การดูแลแบบเอื้ออาทร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ (Teaching Behavior in Mathematics)
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการติดตาม ดูแลพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนตามกระบวนการยุติธรรม เชิงสมานฉันท์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้วิจัย กนกวรรณ ตั้งจิตบำรุง หลักสูตร.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
Collaborative problem solving
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
มาตรฐานงาน ชุมชน ( มชช.) ประเภท “ ผู้นำ ชุมชน ”. ร. ต. วิฑูร พึ่งพงษ์ ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนตำบลแสง อรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
บทที่ 2 การศึกษาชีววิทยา
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การขับเคลื่อน ครอบครัวแกนนำคุณธรรม
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
การพัฒนาครูและปฐมนิเทศครูผู้ช่วย (บรรจุใหม่)
รายวิชา การบริหารการศึกษา
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
การพยาบาลนิติจิตเวช โดย อ. นิตยา ศรีจำนง.
เข้าใจตนเอง เข้าใจสาขา
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
KUSUMA TEPPHARAK (Ph.D.)
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
การบริหารจัดการอาสาสมัครสภากาชาดไทยแบบบูรณาการ
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การเสริมสร้างพลังอำนาจ ในผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระยะแพร่กระจาย
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
การพัฒนาศักยภาพและภาวะการเป็นผู้นำ โดย นางอุไร อิ่นอ้อย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
(Code of Ethics of Teaching Profession)
คู่มือการใช้เครื่องชี้วัดสำหรับ การประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน ทางคุณธรรมและจริยธรรม ส่วนมาตรฐานการบริหารงานบุคคล สำนักงาน ก.ถ. สป.
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
ให้นักศึกษาตอบคำถามในตารางที่2 ในใบกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดูแลแบบเอื้ออาทร

การดูแล (Caring) คือ อะไร การดูแล คือ...... “ การแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลต่อบุคคล ระหว่างบุคคลต่อสัตว์ และระหว่างบุคคลต่อสรรพสิ่งต่างๆ ตามบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบทางสังคม โดยมีความเมตตาเอื้ออาทร ความสนใจ ความเอาใจใส่ เป็นพื้นฐานเพื่อการดำรงอยู่ของชีวิตและสรรพสิ่ง”

ดูแลได้เองตามธรรมชาติ Morse และคณะ (1991) จำแนกตาม ontology (คุณวิทยา) หรือตามธรรมชาติความเป็นจริงของการดูแลไว้ 5 ประการ คือ การดูแลเป็นคุณลักษณะของความเป็นมนุษย์ ซึ่งติดตัวมา และมนุษย์ปฏิบัติการ ดูแลได้เองตามธรรมชาติ การดูแลเป็นมโนธรรม คุณธรรม จริยธรรม หากผู้ใดปฏิบัติถือได้ว่าเป็นผู้มีคุณธรรม ได้ปฏิบัติสิ่งที่มีคุณค่าและดีงาม การดูแลเป็นอารมณ์ ความรู้สึก ที่มีต่อตนเอง ต่อผู้ป่วย และหน้าที่การปฏิบัติการพยาบาล การดูแลเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งเกิดขึ้น ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ระหว่างบุคคล 2 คน ซึ่งหมายถึงผู้ให้และผู้รับการดูแล การดูแลเป็นการบำบัด ซึ่งรับรู้ได้ทั้งการสัมผัสทางกายและการสัมผัสในจิตใจที่เกิดจากการดูแลเอาใจใส่ที่ได้รับ

ทฤษฎีการดูแล แนวคิดเกี่ยวกับการดูแลของ Mayeroff (Mayeroff ‘s Philosophy, 1971) แนวคิดเกี่ยวกับการดูแลของ Roach (Roach’ five Cs of caring model, 1987) ทฤษฎีการดูแลมนุษย์แบบองค์รวมของ Howard (Holistic Dimension of Humanistic Caring Theory, 1975) ทฤษฎีการดูแลระหว่างบุคคลของ Watson (Watson’Theory of Transpersonal Human caring, 1979)

ทฤษฎีการดูแลระหว่างวัฒนธรรมของ Leininger (Leininger’sTranscultural Caring Theory, 1981) ทฤษฎีการดูแล Swanson (Swanson’Caring Theory, 1991) โมเดลการดูแลของ Sherwood (Sherwood Therapeutic Caring Model, 1997)

