม่แบ่งแยกผู้พัฒนาออกจากซอฟต์แวร์ต้นฉบับ (Integrity of the Author''s Source Code) จะต้องไม่เลือกปฏิบัติเพื่อกีดกันบุคคล หรือกลุ่มบุคคล (No Discrimination Against Persons or Groups)

องค์กรอิสระ Open Source Initiative (OSI) ได้นิยามซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สไว้ดังนี้ 6. จะต้องไม่จำกัดการใช้เฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้น (No Discrimination Against Field of Endeavor) 7. การเผยแพร่ไลเซนต์ (Distribution of License) 8. ไลเซนต์ของซอฟต์แวร์จะต้องไม่ขึ้นกับไลเซนต์ของผลิตภัณฑ์ (License Must Not be Specific to a Product) 9. ไลเซนต์ของซอฟต์แวร์จะต้องไม่จำกัดไลเซนต์ของซอฟต์แวร์อื่น (License Must Not Restrict Other Software) 10. ไลเซนต์จะต้องไม่ผูกติดกับเทคโนโลยี (License Must Be Technology-Neatral)

นิยามซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส 1. อนุญาตให้นำไปเผยแพร่ได้อย่างเสรี (Free Redistribution) ไลเซนต์จะต้องไม่จำกัดในการขาย หรือแจกจ่ายให้กับผู้อื่น โดยไม่มีการบังคับว่าต้องจ่ายค่าธรรมเนียม (Royalty Fee) ให้กับเจ้าของซอฟต์แวร์ต้นฉบับ

นิยามซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส 2. ให้มาพร้อมกับซอฟต์แวร์ต้นฉบับ (Source Code) โปรแกรมต้องให้มาพร้อมกับ Source Code หรือถ้าไม่ได้ให้มาพร้อมโปรแกรมจะต้องมีช่องทางที่จะทำให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึง Source Code ได้โดยไม่มีการคิดค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม และ Source Code ที่ให้มาจะต้องอยู่ในรูปแบบที่นำไปปรับปรุงแก้ไขได้

นิยามซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส 3. อนุญาตให้สร้างซอฟต์แวร์ใหม่โดยต่อยอดจากซอฟต์แวร์ต้นฉบับ (Derived Works) ไลเซนต์ของซอฟต์แวร์ต้องอนุญาตให้สามารถนำไปปรับปรุงแก้ไข และสร้างซอฟต์แวร์ใหม่ โดยซอฟต์แวร์ตัวใหม่จะต้องมีไลเซนต์เช่นเดียวกับซอฟต์แวร์ต้นฉบับ

นิยามซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส 4. ต้องไม่แบ่งแยกผู้พัฒนาออกจากซอฟต์แวร์ต้นฉบับ (Integrity of the Author''s Source Code) ไลเซนต์อาจจะไม่ได้ให้ไปพร้อมซอสโค้ดในรูปแบบที่สามารถแก้ไขได้ ในกรณีที่มีการกำหนดว่าจะให้ซอร์สโค้ดเฉพาะส่วนที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม (patch files) เพื่อใช้ในการคอมไพล์โปรแกรมเท่านั้น ไลเซนต์ใหม่จะต้องกำหนดให้ชัดว่าสามารถแจกจ่ายได้หลังจากแก้ไขซอร์สโค้ดแล้ว โดยไลเซนต์ใหม่อาจจะต้องทำการเปลี่ยนชื่อ หรือเวอร์ชั่นให้แตกต่างจากซอฟต์แวร์ต้นฉบับ

นิยามซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส 5. จะต้องไม่เลือกปฏิบัติเพื่อกีดกันบุคคล หรือกลุ่มบุคคล (No Discrimination Against Persons or Groups) ไลเซนต์จะต้องไม่เลือกปฏิบัตเพื่อกีดกันการเข้าถึงซอฟต์แวร์ของบุคคล หรือกลุ่มบุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ

นิยามซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส 6. จะต้องไม่จำกัดการใช้เฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้น (No Discrimination Against Field of Endeavor) ไลเซนต์จะต้องไม่จำกัดการใช้สำหรับกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น จะต้องไม่จำกัดการใช้งานเฉพาะในเชิงธุรกิจ หรือในการทำวิจัยเท่านั้น

นิยามซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส 7. การเผยแพร่ไลเซนต์ (Distribution of License) สิทธิ์ที่ให้ไปกับโปรแกรมจะต้องถูกบังคับใช้กับทุกคนที่ได้รับโปรแกรมเท่าเทียมกัน โดยไม่จำเป็นต้องใช้ไลเซนต์อื่นๆ ประกอบ

นิยามซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส 8. ไลเซนต์ของซอฟต์แวร์จะต้องไม่ขึ้นกับไลเซนต์ของผลิตภัณฑ์ (License Must Not be Specific to a Product) หมายความว่า ถ้าซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สถูกนำไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ ไลเซนต์ของซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สจะต้องไม่ต้องไม่ขึ้นอยู่กับซอฟต์แวร์ใดซอฟต์แวร์หนึ่งในผลิตภัณฑ์ตัวนั้น

นิยามซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส 9. ไลเซนต์ของซอฟต์แวร์จะต้องไม่จำกัดไลเซนต์ของซอฟต์แวร์อื่น (License Must Not Restrict Other Software) ไลเซนต์ของซอฟต์แวร์ที่รวมในมีเดียเดียวกันจะต้องไม่ถูกบังคับให้เป็นโอเพ่นซอร์สซอฟต์แวร์ด้วย

นิยามซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส 10. ไลเซนต์จะต้องไม่ผูกติดกับเทคโนโลยี (License Must Be Technology-Neatral)

กำเนิดแนวความคิด ในอดีต โปรแกรมต่างๆมีการพัฒนาโดยนักพัฒนาและแลกเปลี่ยนกันโดยเสรี เริ่มมีการพัฒนาทางการค้าของซอฟต์แวร์มากขึ้น กลุ่มคนที่มองว่าซอฟต์แวร์เป็นสมบัติของมนุษยชาติได้ตั้งองค์การเรียกว่า The Free Software Foundation (FSF), ในปี 1985 นำโดย Richard Stallman ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยน ดัดแปลง ทำสำเนาซอฟต์แวร์อย่างเสรี เพื่อให้ผู้ใช้มี Solution ที่ไม่ขึ้นกับ Vendor ตั้งโครงการ GNU เพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์ต่างๆที่ทำให้คอมพิวเตอร์เหมือนระบบ Unix สร้างลิขสิทธิ์แบบที่เรียกว่า GPL (Gnu public License) ขึ้น

GPL (Gnu Public License) และ Open Source อนุญาตให้มีการขาย ทำเพิ่มอย่างไรก็ได้แต่ ต้องให้ซอร์สโปรแกรมไปด้วย การแก้ไขทุกครั้งที่ใครทำถือว่าอยู่ใต้ Gnu Public License

แนวคิด Open source FSF GPL ทำให้ทำการค้าได้ยากเนื่องจากซอฟต์แวร์ทุกตัวต้องแจกฟรีหมด Opensource เป็นแนวคิดที่เกิดในราว 1998 Computer programs or operating systems for which the source code is publicly available are referred to as open-source software. Inherent in the open source philosophy is the freedom of a distributed community of programmers to modify and improve the code. The most widely known example of open-source software is the Linux operating syst ต้องการให้ทำการค้าได้ง่ายขึ้น

ข้อดีของ Opensource เข้าใจและแก้ไขได้เนื่องจากมี Source code ทำให้เราเป็นเจ้าของ technology มี solution ให้เลือกมากมาย มีพัฒนาการที่เร็ว นักพัฒนากลุ่มใหญ่ใช้ Internet สร้างระบบพัฒนาแบบเปิด มีการทดสอบและ fixed อย่างรวดเร็ว ใช้งานในองค์กรต่างๆอย่างมากมายและสนับสนุนโดยบริษัทใหญ่ เช่น IBM, Sun Microsystem, Oracle

