แผนปฏิบัติการ สพฐ. ปี 2554.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
IQA network Why and How to ?
Advertisements

การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
ความสำคัญและมโนทัศน์พื้นฐานของการวัดและประเมินผลการศึกษา
LOGO. ส่วนประกอบของบัญชี รายได้ประชาชาติ NI Y = GDP GNPNNPNIGDPGNPNNPNI.
สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ การประชุมศูนย์ปฏิบัติการ สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์ เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการและ ผู้สูงอายุ
เครือข่ายเพื่อการศึกษาในกระทรวงศึกษาธิการปัจจุบัน
ผลการสอบ O-NET ป. 6 ปี การศึกษา 2556 ร. ร. ภายในกลุ่มฯบ้านโคก เปรียบเทียบกับระดับประเทศ.
บทบาทของผู้ให้บริการ ในการเสริมสร้างคุณภาพระบบบริการ ในการเพิ่มประสิทธิภาพการดูแล รักษา มุมมองผู้ให้บริการในพื้นที่ พญ.พัชรี ขันติพงษ์ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
O – NET ย่อมาจากคำว่าอะไร?
กำหนดการ – น. ลงทะเบียน – น. กล่าวต้อนรับและเปิดการสัมมนา – น. นโยบายส่งเสริมการลงทุนใน รูปแบบคลัสเตอร์ โดย เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการ.
หลักสูตร การเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การประปาส่วนภูมิภาค วิทยากร : วุฒทัย การสมใจ และคณะ.
การบริหารการทดสอบ O-NET
การบริหารการทดสอบระดับชาติ
โรงเรียนห้วยเม็กวิทยาคม
วิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนา
สรุปการดำเนินงาน ตามนโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๘
19 พฤศจิกายน 2559 ณ ห้องประชุมสักทอง1
ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต Internet Technology
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
นำเสนอโดยนายอนุสรณ์ โชติชื่น และนายสมศักดิ์ พัดพรม
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อน การบูรณาการฐานข้อมูลกลางภาครัฐ
การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ปลอดภัย Keep it secure
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การเชื่อมภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อน
ระเบียบวาระการประชุม
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
กลุ่มพัฒนาเครือข่ายและสถานศึกษาต้นแบบ
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
แนวทางการทำงานของ “วิทยากรแกนนำเน็ตประชารัฐ”
ประชุมการจัดสอบ O-NET2560
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
อบรมการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น หัวข้อ การคีย์ใบงาน IT Service สำหรับผู้ใช้บริการ โดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การแพทย์ ฯ.
หน่วยที่1 หลักการวางแผนเป้าหมายชีวิต
รายละเอียดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร
๓.จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ/ คุณภาพการทำงาน
นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข
โครงสร้างการทำงานภายใต้โครงการประชารัฐ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
รอบสามประเมินกลุ่มตัวบ่งชี้ที่ 1-5)
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
การประชุมชี้แจงศูนย์สอบ O-NET ชั้น ป.6 และ ชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2560
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
ระบบจำนวนจริง ข้อสอบ O-net
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ทิศทางการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
ทิศทางการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551
National Coverage กพ.62 รายจังหวัด
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
การใช้ประโยชน์ข้อมูลสภาพ และปัญหาด้านทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำ
เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับความหมายของ Meetings
เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย
ครั้งที่ 6/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2559
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การบริการ.
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
การรับนักเรียนเข้าศึกษาในคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ
แนวทางการจัดทำและการขับเคลื่อน แผนปฏิบัติการ สพฐ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนปฏิบัติการ สพฐ. ปี 2554

หลักการ 1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและ เรียนรู้ของผู้เรียน 1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและ เรียนรู้ของผู้เรียน 2. เพิ่มโอกาสทางการศึกษา และการเรียนรู้ อย่างทั่วถึง 3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ของสังคมในการบริหารและจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน

ปฏิรูปรอบสอง 1. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ 2. พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ 3. พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และ แหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ 4. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่

นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 1. การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง 2. โครงการเรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ 3. จัดตั้ง โรงเรียนดีประจำตำบล 4. พัฒนาการศึกษา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 5. สร้างแหล่งเรียนรู้ราคาถูก 6. สร้างเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (National Education Network : Ned Net) 7. สร้างขวัญและกำลังใจครู 8. สนับสนุนองค์ความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี

ปัญหาและความต้องการของ สพฐ. ยังมีเด็กตกหล่น ออกกลางคันและไม่เรียนต่อ คุณภาพนักเรียนยังไม่น่าพอใจ การกระจายอำนาจจากส่วนกลางไปยัง สพท. และโรงเรียนยังไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ คณะกรรมการโรงเรียนยังไม่เข้มแข็ง การบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กยังขาดประสิทธิภาพ

