งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบงานคลัง กองการเงินและบัญชี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบงานคลัง กองการเงินและบัญชี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบงานคลัง กองการเงินและบัญชี
การบริหารความเสี่ยง นางสุดใจ บุญเสริม หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบงานคลัง กองการเงินและบัญชี

2 กระบวนงานในระบบ GFMIS
(ระบบสารสนเทศ) MIS - BW SEM Operating System SAP R/3 (GFMIS) FI ระบบการเงินและบัญชี ประกอบด้วย RP ระบบรับและนำส่งเงิน AP ระบบเบิกจ่าย FA ระบบสินทรัพย์ถาวร GL ระบบบัญชีแยกประเภท PO ระบบจัดซื้อจัดจ้าง FM ระบบงบประมาณ CO ระบบต้นทุน HR ระบบทรัพยากรบุคคล e-Procurement ของกรมบัญชีกลาง (e-catalog,e-shopping list e-Auction) DPIS ของ สกพ. BIS ของ สงป. e-Payroll , e-Pension ของกรมบัญชีกลาง AFMIS ของส่วนราชการ

3 เฉพาะตัวชี้วัดที่เป็นต้นทุน ตัวชี้วัดที่เป็นคุณภาพ
EvMIS GFMIS ติดตามการใช้จ่าย งบประมาณและผลผลิต เฉพาะตัวชี้วัดที่เป็นต้นทุน ตัวชี้วัดที่เป็นคุณภาพ เวลา และปริมาณ BIS การวางแผนและ จัดทำงบประมาณ ยุทธศาสตร์กระทรวง และหน่วยงาน : Function ยุทธศาสตร์ที่ได้รับ มอบหมาย : Agenda ยุทธศาสตร์พื้นที่ (กลุ่มจังหวัด จังหวัด ภารกิจต่างประเทศ) : Area ภาพรวม ระบบงบประมาณ 3.ระบบการติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ และผลผลิต 1. ระบบการวางแผน และจัดทำงบประมาณ การติดตามงบประมาณ การวางแผนและ จัดทำงบประมาณ ระบบข้อมูลการบริหาร ด้านการเงิน การคลัง การงบประมาณ ภาครัฐ (GFMIS) กระบวนการบริหารงบประมาณ 2. ระบบการบริหาร งบประมาณ เบิกจ่าย แบบอิเล็กทรอนิกส์ และบันทึกบัญชีแบบเกณฑ์คงค้าง GFMIS การบริหารงบประมาณ การทำแผนปฏิบัติงาน/ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ การจัดสรรงบประมาณ การโอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณ การตรวจสอบงบประมาณในระบบ โดยอัตโนมัติ เมื่อบันทึกรายการเบิกจ่าย การบันทึกบัญชีแบบเกณฑ์คงค้าง

4 ภาพรวม ระบบจัดซื้อจัดจ้าง
GFMIS 3. ระบบ บันทึกการจัดซื้อจัดจ้าง บันทึกการสั่งซื้อสั่งจ้าง บันทึกรับรายการสั่งซื้อสั่งจ้าง บันทึกรายการตั้งเบิกเพื่อขอให้จ่ายเงิน BW - GFMIS ประมวลผลเพื่อนำเสนอข้อมูลสำหรับผู้บริหาร 4. ระบบ บริหารข้อมูลเพื่อการบริหาร(Business Information Warehouse) ภาพรวม ระบบจัดซื้อจัดจ้าง GFMIS การวางแผนการจัดซื้อจัดจ้าง ตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร ของแต่ละกรม 1. ระบบการบริหารงบประมาณ G-Procurement 2. ระบบ G-Procurement ประกาศรายละเอียดการจัดซื้อจัดจ้าง ผู้ขายลงทะเบียนและเสนอราคา ประเมินเปรียบเทียบราคาที่ผู้ขายเสนอกับราคากลาง