ประวัติของระบบลีนุกซ์ คิดค้นขึ้นโดยนิสิตปริญญาโทที่มหาวิทยาลัย Helsinki ประเทศ Finland ชื่อ Linus Torvald (ไลนัส ทอร์วาล) ในราวปี 1991 จุดเริ่มต้นเพื่อทดแทน ระบบ Minix ของ Andrew S. Tanenbaum ที่ใช้ในการเรียนการสอนอยู่ ลีนุกซ์ถูกนำไปใช้ก่อนในการวิจัยในมหาวิทยาลัยต่างประเทศและในหมู่มือสมัครเล่น แล้วจึงแพร่หลายมาในทางธุรกิจ ลีนุกซ์เป็นระบบที่เขียนขึ้นใหม่โดยสมบูรณ์จึงไม่มีปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์ และแจกฟรีภายใต้ GPL License (GNU Public License)

ทำไมลีนุกซ์กำลังดัง เป็นระบบปฏิบัติการที่ทำงานแบบ UNIX ซึ่งมีขีดความสามารถสูง กินฮาร์ดแวร์ต่ำมาก ทำงานได้บนเครื่องเก่าๆ เช่น PC 166, 300 Mhz การใช้งานพบว่าลีนุกซ์มีความเสถียร (stable) ในการใช้งานสูงมาก ไม่ค่อยหยุดทำงาน เป็นของฟรีที่ ดาวน์โหลดได้จากอินเตอร์เน็ต ftp.sunsite.unc.edu/pub/linux ftp.nectec.or.th

ขีดความสามารถเด่นๆของลีนุกซ์ เป็นระบบที่ทำงานได้ตามมาตรฐาน UNIX ของ IEEE ที่เรียกว่า POSIX สนับสนุนการทำงานแบบ Multitask, และ Multiusers เต็มรูปแบบ สนับสนุนการทำงาน Multiprocessors แบบ SMP มีทั้ง 32 และ 64 บิต (Intel itanium, AMD Opteron) ทำงานได้หลายแพลตฟอร์ม เช่น บน Intel, DEC Alpha, MIPS และ PowerPC

ขีดความสามารถเด่นๆของลีนุกซ์ สนับสนุนการทำงานแบบ Multithreading สนับสนุนการทำงานแบบ Multimedia มีเสียงและภาพ มีระบบ Windows คือ X Windows และมี Desktop ที่มีประสิทธิภาพสูงและใช้งานง่าย เช่นเดียวกับ Windows 98 สนับสนุนเครือข่ายแบบ TCP/IP, Apple Talk, Netware IPX มีความสามารถเป็น Web Server, Web Proxy, Internet server, ftp server ได้ทันที

Linux Scalability Supercomputer Server Desktop Embeded

เครื่องมือระบบ Shell, Complier, utilities โครงสร้างของลีนุกซ์ เคอร์แนลระบบลีนุกซ์ เครื่องมือระบบ Shell, Complier, utilities โปรแกรมประยุกต์

Linux Distribution ลีนุกซ์ที่แท้จริง คือ Kernel แต่การใช้งานจริงต้องการซอฟแวร์มากมาย มีผู้รวบรวมระบบลีนุกซ์และโปรแกรมประกอบมาทำให้ติดตั้งได้เรียกว่า Distribution Distribution ที่ใช้งานมาก RedHat , Slackware, Debian , SuSe

สาเหตุที่ระบบลีนุกซ์ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว มีการเปิดเผย Code ทั้งหมดทำให้มีคนจำนวนมากเข้ามาพัฒนา มีระบบการจัดการเป็นโครงการโดยมีหัวหน้าเป็นคนทดสอบและรวบรวมซอร์สหลักทำให้การพัฒนาไม่แตกกระจาย มีผู้ช่วยทดสอบและแจ้ง Bug และ Fix นับล้านคนจึงได้โปรแกรมที่มีคุณภาพสูงมาก ได้คนเก่งๆจากทั่วโลกมาทำเพราะความท้าทาย ระบบลีนุกซ์ได้สร้างแนวคิดการพัฒนาโปรแกรมแบบใหม่ขึ้น!!!