ปัญหาและความต้องการ การพัฒนาบุคลากรยังไม่ตรงตามความต้องการ การประเมินวิทยฐานะยังไม่สัมพันธ์กับคุณภาพนักเรียน งบประมาณส่วนใหญ่เป็นเงินเดือน งบพัฒนา มีน้อย ขาดแหล่งเรียนรู้ ขาด/ไม่นำผลงานวิจัย

วิสัยทัศน์ สพฐ.เป็นพลังขับเคลื่อนการศึกษา ขั้นพื้นฐานของประเทศไทยให้เป็นผู้นำหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ภายในปีการศึกษา 2556 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

พันธกิจ พัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลที่มีความรู้ คู่คุณธรรม มีความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

เป้าประสงค์ 1. ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 2. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 ปี อย่างทั่วถึง 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพเต็มตามศักยภาพ 4. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษามีความเข้มแข็ง เป็นกลไกขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่ความเป็นหนึ่งใน สองของภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 5. เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีความปลอดภัย และมั่นคง

กลยุทธ์ 1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถทางเทคโนโลยี เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ 2. ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม ผู้เรียนได้เรียนตามศักยภาพของตนเอง 4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ 5. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน 6. พัฒนาการศึกษาในเขตพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้

จุดเน้น 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 4 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนอ่านออกเขียนได้ 3. เพิ่มศักยภาพนักเรียนในด้านภาษา ด้านคณิตศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาสู่ความ เป็นหนึ่งในสอง ของภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 4. นักเรียนทุกคนมีความสำนึกในความรักชาติ

จุดเน้น 5. อัตราการออกกลางคันเป็น”ศูนย์” 6. สร้างทางเลือกการเรียนรู้เชิงบูรณาการอิงถิ่นฐานที่เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและคุณภาพ 7. สถานศึกษาทุกแห่งผ่านการรับรองมาตรฐาน 7.1 สถานศึกษาทุกแห่งผ่านการรับรองภายใน 7.2 สถานศึกษาที่เข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบของ สมศ. ได้รับการรับรองทุกแห่ง 8. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาผ่านการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในระดับดี

กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตร และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ที เป้าหมายความสำเร็จ ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก เพิ่มขึ้นร้อยละ 4 ต่อปี ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก เพิ่มขึ้นร้อยละ 4 ต่อปี นักเรียนชั้นประถมศึกษาทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่อง นักเรียนทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่อง 2 ผู้เรียนที่มีปัญหาการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ลดลง จำนวนผู้เรียนที่มีปัญหาการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ลดลง 3 นักเรียนมีความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ร้อยละของนักเรียนที่มีความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้

กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป้าหมายความสำเร็จ ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีจิตสำนึกความเป็นไทยยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตระหนักและภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับการพัฒนาให้มีจิตสำนึกความเป็นไทย 2 ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร้อยละ 80 ของผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 โรงเรียนจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมอย่างต่อเนื่อง ร้อยละของโรงเรียนที่จัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม 4 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จำนวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพิ่มขึ้น

กลยุทธ์ที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษา เป้าหมายความสำเร็จ ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1 ผู้เรียนที่ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น (ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย พิการ ด้อยโอกาส) ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น (ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย พิการ ด้อยโอกาส) 2 ผู้เรียนที่จบการศึกษา (ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย พิการ ด้อยโอกาส) ร้อยละของผู้เรียนที่จบการศึกษา (ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย พิการ ด้อยโอกาส) 3 ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาสมรรถภาพ ร้อยละของผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาสมรรถภาพ 4 ไม่มีนักเรียนออกกลางคันของ อัตราการออกกลางคันของผู้เรียนเป็น”ศูนย์” 5 ผู้เรียนทุกคนได้รับการสนับสนุนการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสำหรับรายการหนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบนักเรียน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ค่าเล่าเรียน ผู้เรียนทุกคนได้รับการสนับสนุนการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสำหรับรายการหนังสือเรียน อุปกรณ์ การเรียน เครื่องแบบนักเรียน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ค่าเล่าเรียน และผู้ปกครองของผู้เรียนลดภาระค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา

กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ เป้าหมายความสำเร็จ ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1 ข้าราชการครูที่ได้รับการพัฒนา สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ ร้อยละ 40 ของข้าราชการครูที่ได้รับการพัฒนา สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามี ความเข้มแข็งด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ในระดับดี ร้อยละ 35 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามี ความเข้มแข็งด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ในระดับดี 3 ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความพอใจในความมั่นคงของการประกอบวิชาชีพ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความพอใจในความมั่นคงของการประกอบวิชาชีพร้อยละ 85 4 ครูทุกคนได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพและสามารถปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานหรือเกณฑ์ที่กำหนด 5 บุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพและสามารถปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานหรือเกณฑ์ที่กำหนด จำนวนบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพและสามารถปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานหรือเกณฑ์ที่กำหนด

กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามแนวทาง การกระจายอำนาจทางการศึกษา หลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจาก ทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดศึกษา ที เป้าหมายความสำเร็จ ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1 สถานศึกษาทุกแห่งผ่านการรับรองมาตรฐาน สถานศึกษาทุกแห่งที่ไม่ผ่านการรับรอง ได้รับการแก้ไขแทรกแซงเพื่อพัฒนาคุณภาพ ร้อยละของสถานศึกษาที่มีผลการประเมินคุณภาพภายนอกผ่านการรับรองมาตรฐานดีกว่าเดิมเพิ่มขึ้น 2 สถานศึกษาทุกแห่งได้รับการนิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือการดำเนินงานให้มีคุณภาพ 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกแห่ง มีความพร้อมและความเข้มแข็งในการบริหารและการจัดการศึกษาสามารถยกระดับคุณภาพมาตรฐานและธรรมาภิบาล 4 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร้อยละ 85 ของผู้รับบริการมีความพึงพอใจในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป้าหมายความสำเร็จ ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ร้อยละ 60 ร้อยละของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 2 จำนวนผู้เรียนเข้ารับการศึกษา สายสามัญควบคู่อิสลามศึกษาเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 จำนวนผู้เรียนเข้ารับการศึกษาสายสามัญควบคู่อิสลามศึกษาเพิ่มขึ้น 3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระภาษาไทยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 65 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระภาษาไทยเพิ่มขึ้น 4 สถานศึกษาได้รับการพัฒนาคุณภาพเพิ่มขึ้น 1,305 แห่ง จำนวนสถานศึกษาได้รับการพัฒนาคุณภาพเพิ่มขึ้น 5 ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความพึงพอใจในระบบดูแลรักษาความปลอดภัยและการจัดสวัสดิการ ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษามีความ พึงพอใจในระบบดูแลรักษาความปลอดภัยและการ จัดสวัสดิการ 6 ผู้เรียนมีโอกาสในการเรียนรู้การอยู่ร่วมกันเพิ่มขึ้น จำนวนผู้เรียนมีโอกาสในการเรียนรู้การอยู่ร่วมกันเพิ่มขึ้น

แผนงาน 1. แผนงานแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ 1. แผนงานแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ 2. แผนงานสนับสนุนการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 15 ปี 3. แผนงานขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา

ผลผลิต ผลผลิตที่ 1: ผู้จบการศึกษาก่อนประถมศึกษา ผลผลิตที่ 2: ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ ผลผลิตที่ 3: ผู้จบการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย ผลผลิตที่ 4: เด็กพิการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการพัฒนาสมรรถภาพ ผลผลิตที่ 5: เด็กด้อยโอกาสได้รับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน

โครงการ โครงการพัฒนาการศึกษาในเขตพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ โครงการสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 15 ปี โครงการคืนครูให้นักเรียน

โครงการ(ต่อ) 4. โครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ 5. โครงการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพื่อการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง 6. โครงการโรงเรียนดีต้นแบบระดับตำบล

งบประมาณ ปี ‘53-’54 หน่วยล้านบาท งบรายจ่าย ปี 2553 ปี 2554 เพิ่ม/ลด % รวม 221,100 245,748 24,648 11.15 งบบุคลากร 167,353 173,066 5,713 3.41 งบดำเนินงาน 8,362 16,276 7,914 94.64 งบลงทุน 4,252 12,163 7,911 186.05 งบเงินอุดหนุน 41,111 42,738 1,627 3.96 งบรายจ่ายอื่น 20 1,505 1,485 7,425.00 หน่วยล้านบาท

รายจ่ายอื่น งบประมาณ ปี 2554 จำแนกตามรายจ่าย (0.61%) งบลงทุน 4.95% งบเงินอุดหนุน 17.39% งบลงทุน 4.95% งบดำเนินงาน 6.62% งบบุคลากร 70.42% รายจ่ายอื่น (0.61%)

