ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) และรูปแบบรายงานการเงิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
UTCC ERP SAP Solution Roadmap University of Thai Chamber of Commerce
Advertisements

การเรียกข้อมูลในระบบ SAP R/3 ผ่านเครื่อง GFMIS Terminal
รายงานในระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (GL – General Ledger)
โครงการฝึกอบรม ผ่าน Web Online สำนักงานคลังจังหวัดสงขลา
ระบบ GFMIS สงป. ก.คลัง MIS กรม บัญชีกลาง วางแผนงบประมาณ ก.พ.ร.
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศเพื่อการมีสุขภาพดีในยุค Generation Y
รายงานระบบบัญชีแยกประเภท(GL)
Pack Excel Pack Excel เป็นโปรแกรมสำหรับการ Encrypt แบบฟอร์ม Excel Loader ซึ่งผู้ใช้งานจะต้องทำการ Encrypt แบบฟอร์ม Excel ก่อนที่จะทำการนำส่งแบบฟอร์ม (Upload)
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
โครงการปรับปรุงระบบ Oracle Financial มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การตรวจสอบและการวิเคราะห์รายงานการเงิน สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การใช้งานและพัฒนาระบบ
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
กำหนดการเปิดใช้ ระบบทะเบียนและประมวลผล การศึกษา และระบบประเมินการศึกษา สถาบัน พระบรมราชชนก.
ประสบการณ์และเทคนิคทำวิจัยสถาบัน
ระบบสารสนเทศในหน่วยธุรกิจ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ
แนวทางปฏิบัติ การจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ 2549
สิ่งที่ร้านค้าควรทราบ
ขั้นตอนการชำระเงินสมทบ กองทุนประกันสังคม ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment)
การบันทึกบัญชี ในระบบ GFMIS
ผู้บริหารกรมชลประทานกับระบบEIS
Executive Presentation
สานพลังรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประชาชน
สำนักงานคลังจังหวัดแพงเพชร
การประชุมชี้แจงเรื่อง การจ่ายเงินผ่านระบบ KTB corporate online
การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3
โครงการแผนการจ่ายเงินการรับเงิน และนำเงินส่งคลังของ เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการบริหาร ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ – กองทัพเรือ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ e-Payment.
หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบงานคลัง กองการเงินและบัญชี
การฝึกอบรม MU – ERP ระบบงานบัญชีเจ้าหนี้ (AP: Accounts Payable) วันที่ 25 เมษายน 2011 – 3 พฤษภาคม 2011 โครงการจ้างที่ปรึกษา พัฒนาและติดตั้งระบบงาน ERP.
ขั้นตอนการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือน
Receivables AR (ระบบบัญชีลูกหนี้)
E-Payment ภาครัฐ หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน การรับเงิน และการนำเงินส่งคลังของส่วนราชการ ผ่านระบบ KTB Corporate Online เริ่มดำเนินการ 1 ตุลาคม.
การคลังและงบประมาณ นายธเนศ บริสุทธิ์.
ระบบการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ สุทธิรัตน์ รัตนโชติ 16 สิงหาคม 2559
1.
คู่มือการเบิกจ่ายเงิน
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การคำนวณต้นทุนผลผลิต วันที่ ก. พ
โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
การบริหาร เงินงบประมาณ และ เงินนอกงบประมาณ
ระบบควบคุมภายในด้านการเงินการคลัง
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการฝึกอบรมครู
Database ฐานข้อมูล.
กลไกการขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
มติ ครม. 15 ธค. 58 เห็นชอบแผนปฎิบัติงานโครงการ อบรมฯ ในกรอบวงเงิน 1,064,574,000 บาท -งบกลางฯ 948,150,000 บาท -ปรับแผนฯ ปี ,424,000.
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
วันที่พุธที่ 7 พฤศจิกายน 2561 เวลา – น.
การจัดหาของกรมพลาธิการทหารบก
คู่มือใช้งานระบบข้อมูลสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
รายงานในระบบ GFMIS และการวิเคราะห์ข้อมูลในรายงาน
เงินค่าใช้จ่ายในการดำเนินการสอบแข่งขันบุคคลเข้ารับราชการ
ระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดแบบและวิธีการรายงานผลการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้จ่ายงบประมาณ ปี 2558
อ.พิณรัตน์ นุชโพธิ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
บทที่ 2 การเริ่มต้นกิจการใหม่และการซื้อกิจการ
ณ ห้องประชุมกองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน สามเสน กรุงเทพมหานคร
กองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน
แนวทางการใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
บทที่ 10 รายงานการเงินสำหรับกิจการที่ไม่หวังผลกำไร
การจัดซื้อจัดจ้าง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ทางการบัญชี
การประเมินราคา (Cost estimation).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) และรูปแบบรายงานการเงิน ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) และรูปแบบรายงานการเงิน