5 ภาพรวมระบบเบิก-จ่ายเงิน GFMIS
2. ระบบการบริหาร งบประมาณและเบิกจ่าย แบบอิเล็กทรอนิกส์ 5.ระบบข้อมูลการบริหาร ด้านการเงิน การคลัง การงบประมาณ ภาครัฐ (GFMIS) 3. ระบบการบัญชี การเงิน ภาครัฐ แบบเกณฑ์คงค้าง 1. ระบบการวางแผน และจัดทำงบประมาณ 4. ระบบการติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ และผลผลิต กระบวนการบริหารงบประมาณ การติดตามงบประมาณ การวางแผนและ จัดทำงบประมาณ BIS การวางแผนและจัดทำงบประมาณ GFMIS การบริหารงบประมาณ แผนปฏิบัติงาน/แผนการใช้จ่ายงบประมาณ จัดสรรงบประมาณ โอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณ พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจำปี ระบบ งบประมาณ GFMIS ระบบ จัดซื้อ-จัดจ้าง บันทึกรายการจัดซื้อ-จัดจ้าง บันทึกรายการตรวจรับงาน เชื่อมโยงกับ G-Procurement GFMIS การบันทึกบัญชีตาม เกณฑ์คงค้าง บัญชีต้นทุน งบการเงินส่วนราชการ งบการเงินแผ่นดิน ระบบ บัญชีการเงิน GFMIS ระบบ เบิก-จ่ายเงิน รองรับการเบิกจ่ายเงินในงบประมาณ/เงินนอกงบประมาณ การตั้งเบิก : บันทึกรายการตั้งเบิกเพื่อขอให้กรมบัญชีกลางจ่ายเงินและ เพื่อให้ระบบลงบัญชีเพื่อรับรู้ค่าใช้จ่าย/เจ้าหนี้ตามเกณฑ์คงค้าง การจ่าย : กรมบัญชีกลางจ่ายตรงให้คู่สัญญา/เจ้าหนี้ของส่วนราชการ กรมบัญชีกลางจ่ายให้ส่วนราชการแล้วส่วนราชการจ่ายต่อผู้รับเงิน ส่วนราชการจ่ายเอง (เงินนอกงบประมาณที่ไม่ฝากคลัง) การตั้งเบิกอ้างอิงใบสั่งซื้อในระบบจัดซื้อ-จัดจ้างและไม่อ้างอิงใบสั่งซื้อ ปรับปรุงยอดงบประมาณตามสถานะการเบิกจ่ายและลงบัญชีอัตโนมัติ

6 ภาพรวมระบบรับและนำส่งเงิน
บัญชีเงินคงคลัง โอนอัตโนมัติ ระบบ งบประมาณ ระบบ เบิกจ่ายเงิน กรมบัญชีกลาง นำเข้ารายการในใบแจ้งยอดธนาคาร ธนาคารกรุงไทย บันทึก/ส่งไฟล์การจัดเก็บรายได้ ส่วนราชการ ระบบ การรับรายได้ นำส่งรายได้ ระบบ จัดซื้อจัดจ้าง ระบบบริหาร เงินสด ระบบ พิมพ์ใบเสร็จ (ถ้ามี) และการนำส่ง (ถ้ามี) ประชาชน/บริษัท ระบบบัญชี แยกประเภท รายงานแผนการรับจ่ายเงิน ส่วนราชการ

7 ภาพรวมระบบสินทรัพย์ในระบบ GFMIS
รายงานสินทรัพย์ ประเภทต่างๆ หมวดสินทรัพย์ ข้อมูลหลักสินทรัพย์ ข้อมูลหลักสินทรัพย์ ข้อมูลหลักสินทรัพย์ การได้มาของสินทรัพย์ -บันทึกผ่านใบจัดซื้อ/จัดจ้าง -บันทึกรับสินทรัพย์ระหว่างทำ Asset Transactions