งบประมาณ ภาคใต้ 1,049 ล้าน ปฐมวัย 224 ล้าน ประกันคุณภาพ 81 ล้าน ภาคใต้ 1,049 ล้าน ปฐมวัย 224 ล้าน ประกันคุณภาพ 81 ล้าน คุณธรรม/ประชาธิปไตย 88 ล้าน ยกระดับคุณภาพ 167 ล้าน

งบประมาณ(ต่อ) 6. ส่งเสริมการอ่าน 715 ล้าน 6. ส่งเสริมการอ่าน 715 ล้าน 7. ประเมินผลงานวิชาการ 219 ล้าน 8. พัฒนาศักยภาพนักเรียน 102 ล้าน 9. ขยายโอกาสทางการศึกษา 124 ล้าน 10. เตรียมคนสู่อาเซียน 71 ล้าน

งบประมาณ(ต่อ) 11. คืนครูให้นักเรียน* 2,152 ล้าน 11. คืนครูให้นักเรียน* 2,152 ล้าน 12. ปฏิรูป กศ.ในทศวรรษสอง 8,737 ล้าน 13. โรงเรียนดีต้นแบบระดับตำบล 1,274 ล้าน 14. ยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ 2,726 ล้าน

การปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง 1. คนไทยยุคใหม่ 1,071 ล้าน 2. พัฒนาสถานศึกษายุคใหม่ 2,384 ล้าน 3.พัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก 1,020 ล้าน 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการ 41 ล้าน 5. คอมพิวเตอร์/อินเตอร์เน็ต 4,221 ล้าน

การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ การจัดสรรทรัพยากรเพื่อการขับเคลื่อนแผน 1. งบประมาณดำเนินการในส่วนสพฐ. ตามกลยุทธ์ โครงการ กิจกรรม โดยมีสำนักส่วนกลางเป็นผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินงาน 2. งบประมาณดำเนินการสำหรับเขตพื้นที่การศึกษา 2.1 งบประมาณตามความจำเป็นพื้นฐาน ทั้งนี้พิจารณาจัดสรรตามเกณฑ์งบบริหารงานเขตพื้นที่การศึกษา ค่าสาธารณูปโภค ระยะห่างไกล และจัดสรรตามภาระงาน 2.2 งบประมาณเพิ่มประสิทธิผลกลยุทธ์ (งบแลกเป้า) เพื่อดำเนินการตามกลยุทธ์ 3. งบประมาณสำหรับสถานศึกษาที่เป็นศูนย์เครือข่ายต้นแบบ

กระบวนการนำแผนสู่การปฏิบัติ สื่อสารทิศทางองค์กรทั้งวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ จุดเน้นการพัฒนา และเป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ให้บุคลากรทุกระดับรับรู้และเข้าใจตรงกันอย่างทั่วถึง จัดโครงสร้าง กระบวนการทำงาน และมอบหมายผู้รับผิดชอบปฏิบัติงาน ทั้งเจ้าภาพหลัก เจ้าภาพรอง และผู้สนับสนุน พร้อมกำหนดบทบาทความรับผิดชอบอย่างชัดเจน วิเคราะห์เปรียบเทียบสภาพปัจจุบัน และเป้าหมายตามนโยบายเพื่อกำหนดกบยุทธ์และจัดทำแผนปฏิบัติงานให้บรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์

กระบวนการนำแผนสู่การปฏิบัติ (ต่อ) ดำเนินงาน กิจกรรม ตามแผนปฏิบัติการที่กำหนด ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพื่อให้การนำกลยุทธ์สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมโดยติดตามความก้าวหน้าประจำปี การประเมินผลระยะครึ่งปี และการประเมินผลเมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ สร้างกลไกการขับเคลื่อนและตรวจสอบสาธารณะ โดยรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปีสู่สาธารณชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

งบดำเนินงานสำหรับเขตพื้นที่การศึกษา งบประมาณจากผลผลิตผู้จบการศึกษาภาคบังคับ กิจกรรมการจัดการศึกษาประถมศึกษาสำหรับโรงเรียนปกติ -งบสนับสนุน 184.5247 ล้านบาท -งบพัฒนาวิชาการเขต 284.2126 ล้านบาท -งบประจำอื่นๆ 400.000 ล้านบาท รวม 868.7373 ล้านบาท สำหรับ สพป.183 เขตและ สศศ. เพื่อดูแลร.ร.ทำหน้าที่แทนเขตโดยเฉลี่ยประมาณ 4.5-5.0 ล้านบาท