Government Fiscal Management GFMIS Government Fiscal Management Information System เป็นเครื่องมือในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานการคลังภาครัฐ โดยสามารถให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจ เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรในภาครัฐ รวมทั้งการกำหนดนโยบายการคลัง และการปรับบทบาทของภาครัฐให้สอดคล้องกับทิศทางเศรษฐกิจของประเทศได้อย่างทันท่วงที

มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2546 1. เห็นชอบให้มีการออกแบบระบบการคลังในระบบอิเล็กทรอนิกส์ และแผนปฏิบัติการ ปี 2546 - 2548 โดยมีการจัดสร้าง National System 2. แต่งตั้งคณะกรรมการกำกับและบริหารโครงการ นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน รองนายกฯ เป็นรองประธาน รมต./ปลัดกระทรวง ที่เกี่ยวข้อง และที่ปรึกษานายกฯเป็นกรรมการ เลขาธิการนายกฯ เป็นเลขานุการ 3. ตั้งสำนักงานบริหารโครงการ GFMIS เลขาธิการนายกฯ เป็นผู้อำนวยการสำนักงานฯ นายนิพัทธ พุกกะณะสุต เป็นรองผู้อำนวยการสำนักงานฯ                                        

ภาพรวมโครงการ GFMIS จัดจ้าง ออกแบบ จัดสร้าง มอบหมายให้ ติดตั้ง ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ลงทุน โดยจัดจ้างบริษัทผู้เชี่ยวชาญเพื่อออกแบบและจัดสร้างระบบ บริษัท T.N. ออกแบบ จัดสร้างระบบ ติดตั้งใช้งาน และดำเนินการสนับสนุน จัดจ้าง ออกแบบ จัดสร้าง ติดตั้ง มอบหมายให้ มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 22 กรกฎาคม 2546 เห็นชอบให้ออกแบบและพัฒนาระบบการเงินการคลังในระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็น National System เพื่อใช้งานในปี 2546-2548 ร่วมออกแบบระบบ ฝึกอบรม ระบบ GFMIS เริ่มใช้งาน 1 ตุลาคม 2547 ส่วนราชการและหน่วยงานภาครัฐอื่น (ในฐานะผู้ใช้ระบบ) เข้ารับการฝึกอบรมการใช้ระบบ ใช้งาน กรมบัญชีกลาง (ในฐานะหน่วยงานกลาง) ดำเนินการตามนโยบาย ฝึกอบรม

แนวคิดการทำงานของระบบ GFMIS 1. เป็นระบบใหญ่ที่ประกอบด้วยระบบงานย่อยหลายส่วน เชื่อมต่อกันในฐานข้อมูลเดียวกัน 2. บันทึกรายการแบบ Online สามารถตรวจสอบติดตาม สถานะของข้อมูลได้ตลอดเวลา

เป้าหมายสำคัญโครงการ GFMIS 1. จัดทำระบบงบประมาณและเงินนอกงบประมาณแบบครบวงจร 2. จัดทำระบบจัดซื้อจัดจ้าง 3. จัดทำระบบการรับ – จ่ายเงิน และระบบการบริหารเงินคงคลัง 4. จัดทำระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง 5. จัดทำระบบบริหารข้อมูลบุคคลากร 6. จัดทำระบบฐานข้อมูลหลักเพื่อกำกับติดตามและประเมินผล ครบวงจรทั้งในทางบัญชี และงบประมาณ 7. ติดตั้งระบบและเครือข่ายในรูปแบบศูนย์คอมพิวเตอร์