8 ภาพรวมระบบสินทรัพย์ถาวร (Fixed Asset)
การได้มาของสินทรัพย์ (Asset Acquisition) การกำหนดรหัสสินทรัพย์ (Asset Master) 1 2 การตัดจำหน่าย (Asset Retirement) ประมวลสิ้นงวด/สิ้นปีบัญชี/อื่นๆ (Periodic Processing) 3 คำนวณค่าเสื่อมราคา (เส้นตรง) ตรวจนับสินทรัพย์ บันทึกโอนค่าใช้จ่ายโครงการเป็นสินทรัพย์ระหว่างทำ ยืมคืนสินทรัพย์ โอนสินทรัพย์ระหว่างกอง ปรับมูลค่าสินทรัพย์ ประมวลสิ้นปี 4 รายงาน การวางแผนและ จัดทำงบประมาณ การใช้จ่ายและติดตาม การใช้จ่ายงบประมาณ การอนุมัติ งบประมาณ

9 ภาพรวมของระบบบัญชีแยกประเภท
ระบบจะบันทึกรายการบัญชีต้นทุน และตรวจสอบงบประมาณให้ทันทีที่บันทึกรายการ ทำการ Interface สำหรับ กรม ที่มีระบบเอง ระบบ GFMIS ระบบบัญชี แยกประเภท บันทึกรายการ อัตโนมัติ ระบบบัญชี ต้นทุน ปรับปรุง รายการบัญชี ระบบควบคุม งบประมาณ งบการเงินระดับจังหวัด งบการเงินระดับกรม ระบบ MIS รวบรวมข้อมูลจัดทำงบการเงินรวมระดับประเทศ

10 ระบบบัญชีแยกประเภท General Ledger : GL
FM PO FA AP GL RP งบทดลอง ประมวลผลสิ้นวัน ประมวลผลสิ้นเดือน งบทดลอง งบกำไรขาดทุน งบดุล ประมวลผลสิ้นปี งบทดลอง งบกำไรขาดทุน งบดุล

11 การบันทึกเกณฑ์การปันส่วน
ระบบบัญชีต้นทุน Controlling : CO FI Financial Accounting การปิดสิ้นงวด CO Controlling การบันทึกเกณฑ์การปันส่วน Cost Center Cost Allocation การปันส่วน การรายงาน การบันทึกข้อมูลหลัก

12 บัญชีถือจ่ายข้าราชการ
ภาพรวมระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (HR) GFMIS SAP BW MIS HR ฐานข้อมูลบนระบบ บัญชีถือจ่ายข้าราชการ ฐานข้อมูลบนระบบ Web appl. กรมบัญชีกลาง หน่วยงานระดับกรม 147 แห่ง หน่วยงานระดับกรม 147 แห่ง

13 ความเสี่ยง (RISK) หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่มีความแน่นอนที่อาจเกิดขึ้นและมีผลทำให้องค์เสียหาย หรือไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่กำหนด 13

14 ความเสี่ยง (RISK) ปัจจัยเสี่ยง สภาพแวดล้อม กิจกรรมควบคุม
สภาวการณ์หรือปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลให้เกิดระบบการควบคุมขึ้นภายในหน่วยงาน สภาพแวดล้อม สิ่งที่ก่อหรือสนับสนุนให้เกิดความเสี่ยง หรือเป็นสิ่งที่เกิดจากความไม่แน่นอน ซึ่งมีสาเหตุจากสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร กิจกรรมควบคุม องค์ประกอบหนึ่งของระบบการควบคุมภายในที่หน่วยงานจัดให้มีขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงและทำให้เกิดความคุ้มค่า ตลอดจนให้ผ่ายบริหารเกิดความมั่นใจในประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในที่มีอยู่ ซึ่งกิจกรรมการควบคุมที่ดีจะต้องแฝงอยู่ในการทำงาตามปกติ 14

15 การประเมินความเสี่ยง
ความไม่แน่นอน การไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้อย่างแม่นยำถึงโอกาสเกิด ของเหตุการณ์ในอนาคตและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ความเสี่ยง เหตุการณ์ที่มีความไม่แน่นอน ซึ่งหากเกิดขึ้นจะมีผลกระทบ ในเชิงลบต่อวัตถุประสงค์หรือ เป้าหมายขององค์กร โอกาส เหตุการณ์ที่มีความไม่แน่นอน ซึ่งหากเกิดขึ้นจะมีผลกระทบ ในเชิงบวกต่อวัตถุประสงค์หรือ เป้าหมายขององค์กร 15

