ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
LOGO แนวคิดเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศ นางสาวกนกรัตน์ นพ โสภณ SMET
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
กลุ่ม การจัดการความรู้ ช่างอากาศ (KM) หน่วยงาน ฝ่ายการช่าง ฝูงบิน 461 กองบิน 46 คำขวัญ “ มุ่งหน้าแก้ไขข้อขัดข้อง เพื่อตอบสนองภารกิจ ”
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Information System MIS.
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
Chapter 3 Executive Information Systems : EIS
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ข้อมูลและสารสนเทศ.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
SMS News Distribute Service
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
Supply Chain Management
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
ระบบสารสนเทศ (ต่อ) (Information Systems : IS)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems)

ทำไมจึงมีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในองค์กร? ระบบสารสนเทศ ทำไมจึงมีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในองค์กร? เพื่อเก็บบันทึกข้อมูลจากการปฎิบัติงานมาช่วยในการตัดสินใจ

ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศคืออะไร คือ ชุดขององค์ประกอบที่ทำหน้าที่รวบรวม  ประมวลผล จัดเก็บ และแจกจ่ายสารสนเทศ เพื่อช่วยการตัดสินใจ และการควบคุมในองค์กร  ในการทำงานของระบบสารสนเทศ ประกอบไปด้วยกิจกรรม 3 อย่าง คือ การนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ (Input)  การประมวลผล (Processing) การนำเสนอผลลัพธ์ (Output) 

ระบบสารสนเทศ ภาพแสดงองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ คือ ระบบที่รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทั้งภายใน และภายนอกองค์กร เพื่อนำมาประมวลผลและจัดรูปแบบให้ได้สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการทำงาน และการตัดสินใจในดานต่างๆ ของผู้บริหาร เพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ แหล่งข้อมูล แหล่งข้อมูลภายในองค์กร เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นในองค์กร สามารถนำมาสร้างสารสนเทศใช้ภายในองค์กรได้ แหล่งข้อมูลภายนอกองค์กร เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นนอกองค์กร นำมาสร้างสารสนเทศเพื่อให้ผู้บริหารใช้ในการวางแผนตัดสินใจ

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบจัดการสารสนเทศ ประกอบด้วยหน้าที่หลัก 2 ประการ จัดเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ จากทั้งภายในและภายนอกองค์กรมาไว้ด้วยกัน ทำการประมวลผลข้อมูล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการปฎิบัติงาน และการบริหารของผู้บริหาร ถ้าระบบใดประกอบด้วยหน้าที่หลักสองประการนี้ ก็สามารถจัดเป็นระบบจัดการสารสนเทศได้ โดยไม่จำเป็นต้องสร้างระบบคอมพิวเตอร์

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ปัจจุบันคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพในการจัดการกับข้อมูล นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst and Designer) จึงออกแบบระบบสารสนเทศให้มีคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หลักในการจัดการสารสนเทศ เพื่อช่วยเพิ่มขีดความสามารถของธุรกิจ และขีดความสามารถในการบริหารงานของผู้บริหาร

ส่วนประกอบของระบบระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

เครื่องมือในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เครื่องมือในการสร้างระบบสารสนเทศ แบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ ฐานข้อมูล (Database) เครื่องมือ (Tools)

เครื่องมือในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ฐานข้อมูล (Database) ฐานข้อมูล จัดเป็นหัวใจสำคัญของระบบ MIS เพราะว่าสารสนเทศที่มีคุณภาพจะมาจากข้อมูลที่ดี เชื่อถือได้ ทันสมัย และถูกจัดเก็บอย่างเป็นระบบ ซึ่งผู้ใช้สามารถเข้าถึงและใช้งานได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว ดังนั้นฐานข้อมูลจึงเป็นส่วนประกอบสำคัญที่ช่วยให้ระบบสารสนเทสมีความสมบูรณ์ และปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ

เครื่องมือในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ตัวอย่างโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล

เครื่องมือในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เครื่องมือ (Tools) เครื่องมือ เป็นเครื่องมือที่ใช้จัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ปกติระบบสารสนเทศจะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เป็น อุปกรณ์หลักในการจัดการข้อมูล ประกอบด้วย อุปกรณ์ (Hardware) ชุดคำสั่ง (Software)

เครื่องมือในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อุปกรณ์ (Hardware) อุปกรณ์ คือ ตัวเครื่องหรือส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอุปกรณ์ระบบเครือข่าย

เครื่องมือในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ชุดคำสั่ง (Software) ชุดคำสั่ง คือ ชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่รวบรวม และจัดการ เก็บข้อมูลเพื่อใช้ในการ บริหารงาน หรือการตัดสินใจ

วิธีการหรือขั้นตอนการประมวลผล การที่จะได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ จะต้องมีการจัดลำดับ วางแผนงานและวิธีการประมวลผลให้ถูกต้อง เพื่อให้ได้ข้อมูล หรือสารสนเทศที่ต้องการ

การแสดงผล ข้อมูลได้ผ่านการประมวลผล ตามวิธีการแล้วจะได้ สารสนเทศ หรือMIS เกิดขึ้น อาจจะนำเสนอในรูป ตาราง กราฟ รูปภาพ หรือเสียง เพื่อให้การนำเสนอข้อมูลมีประสิทธิภาพ จะขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูล และลักษณะของการนำไปใช้งาน

ข้อมูลและสารสนเทศ ข้อมูล (data) คือ ข้อเท็จจริงหรือสาระต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบัติ อาจเป็นตัวเลขหรือข้อความที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงาน หรือที่ได้จากหน่วยงานอื่น ข้อมูลเหล่านี้ยังไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจได้ทันที จะนำไปใช้ได้ก็ต่อเมื่อผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว

ข้อมูลและสารสนเทศ สารสนเทศ (information) คือ ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว อาจใช้วิธีง่ายๆ เช่น หาค่าเฉลี่ย หรือใช้เทคนิคขั้นสูง เช่น การวิจัยดำเนินงาน เป็นต้น เพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพข้อมูลทั่วไปให้อยู่ในรูปแบบที่มีความสัมพันธ์ หรือมีความเกี่ยวข้องกัน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจหรือตอบปัญหาต่างๆ ได้

คุณสมบัติของข้อมูล ข้อมูลจะต้องมีคุณสมบัติขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1. ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูล แล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะทำให้เกิด ผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้ไม่กล้าอ้างอิงหรือนำเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยำ และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคำนึงถึงกรรมวิธีการดำเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยำมากที่สุด

คุณสมบัติของข้อมูล

คุณสมบัติของข้อมูล 2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจำเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้   มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการ  

คุณสมบัติของข้อมูล 3. ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูล และวิธีการทางปฏิบัติ ในการดำเนินการจัดทำสารสนเทศต้องสำรวจและสอบถามความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ในระดับที่เหมาะสม

คุณสมบัติของข้อมูล 4. ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจำนวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมากจึงจำเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้รกัสหรือย่นย่อข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์

คุณสมบัติของข้อมูล 5. ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สำคัญ  ดังนั้น จึงต้องมีการสำรวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์กร ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ

การทำให้ข้อมูลเป็นสารสนเทศ การทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1 ) การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล   2 ) การดำเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ 3 ) การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน

การทำให้ข้อมูลเป็นสารสนเทศ 1. การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล การเก็บรวบรวม เป็นเรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งมีจำนวนมาก และต้องเก็บให้ได้อย่างทันเวลา เช่น ข้อมูลการลงทะเบียนของนักเรียน ข้อมูลประวัติบุคลากร เป็นต้น การตรวจสอบข้อมูล จำเป็นต้องมีการตรวจสอบข้อมูลเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบจะต้องมีความเชื่อถือได้ หากพบข้อผิดพลาดต้องแก้ไข