โครงสร้างระบบงาน GFMIS แบบรวมศูนย์ (Centralized) (หน่วยที่ไม่มี Terminal) 1 Up load กองคลัง และ คลังจังหวัด 2 คลังจังหวัด (กรมบัญชีกลาง) 3 (สำนักงบประมาณ) 1 BIS (ส่วนราชการ) (กรมบัญชีกลาง) ศูนย์คอมพิวเตอร์และศูนย์สำรอง 3 ระบบงาน GFMIS AFMIS 3 e-Payment (ธนาคารกรุงไทย) (สำนักงาน ก.พ.) Payment System 3 DPIS 3 ระบบสนับสนุนการตรวจสอบบัญชี (สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน) 1 เครื่อง Terminal GFMIS Excel Loader Interface ข้อมูล 1 2 3

กระบวนงานในระบบ GFMIS RPระบบรับและนำส่งเงิน GL ระบบบัญชีแยกประเภท (ระบบสารสนเทศ) MIS - BW SEM Operating System SAP R/3 (GFMIS) (3) (2) FI ระบบการเงินและบัญชี ประกอบด้วย RPระบบรับและนำส่งเงิน APระบบเบิกจ่าย CM ระบบบริหารเงินสด FAระบบสินทรัพย์ถาวร GL ระบบบัญชีแยกประเภท PO ระบบจัดซื้อจัดจ้าง (1) (4) CO ระบบต้นทุน FM ระบบงบประมาณ (5) HR ระบบทรัพยากรบุคคล e-Procurement BIS DPIS e-Payroll , e-Pension AFMIS e-Auction) (e-catalog,e-shopping list

การใช้งานในระบบ GFMIS มี 3 วิธี 1. เครื่อง Terminal GFMIS 2. ใช้ Excel Form จากระบบ Excel Loader 3. Interface ข้อมูล

การรักษาความปลอดภัยของระบบ Terminal user SAP Server การ logon เข้าระบบผ่าน Terminal โดยใช้ Smartcard ซึ่งบันทึกรหัสลับ ที่ระบุถึงอำนาจที่ได้รับในการเข้าใช้ระบบของ user ร่วมกับ password ข้อมูลต่างๆที่ส่งไปมาระหว่าง user กับระบบจะมีการเข้ารหัส เพื่อป้องกันผู้ไม่มีสิทธิใช้งาน

การรักษาความปลอดภัยของระบบ Excel Loader Upload หน่วยงาน SAP Server (กรมบัญชีกลาง) การบันทึกรายการโดยใช้ Pack Excel และ encrypt file โดยผู้มีอำนาจ เพื่อป้องกันการแก้ไขข้อมูล การ upload file ที่บันทึกไว้เข้าระบบผ่าน Terminal ที่กรมบัญชีกลาง

ขั้นตอนการทำงานโดยรวมของ Excel Loader 1. การขอรับแบบฟอร์ม EXCEL LOADER 4. การเรียกดูรายงานการนำเข้าข้อมูล

ระบบบัญชีแยกประเภท GL : General Ledger ระบบจะบันทึกรายการบัญชี ต้นทุน และตรวจสอบงบประมาณให้ทันทีที่บันทึกรายการ ทำการ Interface สำหรับ กรม ที่มีระบบเอง ระบบ GFMIS ระบบบัญชี แยกประเภท บันทึกรายการ อัตโนมัติ ระบบบัญชี ต้นทุน ปรับปรุง รายการบัญชี ระบบควบคุม งบประมาณ งบการเงินระดับจังหวัด งบการเงินระดับกรม ระบบ MIS รวบรวมข้อมูลจัดทำงบการเงินรวมระดับประเทศ