16 ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง
 วัตถุประสงค์ระดับหน่วยรับตรวจ (กรม)  วัตถุประสงค์ระดับกิจกรรม  การระบุปัจจัยเสี่ยง  การวิเคราะห์ความเสี่ยง  การกำหนดวิธีการควบคุมเพื่อป้องกันความเสี่ยง 16

17 ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง
มีเหตุการณ์ใดหรือกิจกรรมใดของกระบวนการปฏิบัติงาน ที่อาจเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย ที่ทำให้ไม่ บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนด ระบุปัจจัยเสี่ยง Event Identification โอกาส และความถี่ที่จะเกิดความเสี่ยงมีมากน้อยเพียงใด พิจารณาผลกระทบและจัดลำดับความเสี่ยงที่มีผล ต่อหน่วยงาน วิเคราะห์ความเสี่ยง Risk Analysis วิเคราะห์สาเหตุที่ทำให้เกิดความเสี่ยง และพิจารณาว่า จะจัดการกับความเสี่ยงนั้นอย่างไร โดยคำนึงถึงค่าใช้จ่าย และต้นทุนในการจัดการความเสี่ยงนั้น การจัดการความเสี่ยง Risk Response 17

18 ตัวอย่างตารางแสดงโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง
ความถี่โดยเฉลี่ย คะแนน สูงมาก สูง ปานกลาง น้อย น้อยมาก 1 เดือนต่อครั้งหรือมากกว่า 1-6 เดือนต่อครั้งแต่ไม่เกิน 5 ครั้ง 1 ปีต่อครั้ง ปีต่อครั้ง 5 ปีต่อครั้ง 5 4 3 2 1 18

19 ตัวอย่างแสดงตารางผลกระทบของความเสี่ยงต่อหน่วยรับตรวจ
มูลค่าความเสียหาย คะแนน สูงมาก สูง ปานกลาง น้อย น้อยมาก > 10 ล้านบาท > 2.5 แสนบาท - 10ล้านบาท > 50,000 บาท แสนบาท > 10,000 บาท - 50,000 บาท ไม่เกิน 10,000 บาท 5 4 3 2 1 19

20 กระบวนงานในระบบ GFMIS
PO FA GL RP AP Fund Management : งบประมาณ Purchasing Order : จัดซื้อจัดจ้าง Fixed Asset : สินทรัพย์ถาวร Account Payable : เบิกจ่าย Receipt Process : รับและนำเงินส่งคลังGeneral Ledger : บัญชีแยกประเภท

21 ประเภทของความเสี่ยง ความเสี่ยงเกี่ยวกับการควบคุมทั่วไป
1 ความเสี่ยงเกี่ยวกับการควบคุมทั่วไป 2 ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในแต่ละกระบวนงาน 2.2 กระบวนงานด้านระบบจัดซื้อจัดจ้าง(Purchasing Order) 2.3 กระบวนงานด้านระบบเบิกจ่ายเงิน(Account Payable) 2.4 กระบวนงานด้านระบบรับและนำส่งเงิน(Receive Process) 2.5 กระบวนงานด้านระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป(General Ledger) 2.6 กระบวนงานด้านระบบสินทรัพย์ถาวร(Fixed Asset) 2.1 กระบวนงานด้านงบประมาณ (Fund Management) 21

22 ความเสี่ยงเกี่ยวกับการควบคุมทั่วไป
การนำส่งข้อมูล การประมวลผล การติดตาม ความรู้ความเข้าใจ ความปลอดภัย ความถูกต้อง กิจกรรมควบคุม สภาพแวดล้อม ปัจจัยเสี่ยง