การใช้งานบนระบบลีนุกซ์ Internet/ Intranet Server เป็นระบบ Desktop ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม ใช้ในการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์

การใช้ลีนุกซ์เป็นระบบอินเตอร์เน็ตเซอร์ฟเวอร์ สนับสนุนการเชื่อมต่อแบบ Dialup, LAN ทุกแบบ เช่น Ethernet, Fast Ethernet, ATM, Myrinet, Gigabit Ethernet, ISDN ใน package มาตรฐานจะให้ WEB Server Apache ที่นิยมใช้สูงสุดและมีประสิทธิภาพสูง ftp server, news server, mail server, domain name server, telnet server เป็น Multi-user เปิดให้ผู้ใช้หลายคนใช้งานได้ทันที ใช้งานเป็น Firewall ได้ มีซอฟแวร์มากมาย

Netcraft : October 2004 Web Server Survey

การใช้ลีนุกซ์เป็นระบบอินทราเน็ตเซอร์ฟเวอร์ ตั้งระบบลีนุกซ์เพื่อเป็นตัวกลางแลกข้อมูลในองค์กร ส่งจดหมายเวียนผ่านระบบ email ส่งประกาศ ข่าวสาร ต่างๆทาง Web page และ Web board เก็บบทเรียนเป็นรูปอิเลคทรอนิคส์เพื่อให้นักเรียนค้นคว้าได้เอง เก็บแบบฟอร์มมาตรฐานในรูปไฟล์ที่แก้ไขได้เพื่อให้มีการดาวน์โหลดมาใช้งานโดยไม่ต้องพิมพ์ใหม่ ประหยัดกระดาษในแนว Paperless office

ลีนุกซ์สำหรับระบบอินเตอร์เน็ตเซอร์ฟเวอร์ Internet Firewall, Gateway Web, Mail Server

การใช้ลีนุกซ์เป็นเซอร์ฟเวอร์ให้กับ MS Windows ระบบลีนุกซ์มาพร้อมกับขีดความสามารถที่จะทำงานเป็นเซอร์ฟเวอร์ให้กับ Windows XP/NT/98/MEโดยใช้ซอฟแวร์ที่เรียกว่า SAMBA Server ขีดความสามารถ ใช้ดิสค์ร่วมกันระหว่าง Windows กับ Linux PC Windows พิมพ์ผ่านเครื่องพิมพ์บนลีนุกซ์ Linux พิมพ์ผ่านเครื่องพิมพ์ของ PC แปลงร่างเป็น Domain Server ของ Windows

SAMBA Windows Fileserver Windows Print Server DHCP Server Intranet

Linux Administration ใช้คำสั่งกับ script language Perl, Bash, Python ใช้ GUI tools มีให้มากมายใน Linux distribution

Linux Administration Web Interface Webmin http://www.webmin.com/ ทำให้การดูแลลีนุกซ์เซอร์ฟเวอร์ง่ายมาก

การใช้งานฐานข้อมูลบนลีนุกซ์ ปัจจุบันระบบฐานข้อมูลใหญ่ๆ เช่น Oracle, Informix, DB2 มีรุ่นที่สนับสนุนลีนุกซ์แล้วทั้งสิ้น ใช้ windows เป็น client ได้ผ่าน ODBC ลีนุกซ์ Redhat จะมาพร้อมกับ SQL server เรียกว่า Postgres ที่ใช้งานได้ทันที สำหรับฐานข้อมูลขนาดเล็กถึงกลางและทำ Dynamic Web ใช้ MySQL กันมาก

การใช้ลีนุกซ์เป็นระบบ Desktop ลีนุกซ์ยังนำมาใช้เป็นระบบ Desktop ได้ เช่น เดียวกับระบบ Windows มี Desktop ที่ดีหลายตัวที่มีประสิทธิภาพสูงเท่ากับ Windows เช่น KDE ( K Desktop Environment) ,Gnome

การใช้ลีนุกซ์เป็นระบบ Desktop

การใช้ลีนุกซ์เป็นระบบ Desktop

โปรแกรม Office Productivity Open Office To create, as a community, the leading international office suite that will run on all major platforms and provide access to all functionality and data through open-component based APIs and an XML-based file format. มีคนทำไทยให้ open office 8nv Office TLE (ออฟฟิสทะเล) NECTEC Pladao (ปลาดาว) Sun Microsystem + Algorithms