การบันทึกเกณฑ์การปันส่วน ระบบบัญชีต้นทุน CO : Controlling การบันทึกข้อมูลหลัก การบันทึกเกณฑ์การปันส่วน Cost Center Cost Center Cost Allocation การปันส่วน CO Controlling การปิดสิ้นงวด FI Financial Accounting การปิดสิ้นงวด การรายงาน

ลักษณะการนำเสนอข้อมูลเพื่อผู้บริหาร Web reporting Management Cockpit Web reporting Web reporting Web reporting KPI Structure of detail MIS R/3 Operational System Detail of transaction

รายงานการเงิน (Financial Report)

องค์ประกอบของรายงานการเงิน งบแสดงฐานะการเงิน งบรายได้และค่าใช้จ่าย งบกระแสเงินสด หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ประโยชน์ของรายงานการเงิน แสดงความรับผิดชอบในการบริหารการเงินของหน่วยงาน ตระหนักถึงสินทรัพย์และหนี้สินทั้งหมดในความรับผิดชอบ สนับสนุนการดำเนินงานที่มุ่งเน้นผลผลิต ช่วยในการตัดสินใจใช้ทรัพยากรของผู้บริหาร

งบแสดงฐานะการเงิน 25x2 25x1 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน หน่วย : บาท 25x2 25x1 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด xx ลูกหนี้ระยะสั้น สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ลูกหนี้ระยะยาว ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) หน่วย : บาท 25x2 25x1 หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ระยะสั้น xx หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้ระยะยาว รายได้รอการรับรู้ หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน สินทรัพย์สุทธิ

งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) หน่วย : บาท 25x2 25x1 สินทรัพย์สุทธิ ทุน xx รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม รวมสินทรัพย์สุทธิ

งบรายได้และค่าใช้จ่าย หน่วย : บาท 25x2 25x1 รายได้จากการดำเนินงาน รายได้จากรัฐบาล งบประมาณประจำ xx งบประมาณลงทุน รวมรายได้จากรัฐบาล รายได้จากแหล่งอื่น รายได้จากการขายสินค้าและบริการ รายได้จากเงินช่วยเหลือและเงินบริจาค รวมรายได้จากแหล่งอื่น รวมรายได้จากการดำเนินงาน

งบรายได้และค่าใช้จ่าย (ต่อ) หน่วย : บาท 25x2 25x1 ค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายบุคลากร xx ค่าบำเหน็จบำนาญ รวมค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน รายได้ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกิดจากการดำเนินงาน กำไร/ขาดทุนสุทธิจากการจำหน่ายสินทรัพย์ รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงานตามปกติ รายการพิเศษ รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ

งบกระแสเงินสด กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน เงินสดรับ xx เงินสดจ่าย กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดต้นงวด เงินสดปลายงวด หน่วย : บาท

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ ผลผลิตของหน่วยงาน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้ เงินให้กู้ รายได้ค้างรับ สินค้าและวัสดุคงเหลือ เงินลงทุน

หมายเหตุประกอบรายงานการเงิน (ต่อ) ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (สุทธิ) สินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐาน (สุทธิ) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน (สุทธิ) เจ้าหนี้ ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย รายได้รับล่วงหน้า รายได้แผ่นดินรอนำส่งคลัง เงินกู้ ทุน

หมายเหตุประกอบรายงานการเงิน (ต่อ) รายได้จากเงินงบประมาณ รายได้จากเงินช่วยเหลือ ค่าใช้จ่ายบุคลากร ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย

หมายเหตุประกอบรายงานการเงิน (ต่อ) ค่าใช้จ่ายผลผลิต รายการพิเศษ ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น รายงานการบริหารงบประมาณ

ต้นทุนผลผลิตและต้นทุนกิจกรรม ( ล้านบาท ) กิจกรรม ต้นทุนรวม ผลผลิต xx . xx กิจกรรมที่ 1 1 xx . xx กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 3 xx . xx 2 กิจกรรมที่ 4 xx . xx กิจกรรมที่ 5 xx . xx 3 xx . xx กิจกรรมที่ 6 4 กิจกรรมที่ 7 xx . xx

กรมบัญชีกลาง