23 ความเสี่ยงเกี่ยวกับการควบคุมทั่วไป
ความปลอดภัย สภาพแวดล้อม กิจกรรมควบคุม ปัจจัยเสี่ยง ขาดผู้รับผิดชอบสิทธิที่ชัดเจน ทำให้ไม่สามารถติดตาม หรือบ่งชี้ได้ว่าผู้ใดเข้าไปดำเนินการในระบบ จัดทำคำสั่งแต่งตั้งหรือบันทึกมอบหมายงานให้มีผู้รับผิดชอบสิทธิในการปฏิบัติงาน มีผู้ที่ไม่พึงประสงค์เข้ามาใช้สิทธิและรหัสผ่านของหน่วยงาน กำหนดรหัสผ่าน (Password ID) ที่ยากต่อการคาดเดา เกิดการทุจริตในการนำส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบ กำหนดให้มีการเปลี่ยนผู้รับผิดชอบ

24 ความเสี่ยงเกี่ยวกับการควบคุมทั่วไป
ความถูกต้อง สภาพแวดล้อม กิจกรรมควบคุม ปัจจัยเสี่ยง กำหนดให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบสถานะของข้อมูลนำเข้าทุกครั้งที่นำข้อมูลเข้าระบบ เจ้าหน้าที่ไม่ทราบว่ารายการใดระบบบันทึกให้อัตโนมัติ และไม่ทราบว่า กรณีต้องการยกเลิกรายการไปแล้ว ระบบประมวลผลให้แล้หรือไม่ อย่างไร ทำให้ไม่มีความมั่นใจในการปฏิบัติงาน

25 ความเสี่ยงเกี่ยวกับการควบคุมทั่วไป
การนำส่ง สภาพแวดล้อม กิจกรรมควบคุม ปัจจัยเสี่ยง หน่วยงานในสังกัดปฏิบัติงานผ่าน Excel Loader บันทึกรายการเข้าระบบแล้วพบว่ามีข้อคลาดเคลื่อน -มิได้แจ้งให้หน่วยงานต้นสังกัดยกเลิกหรือปรับปรุงแก้ไขรายการ หรือแจ้งล่าช้า -แจ้งให้ยกเลิกรายการแล้วมิได้บันทึกรายการใหม่ที่ถูกต้องเข้าสู่ระบบ ทำให้ข้อมูลคลาดเคลื่อน หากระบบปิด (ปิด Period)ไปแล้วไม่สามารถแก้ไขรายการได้ กำหนดให้หน่วยงานในสังกัดทำแบบการขอให้หน่วยงานต้นสังกัดยกเลิก หรือปรับปรุงแก้ไขรายการ กำหนดให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบสถานะของข้อมูลทั้งก่อนและหลังยกเลิก หรือแก้ไขรายการ กรณีที่ระบบปิดบัญชีแล้วต้องประสานงานกับกรมบัญชีกลางเพื่อให้เปิดระบบ ก่อนการบันทึกข้อมูล

26 ความเสี่ยงเกี่ยวกับการควบคุมทั่วไป
การนำส่งข้อมูล สภาพแวดล้อม กิจกรรมควบคุม ปัจจัยเสี่ยง เจ้าหน้าที่ไม่เข้าใจ หรือไม่ระมัดระวัง หรือประมาทเลินเล่อ หรือทุจริตในการนำเข้ารายการดังนี้ - นำเข้ารายการซ้ำซ้อน - นำเข้ารายการไม่ถูกต้อง - นำเข้ารายการที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริง ทำให้ข้อมูลคลาดเคลื่อน และหรือขาดความน่าเชื่อถือ กำหนดให้มีการจัดทำทะเบียนคุมรายละเอียดของข้อมูลก่อนการนำเข้าสู่ระบบงาน กำหนดให้มีการแบ่งแยกหน้าที่เพื่อทำการสอบทานงานระหว่างกัน กำหนดให้มีการตรวจสอบข้อมูลที่บันทึกเรียบร้อยแล้วกับเอกสารหรือหลักฐานประกอบการบันทึกข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ

27 ความเสี่ยงเกี่ยวกับการควบคุมทั่วไป
การประมวลผล ปัจจัยเสี่ยง สภาพแวดล้อม กิจกรรมควบคุม ปฏิบัติงานผ่าน Excel Loader พบว่าข้อมูลที่ส่งเข้าระบบบันทึกผิดพลาด โดยไม่ทราบว่าแต่ละกรณีจะแก้ไขอย่างไร ข้อมูลในระบบคลาดเคลื่อน หากระบบปิด (ปิดPeriod)ไป แล้วไม่สามารถแก้ไขรายการได้ กรณีเกิดข้อผิดพลาดต้องการแก้ไขรายการต้องแจ้งหน่วยงานต้นสังกัดหรือกรมบัญชีกลาง แก้ไขรายการหรือยกเลิกรายการให้ กำหนดให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้ความสำคัญกับการสอบทานข้อมูลที่บันทึกกับเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง กำหนดวิธีการปรับปรุงแก้ไขเป็นลายลักษณ์อักษร

28 ความเสี่ยงเกี่ยวกับการควบคุมทั่วไป
การติดตาม ปัจจัยเสี่ยง สภาพแวดล้อม กิจกรรมควบคุม ผู้ปฏิบัติงานไม่เรียกรายงานในแต่ละช่วงการปฏิบัติงาน ทำให้ไม่สามารถสอบทานความครบถ้วน และถูกต้องของข้อมูลในระบบได้ ทำให้ไม่สามารถปรับปรุงแก้ไขข้อมูลได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด กำหนดให้มีการเรียกรายงานเพื่อใช้ประกอบการสอบทานข้อมูลกับเอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวข้อง -จากเครื่อง GFMIS Terminal -จากระบบ Internet ( -เจ้าหนี้ จากระบบ Internet (

29 ความเสี่ยงเกี่ยวกับการควบคุมทั่วไป
ความรู้ความเข้าใจ ปัจจัยเสี่ยง สภาพแวดล้อม กิจกรรมควบคุม ทำให้การปฏิบัติงานไม่ครบถ้วนปฏิบัติงานไม่ถูกต้อง ทำให้ข้อมูลบางส่วนขาดหายไป ทำให้ปรับปรุงแก้ไขข้อมูลไม่ครบถ้วนถูกต้อง กำหนดนโยบายในการเลือกสรรบุคลากรเพื่อปฏิบัติงานตามระบบ GFMIS เช่น ผู้ปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี ต้องผ่านการอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี หัวหน้าฝ่ายการเงินและบัญชีต้องผ่านการอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่บริหารการเงินและบัญชี เป็นต้น จัดทำแผนการอบรมเพื่อทำความเข้าใจให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ทั้งวิธีปฏิบัติงานในระบบ GFMIS และกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ผู้ปฏิบัติงานไม่เข้าใจวิธีการปฏิบัติงาน และความเชื่อมโยงของข้อมูลในแต่ละระบบงาน

30 ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในแต่ละกระบวนงาน
FM AP RP GL FA PO กิจกรรมควบคุม สภาพแวดล้อม ปัจจัยเสี่ยง 30

31 ความเสี่ยงด้านงบประมาณ
Block Diagram FM ปัจจัยเสี่ยง สภาพแวดล้อม กิจกรรมควบคุม ทำให้บันทึก / เรียก / อ่าน รายงานตามระบบงบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภพ ทำให้ไม่มั่นใจในการตั้งเบิกหรือการทำ PO ในระบบ GFMIS ศึกษา ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ พรบ. วิธีการงบประมาณ / รหัสงบประมาณที่ใช้ กำหนดให้มีการตรวจสอบการโอนจัดสรรงบประมาณจากรายงานที่เกี่ยวข้อง ไม่มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงสร้างรหัสที่ใช้งานในระบบ ไม่ทราบว่าบันทึกการจัดสรรเงินงบประมาณในระบบ GFMIS แล้วหรือไม่ 31