การทำให้ข้อมูลเป็นสารสนเทศ 2. การดำเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ การจัดแบ่งข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สำหรับการใช้งาน เช่น สมุดโทรศัพท์หน้าเหลืองที่มีการแบ่งตามหมวดหมู่สินค้าและบริการ การจัดเรียงข้อมูล ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลำดับตัวเลข หรือตัวอักษร เพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่าย เช่น รายชื่อบุคคลในสมุดโทรศัพท์ การคำนวณ ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลตัวเลขที่สามารถนำไปคำนวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได้ เช่น จำนวนนักศึกษาทั้งหมดที่เรียนวิชาระบบสารสนเทศบูรณาการ

การทำให้ข้อมูลเป็นสารสนเทศ 3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน การเก็บข้อมูล หมายถึงการนำข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกต่างๆ เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทำสำเนาข้อมูล  เพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคตได้ การค้นหาข้อมูล การค้นหาข้อมูลจะต้องค้นได้ถูกต้องแม่นยำ การทำสำเนาข้อมูล เพื่อที่จะนำข้อมูลเก็บรักษาไว้  หรือนำไปแจกจ่ายในภายหลัง การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย  

หน่วยงานแยกตามหน้าที่ องค์กรธุรกิจส่วนใหญ่จะประกอบไปด้วยหน่วยงานต่าง ๆ ดังนี้ ฝ่ายบัญชี ทำหน้าที่ เก็บรวบรวมเอกสารทางการเงินต่างๆ ของบริษัท และบันทึกกิจกรรมต่างๆ ฝ่ายการตลาด ทำหน้าที่ วางแผนการตลาด กำหนดราคา โฆษณาประชา-สัมพันธ์ ขายและกระจายสินค้า และให้บริการลูกค้า ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ทำหน้าที่ จัดหาและคัดเลือกพนักงาน จัดฝึกอบรม จัดการด้านสวัสดิการต่าง ๆ

หน่วยงานแยกตามหน้าที่ (ต่อ) ฝ่ายผลิต ทำหน้าที่ ผลิตสินค้า ควบคุมคุณภาพของสินค้า จัดการวัตถุดิบต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิต ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ทำหน้าที่ วิเคราะห์ ศึกษา วิจัย และนำความรู้ที่ได้มาทำการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการใหม่ ๆ

ระดับการบริหารจัดการ การบริหารจัดการในองค์กรแบ่งเป็น 3 ระดับ หัวหน้างาน (supervisor) ทำหน้าที่ในการจัดการและติดตามการทำงานของพนักงานระดับปฎิบัติการ หรือลูกจ้างที่ผลิตสินค้าหรือให้บริการ หัวหน้างานจะต้องรับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการปฎิบัติงาน ติดตามเหตุการณ์ประจำวันและทำการแก้ไขให้ถูกต้องทันทีถ้าจำเป็น

ระดับการบริหารจัดการ ผู้บริหารระดับกลาง (middle-level manager) ทำหน้าที่ควบคุมและวางแผนงาน ที่เรียกว่า แผนยุทธวิธี (tactical planning) ทำการตัดสินใจเพื่อให้ การดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมายของแผนงาน

ระดับการบริหารจัดการ ผู้บริหารระดับสูง (top-level1 manager) ทำหน้าที่วางแผนระยะยาว ที่เรียกว่า แผนกลยุทธ์ (strategic planning) เป็นผู้ต้องการสารสนเทศมาช่วยวางแผนการเจริญเติบโตของบริษัท และกำหนดทิศทางขององค์กร

ระดับการบริหารจัดการ ผู้บริหารระดับสูง รับผิดชอบวางแผน ระยะยาว ผู้บริหารระดับกลาง รับผิดชอบ วางแผนยุทธวิธี หัวหน้างาน รับผิดชอบดูแลการ ปฎิบัติงาน