OfficeTLE: Thai Open Office

โปรแกรมกราฟิกบนระบบลีนุกซ์ ระบบลีนุกซ์จะให้โปรแกรมกราฟิกมาหลายตัว เช่น GIMP (Gnu Image Manipulation program) เป็นโปรแกรมที่ช่วยตกแต่งภาพเช่นเดียวกับ โฟโต้ชอป (www.gimp.org) XV ใช้ดูภาพกราฟิกและแปลงภาพกราฟิกแบบต่างๆ Ghostscript เป็น Postscript Interpreter ที่ ช่วยในการดู หรือ พิมพ์ Postscript ไฟล์ออกเครื่องพิมพ์ Xpaint ใช้เขียนรูปเหมือน PCPaint Xfig ใช้เขียน Diagram ต่างๆ

ลีนุกซ์กับการโปรแกรมกราฟิก 3D ลีนุกซ์สนับสนุนมาตรฐาน OpenGL โดยใช้ ตัวโปรแกรมช่วยชื่อ Mesa โปรแกรมกราฟิคที่เหมือนกับ NT ได้ทันทีเนื่องจาก Windows 95/98/NT สนับสนุน OpenGL Povray เป็น Rendering Engine ที่ใช้สร้างรูปสามมิติได้ (www.povray.org) ซอฟต์แวร์ Commercial เช่น Alias Wavefront Maya ทำงานได้บน Linux

รูปที่สร้างจาก Povray

การใช้ลีนุกซ์พัฒนาโปรแกรม ลีนุกซ์มาพร้อมกับเครื่องมือพัฒนาโปรแกรมมากมาย มีตัวแปรภาษาสำหรับโปรแกรมภาษา C, C++, Pascal, fortran77,lisp, prolog, ADA Java ต้องdownload มา แต่ใช้งานได้ดี สนับสนุน Script language language เช่น shell, c-shell, k-shell, perl, python ทำกราฟิกและเมนูได้ง่ายด้วย TCL/TK, Python, Glade, Java

การเขียนและพัฒนาโปรแกรม มีคอมไพเลอร์ภาษา C gcc มีโปรแกรม Integrated Development Environment เรียกว่า Kdevelop โปรแกรม Debugger Full Screen เรียกว่า xxgdb มีโปรแกรมช่วยบริหาร code เรียกว่า rcs (revision control system) ช่วยรักษา database ของ code ให้มี version ที่แน่นอนและมีการเปลี่ยนแปลงจากคนๆเดียว

การเขียนและพัฒนาโปรแกรม

Linux Embedded ลีนุกซ์ถูกใช้งานมากขึ้นในระบบเล็กๆ ข้อดี Internet Appliance, Home Router PDA ข้อดี Programming support Source code availability Large users and developers communities http://www.linuxdevices.com/

อนาคตของลีนุกซ์ทั่วโลก ลีนุกซ์จะได้รับการยอมรับจากบริษัทต่างๆในการใช้งานจริงมากขึ้น ขณะนี้ซอฟแวร์ฐานข้อมูลใหญ่ๆเริ่มลงมาสนับสนุนลีนุกซ์ เช่น Informix, Oracle, IBM DB2 ซอฟแวร์ต่าง ๆ จะเริ่มตามมาอีก อย่างไรก็ตามลีนุกซ์คงจะแข่งขันได้เฉพาะในตลาดเซอร์ฟเวอร์ที่ต้องการคนทางเทคนิคดูแล ยังไม่ลงมาทาง Desktop เนื่องจาก การติดตั้งลีนุกซ์ยังไม่ง่าย การดูแลระบบยังยากเนื่องจากรากฐานที่มาจากระบบยูนิกซ์

อนาคตของระบบลีนุกซ์ในประเทศไทย ลีนุกซ์กำลังได้รับความสนใจอย่างมาก ในหมู่นักศึกษา อาจารย์มหาวิทยาลัยเนื่องจากความเด่นทางเทคนิคและเป็นของฟรี ในหมู่สถาบันการศึกษาเพื่อนำมาใช้เป็นระบบอินเตอร์เน็ตเซิร์ฟเวอร์ การเรียนการสอนในกลุ่มองค์กรและบริษัทขนาดเล็กและขนาดกลางเพื่อนำมาลดค่าใช้จ่าย

Question & Answer