32 ความเสี่ยงด้านระบบจัดซื้อจัดจ้าง
Block Diagram PO ปัจจัยเสี่ยง สภาพแวดล้อม กิจกรรมควบคุม ได้รับเอกสารหลักฐานไม่ครบถ้วน หรือไม่ถูกต้องจากผู้ขาย ทำให้เกิดความล่าช้า กำหนดให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดำเนินการตรวจสอบเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องของผู้ขายให้มีความถูกต้องและครบถ้วนก่อนการสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย เช่น สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร เป็นต้น การสร้างข้อมูลหลักผู้ขายกระทำโดยผู้ไม่มีอำนาจ (ไม่มีสิทธิ) กรณีเกิดข้อผิดพลาด ทำให้มีการปฏิเสธความรับผิดชอบ กำหนดให้เจ้าหน้าที่ที่มีสิทธิเท่านั้นสามารถสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย โดยการทำเป็นคำสั่งหรือทำทะเบียนคุมการใช้สิทธิ 32

33 ความเสี่ยงด้านการเบิกจ่ายเงิน
Block Diagram AP ปัจจัยเสี่ยง สภาพแวดล้อม กิจกรรมควบคุม เอกสารหลักฐานไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง ทำให้เกิดความล่าช้า กำหนดให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ใบแจ้งหนี้ สัญญาการยืมเงิน ใบขอเบิกเงินประเภทต่างๆ ก่อน การบันทึกข้อมูลการขอเบิกเงินในระบบ GFMIS หน่วยงานไม่ทราบสถานะว่ากรมบัญชีกลางอนุมัติและประมวลผลจ่ายเงินแล้วหรือไม่ ทำให้เกิดความไม่มั่นใจในการทำงานขั้นถัดไป ทำให้ขอเบิกซ้ำ กำหนดให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าใจสถานะของข้อมูลในระบบ GFMIS 33

34 ความเสี่ยงด้านรับและนำส่งเงิน
Block Diagram RP ปัจจัยเสี่ยง สภาพแวดล้อม กิจกรรมควบคุม ทำให้เกิดความล่าช้า กำหนดให้เจ้าหน้าที่จัดทำสรุปข้อมูลสำคัญที่ใช้บันทึกข้อมูลในระบบ GFMIS ได้แก่ การอ้างอิงรหัสรายได้ รหัสแหล่งของเงิน รหัสบัญชีแยกประเภท ก่อนการบันทึกข้อมูลการรับเงินในระบบ GFMIS รายละเอียดในใบเสร็จรับเงินไม่เพียงพอต่อการบันทึกข้อมูลในระบบ GFMIS 34

35 ความเสี่ยงด้านบัญชีแยกประเภททั่วไป
Block Diagram GL ปัจจัยเสี่ยง สภาพแวดล้อม กิจกรรมควบคุม ก่อนการบันทึกลดยอดบัญชีเบิกเงินส่งคืนฯ ให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบบัญชีพักเงินนำส่งคลังว่า ระบบกระทบยอดผ่านแล้ว จึงบันทึกลดยอดบัญชีเบิกเกินส่งคืนฯ ในระบบ ไม่สามารถบันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบงานได้ เมื่อนำส่งเงินที่ธนาคารกรุงไทยแล้ว บันทึกลดยอดบัญชีเบิกเกินส่งคืนทันทีภายในวันเดียวกัน 35

36 ความเสี่ยงด้านสินทรัพย์ถาวร
Block Diagram FA ปัจจัยเสี่ยง สภาพแวดล้อม กิจกรรมควบคุม ไม่สามารถสร้างข้อมูลหลักสินทรัพย์ในระบบได้ กำหนดให้หน่วยงานในสังกัดจัดทำแบบแจ้งข้อมูลการบันทึกล้างบัญชีพักสินทรัพย์ กำหนดระยะเวลาให้หน่วยงานในสังกัด แจ้งแบบข้อมูลการบันทึกล้างบัญชีพักสินทรัพย์เป็นรายสัปดาห์หรือรายเดือนแล้วแต่ความเหมาะสม รายละเอียดประกอบการสร้างข้อมูลหลักสินทรัพย์ไม่ครบถ้วน ไม่ได้รับข้อมูลเพื่อสร้างข้อมูลหลักสินทรัพย์ 36

37 Q & A Thank You !


ดาวน์โหลด ppt หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบงานคลัง กองการเงินและบัญชี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google