ผู้จัดการระดับปฏิบัติการ ความสัมพันธ์ของระบบสารสนเทศกับระดับผู้บริหาร ลักษณะของระบบ ระดับของผู้ใช้ ผู้จัดการระดับปฏิบัติการ ผู้จัดการระดับกลาง ผู้จัดการระดับสูง ที่มาของสารสนเทศ วัตถุประสงค์ของการใช้สารสนเทศ ความถี่ของการใช้สารสนเทศ ขอบเขตของสารสนเทศ ความละเอียดของสารสนเทศ การรายงานเหตุการณ์ ความถูกต้องของสารสนเทศ - ภายใน - ปฏิบัติงาน - สูง - แคบแต่ชัดเจน - มาก - ที่เกิดขึ้นแล้ว - ควบคุมผลปฏิบัติงาน - ปานกลาง - ค่อนข้างกว้าง - สรุปกว้างๆ - เกิดแล้ว/กำลังจะเกิด - ภายในและภายนอก - วางแผน - ไม่แน่นอน - กว้าง - สรุปชัดเจน - อนาคต - ตามความเหมาะสม

ลักษณะสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบสารสนเทศพื่อการจัดการควรมีลักษณที่สำคัญ ดังนี้ สามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจของผู้บริหารทุกระดับ เป็นระบบงานที่ผสมผสานข้อมูลจากหลาย ๆ แหล่ง การพัฒนาระบบงาน จะเริ่มจากความต้องการและเห็นชอบของผู้บริหาร ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยงาน มีการจัดเก็บข้อมูลสร้างเป็นฐานข้อมูลเก็บไว้ การมีส่วนร่วมของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ

ส่วนประกอบของสารสนเทศภายในองค์กร ระบบสารสนเทศ (Information System) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS) ระบบสารสนเทศสำนักงาน(OIS) ระบบประมวลผลรายการ (TPS)

ส่วนประกอบของสารสนเทศภายในองค์กร องค์กรส่วนใหญ่ที่มีระบบสารสนเทศ (information system) ประกอบด้วย ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processiong System : TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูล (Transaction Processiong System : TPS) ระบบจะทำการบันทึกรายการประจำวัน เช่น ใบสั่งซื้อสินค้า ใบเสร็จรับเงิน จำนวนสินค้าคงคลัง และจำนวนผลผลิต ช่วยสร้างฐานข้อมูลที่เป็นพื้นฐานสำหรับระบบสรสนเทศอื่น ๆ

ส่วนประกอบของสารสนเทศภายในองค์กร ระบบประมวลผลรายการ

ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศในองค์กร ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System : MIS) ทำหน้าที่นำข้อมูลจากระบบประมวลผลรายการมาสรุปให้เป็นรายงานสำหรับผู้บริหารระดับกลาง รายงานส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของรายงานสรุป (summary report) เช่น รายงานสรุปยอดขายรายสัปดาห์ รายงานตารางการผลิต เป็นต้น คำว่า MIS บางครั้งจะใช้คำว่า IRS (Information Reporting Systems) หรือ MRS (Management Reporting Systems)

ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศในองค์กร ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศในองค์กร ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System : DSS) เป็นระบบที่การทำงานแบกึ่งโครงสร้าง มีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วเฉพาะตัว ซึ่งจะช่วยผู้บริหารระดับกลางและระดับอื่น ๆ ในองค์กรมีข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์ปัญหาอย่างกว้าง ๆ เช่น ผลกระทบจากเหตุการณ์ต่าง ๆ และแนวโน้มจากภายนอกองค์กร ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะใช้ข้อมูลจากTPS และ MIS

ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศในองค์กร ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศในองค์กร ระบบสนับสนุนผู้บริหาร (Executive Support System : ESS) เป็นระบบที่นำเสนอสารสนเทศในรูปแบบที่เป็นการสรุปขั้นสูง ช่วยให้ผู้บริหารระดับสูงสามารถมองเห็นภาพรวมของการดำเนินงานของบริษัท โดยระบบ ESS จะทำการสรุปข้อมูลของสารสนเทศทั้งหมด ซึ่งจะมีส่วนติดต่อกับผู้ใช้แบบกราฟฟิก

ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศในองค์กร ระบบสนับสนุนผู้บริหาร

ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศในองค์กร ระบบสารสนเทศสำนักงาน (Office information System : OIS) เป็นระบบจัดการสารสนเทศในสำนักงาน โดยใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในสำนักงาน เช่น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์ โทรสาร โปรแกรมประมวลผลคำ งานส่งข่าวสารข้อมูลและอื่น ๆ เป็นระบบเกี่ยวกับการผลิตเอกสาร การติดต่อประสานงาน โดยจะเกี่ยวข้องกับระบบ TPS และ MIS

ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศในองค์กร ระบบสารสนเทศสำนักงาน

ตาราง สรุประบบสารสนเทศ รายละเอียด ประมวลผลรายการ บันทึกรายการประจำวันลงฐานข้อมูล สารสนเทศเพื่อการจัดกร ผลิตรายงานต่าง ๆ ประกอบด้วย – รายงานที่ออกตามระยะเวลา – รายงานที่ออกเป็นกรณีพิเศษ – รายงานที่ตออกตามความต้องการ ใช้ข้อมูลจากระบบประมวลผลรายการ สนับสนุนการตัดสินใจ วิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ โดยใช้ข้อมูลจากทั้งภายใน และ ข้อมูลภายนอก และแบบจำลองการตัดสินใจ ประกอบด้วย แบบจำลองกลยุทธ์ แบบจำลองยุทธวิธี และแบบจำลองการ ปฎิบัติงาน สนับสนุนผู้บริหาร นำเสนอข้อสรุปของสารสนเทศ ง่ายต่อการใช้งาน นำเสนอ ในรูปแบบกราฟิก สำหรับผู้บริหารระดับสูง

คุณสมบัติของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 1. ความสามารถในการจัดการข้อมูล (Data Manipulation)  ระบบสารสนเทศที่ดี ต้องสามารถปรับปรุง แก้ไขและจัดการข้อมูล เพื่อให้เป็นสารสนเทศที่พร้อมสำหรับนำไปใช้งาน อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้มีความทันสมัยและ เหมาะสม กับการ ใช้งานอยู่เสมอ 2. ความปลอดภัยของข้อมูล (Data Security) สารสนเทศเป็นทรัพยากรที่สำคัญที่สุดปัจจัยหนึ่งขององค์การ ถ้าสารสนเทศ บาง ประเภทรั่วไหลออกไปสู่ บุคคลภายนอก โดยเฉพาะคู่แข่งขัน อาจทำให้เกิดการเสียโอกาสทาง การแข่งขัน หรือสร้างความเสียหายแก่ธุรกิจ ดังนั้นผู้บริหาร หรือเจ้าของระบบจะไม่ยอมให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องหรือ ไม่มีหน้าที่โดยตรงเกี่ยวกับการ จัดการข้อมูลเข้า ถึงฐาน ข้อมูลที่สำคัญของธุรกิจได้

คุณสมบัติของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 3. ความยืดหยุ่น (Flexibility) สภาพแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจหรือมีเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ระบบ สารสนเทศที่ดีต้องมีความสามารถในการปรับตัว เพื่อให้สอด คล้อง กับการใช้งานหรือปัญหาที่เกิดขึ้น โดยมีอายุการใช้งาน การบำรุงรักษาและค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม 4. ความพอใจของผู้ใช้ (User Satisfaction) MIS ที่ดีควรต้องเป็นระบบที่เหมาะสม ามารถ ประมวล และจัดการข้อมูลตามต้องการ และสะดวกในการใช้งาน ตรงตามความต้องการ และความ สามารถของผู้ใช้ ตลอดจนสามารถพัฒนาศักยภาพให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้ใช้ ในอนาคต