ทฤษฎีการดูแลแบบเอื้ออาทรของWatson Watson มีแนวคิดว่าการดูแลเป็นศาสตร์(Science)ซึ่งเป็นกระบวนการหรือปรากฏการณ์ที่มีอยู่แล้วในตัวมนุษย์ การดูแล นอกจากจะเป็นศาสตร์และศิลป์(Art)แล้ว ยังเป็นธรรมชาติของมนุษย์ Watson เชื่อว่าทุกสิ่งในโลกมีความสัมพันธ์เชื่อมต่อกัน(Connectedness) เป็นหนึ่งเดียวกัน (Unity) ดังนั้นจุดเด่นของทฤษฎีจึงเน้นอยู่ที่การดูแลระหว่างบุคคล(Transpersonal caring)

Watson เชื่อว่า Caring หรือการดูแล จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีปฏิสัมพันธ์หรือสัมพันธภาพระหว่างผู้ให้การดูแลกับผู้ได้รับการดูแล รวมถึงการรับรู้การถ่ายทอดพลังจากความสัมพันธ์ที่มีต่อกันเพื่อการบำบัดเยียวยาของผู้รับการดูแลเอง

มโนทัศน์หลัก 3 ประการ * สัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Transpersonal Caring Relationship) ** การดูแลที่เกิดขึ้น ณ ขณะใดขณะหนึ่ง (Caring moment) *** ปัจจัยการดูแล (Carative factors) 3 มโนทัศน์หลักนี้ทำให้ทฤษฎีของWatson มีความสำคัญในแนวลึกถึงระดับจิตวิญญาณ โดยเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยค้นหาความหมายของสิ่งต่างๆที่เป็นสาระสำคัญของชีวิต เพื่อจะได้รู้จักตนเอง เคารพตนเองและเยียวยาตนเอง พยาบาลหรือผู้ให้การดูแลเป็นผู้มีส่วนร่วมและสร้างเสริมพลังในกระบวนการเยียวยาจิตใจและจิตวิญญาณ(Mental-Spiritual Mechanism) ของผู้ป่วยให้คงไว้ซึ่งภาวะสมดุลของร่างกาย จิตใจและจิตวิญญาณ ทั้งนี้ต้องอาศัยปัจจัยการดูแล 10 ประการ

เป็นกระบวนการผ่องถ่ายจากใจถึงใจซึ่งกันและกัน Caring Moment องค์รวมของการมีสติ รู้ตัวของการดูแล เยียวยา ความรัก ประกอบกันชั่วขณะหนึ่งของการดูแล บุคคลที่ดูแลและดำรงอยู่เพื่อการดูแล จะเป็นสื่อกลางเชื่อมต่อการมีสติ รู้ตัว เกี่ยวกับการดูแล เยียวยา ความรัก ที่สื่อสารกับบุคคลในขณะของการดูแล เป็นกระบวนการผ่องถ่ายจากใจถึงใจซึ่งกันและกัน

ปัจจัยการดูแล 10 ประการ สร้างค่านิยมเห็นแก่ประโยชน์ของผู้อื่น และมีเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ (Humanistic Altruistic System of value) สร้างความศรัทธาและความหวัง(Faith-Hope) ไวต่อการรับรู้ต่อตนเองและผู้อื่น(Sensitivity of Self and Others) สร้างสัมพันธภาพการช่วยเหลือไว้วางใจ(Helping-Trusting Human Caring Relation) ยอมรับการแสดงออกถึงความรู้สึกทางบวกและทางลบ(Express Positive and Negative Feeling)

ใช้กระบวนการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ในกระบวนการดูแล (Creative Problem Solving Caring Process) มีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในกระบวนการเรียนการสอน (Transpersonal Teaching and Learning) ประคับประคอง สนับสนุน และแก้ไขสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ จิตสังคม และจิตวิญญาณ (Supportive, Protective, and / or Corrective Mental, Physical, Social and Spiritual Environment) ให้การช่วยเหลือเพื่อตอบสนองความต้องการของบุคคล (Human Need Assistance) การเสริมสร้างพลังทางจิตวิญญาณในการมีชีวิตอยู่ (Existential-Phenomenological-Spiritual Forces)

แนวทางการประเมินพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทร การดูแลเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งที่สามารถแสดงออกและวัดประเมินได้ โดยอาศัยการวัดการดูแลที่เกิดขึ้น ณ เวลาใดเวลาหนึ่งในขณะที่มีการให้การดูแลและได้รับการดูแล การประเมินพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรตามแนวทฤษฎีของ Watson มี 2 ลักษณะคือ การนำปัจจัยการดูแลทั้ง 10 ปัจจัย มาประเมิน หรือ ประยุกต์ใช้เพียงบางส่วน เช่น ......

เครื่องมือประเมินพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทร Caring Behavior Inventory (42 ข้อ) Caring Behavior Assessment (63 ข้อ) Nyberg Caring Attributes Scale (20 ข้อ) Caring Assessment Tools (100 ข้อ) Caring Efficacy Scale (30 ข้อ)