งบดำเนินงานสำหรับเขตพื้นที่การศึกษา งบประมาณจากผลผลิตผู้จบการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย กิจกรรมการจัดการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายสำหรับโรงเรียนปกติ -ค่าเบี้ยเลี้ยงฯ 20.4129 ล้านบาท -ค่าวัสดุบริหารจัดการศูนย์ 9.000 ล้านบาท -ค่าสาธารณูปโภคสำหรับศูนย์ 5.9040 ล้านบาท -ค่าซ่อมแซมสิ่งก่อสร้างร.ร. 25.5000 ล้านบาท -ค่าซ่อมแซมครุภัณฑ์ร.ร. 25.5000 ล้านบาท -งบประจำอื่นๆ 62.000 ล้านบาท(ภาคบังคับมาสมทบ) รวม 148.3169 ล้านบาท (86.3169 ล้านบาท +62.0 ล้านบาท) สำหรับ สพม.42 เขตโดยเฉลี่ยประมาณ 3.2-3.8 ล้านบาท

เกณฑ์การจัดสรรงบดำเนินงานสำหรับเขตพื้นที่การศึกษา 1. ความจำเป็นพื้นฐาน -ค่าสาธารณูปโภค -ระยะทางห่างไกล 2. ภาระงาน -โรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ -คุณภาพการบริหารการจัดการศึกษาของเขต จากร.ร.ที่ผ่านการประเมินภายนอกรอบสอง -การติดตามคุณภาพการจัดการศึกษา

ปฏิทินการบริหารแผนปฏิบัติการ ระยะเวลา แนวปฏิบัติ กันยายน – 10 ตุลาคม 2553 สพฐ.แจ้งแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 และกรอบ การเสนอโครงการเพิ่มประสิทธิผลตามยุทธ์ศาสตร์(งบแลกเป้า) และบัญชีจัดสรรงบประมาณตามกลยุทธ์ โครงการ 20 ตุลาคม 2553 สพป.และสพม.เสนอโครงการเพิ่มประสิทธิผลตามกลยุทธ์ (งบแลกเป้า) พฤศจิกายน 2553 สพฐ. วิเคราะห์ความเสี่ยงและพิจารณาจัดสรรงบประมาณโครงการ และแจ้งผลการพิจารณาให้ สพป.และสพม.ทราบและปรับโครงการ เป้าหมายให้สอดคล้องกับวงเงินงบประมาณที่ได้รับ ธันวาคม 2553 จัดทำข้อตกลงส่งมอบบริการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (PSA) ร่วมกัน ระหว่าง สพฐ. และเขตพื้นที่การศึกษา

ปฏิทินการบริหารแผนปฏิบัติการ ระยะเวลา แนวปฏิบัติ 31 มีนาคม 2554 รายงานผลการดำเนินงานรอบ 6 เดือน เดือนตุลาคม 2553 – เดือนมีนาคม 2554) 30 มิถุนายน 2554 รายงานผลการดำเนินงานรอบ9เดือน(เดือนตุลาคม 2553 – เดือนมิถุนายน 2554) 15 ตุลาคม 2554 รายงานผลการดำเนินงาน รอบ 12 เดือน (เดือนตุลาคม 2553 – เดือนกันยายน 2554)

องค์ประกอบของแผนปฏิบัติการ สภาพการจัดการศึกษา ทิศทางการพัฒนาการศึกษา ปี 2554 รายละเอียดแผนปฏิบัติการ กลไกการขับเคลื่อน ภาคผนวก

สภาพการจัดการศึกษา ปริมาณงาน ผลการดำเนินงาน

ทิศทางการพัฒนาการศึกษา ปี 2554 ทิศทางการพัฒนาการศึกษา ปี 2554 วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ จุดเน้น เป้าหมาย ตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ/กระทรวง งบประมาณ จำแนกตามงบรายจ่าย/แผนงาน/ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรม

รายละเอียดแผนปฏิบัติการ สาระสำคัญ ปฏิทินการดำเนินงาน ปี 2554 งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ

กลไกการขับเคลื่อน ปรับวัฒนธรรมองค์กรที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ในปฏิบัติงานและการทำงานแบบมีส่วนร่วมที่เอื้อต่อการพัฒนา ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การปฏิบัติงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้ในจุดเน้นการพัฒนา ส่งเสริมการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์มาใช้ในการพัฒนาปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและใช้วงจรการพัฒนา PDCA ต่อเนื่อง เชื่อมโยงความสำเร็จของการปฏิบัติงานกับการบริหารงานบุคคลอย่างชัดเจน บริหารจัดการโดยเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมและยึดหลักธรรมาภิบาล