Escaping Middle Income Trap by Science Technology & Innovation รายงานกลุ่มที่ 2 Escaping Middle Income Trap by Science Technology & Innovation June 2014
Middle Income Trap กับดักประเทศรายได้ปานกลาง ประเทศที่สามารถพัฒนาได้อย่างต่อเนื่องจนสามารถหลุดพ้นความยากจนได้ แต่เมื่อก้าวขึ้นมาเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลางแล้ว กลับไม่สามารถก้าวต่อไปเป็นประเทศพัฒนาแล้วที่มีรายได้สูง เกิดภาวะ “สุญญากาศของการพัฒนา” เพราะแนวทางการพัฒนาแบบเดิมที่เคยใช้ได้ผลใช้ไม่ได้อีกต่อไป Sarkozy: “President of the rich” for the socialist party Symbolic: for some ensures equity, for other unnecessary pressure on the richest The wealth tax -- officially called the solidarity tax -- is collected on top of income, capital gains, inheritance and social security taxes. It's part of the reason France consistently ranks at the top of Forbes magazine's annual Tax Misery Index -- a global listing of the most heavily taxed nations. “Woerth- Bettencourt gate” and the suppression of the tax shield = que Liliane Bettencourt, plus riche contribuable de France, a touché 100 millions d'euros de l'Etat en quatre ans au titre du bouclier fiscal, achève de rendre cette mesure difficile à porter au moment où le gouvernement met en place, sans le dire, une politique de rigueur. Suppressing the ISF means losing 4.4 billion euros 1.2 % of total revenues and 0.5 % of PO Efficiency? Equity? A political tax ? (2012 Presidential election)
Japan’s Exported Products 1962 -> 2011 เพิ่ม 320 เท่า Major Export Automotive Major Export Textile & Garment ที่มา: กระทรวงอุตสาหกรรม
France’s Exported Product 1962 -> 2011 เพิ่ม 147 เท่า Major Export Automotive Major Export Textile & Garment ที่มา: กระทรวงอุตสาหกรรม
Thailand ’s Exported Product 1962 -> 2011 เพิ่ม 854 เท่า Major Export Electrical & Electronics Automotive Major Export Rice & Rubber ที่มา: กระทรวงอุตสาหกรรม
Thailand ‘s GDP Projection GDP Per Capita high income GDP Per Capita $12,616 STI Business as usual 2020 2030 ที่มา: กระทรวงอุตสาหกรรม
GDP Contribution 2030 2012 ต้องเพิ่มอย่างน้อย 2.5 เท่า Agriculture ? Services ? Agriculture 12% Manufacturing ? Services 51% Manufacturing 37% 2012 2030 ที่มา: สศช.
Hunger & Dirty World
SWOT Analysis Strength Opportunity Strategic location เชื่อมต่อไปยัง CMLV, จีน, อินเดีย, ASEAN Biodiversity & Agro Bio-based Industry Hospitality, Service mind และ เอกลักษณ์ วัฒนธรรมไทย Parts of global supply chain of อุตสาหกรรมหลายๆ ประเภท เช่น ยานยนต์, hard disk drive, อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร ปัจจัยที่ดึงดูดแรงงานทุกระดับ ตลาดกว้างขึ้นและใหญ่ขึ้น globalization/ regionalization และการเข้าถึงทรัพยากร และบุคลากรในต่างประเทศ Asia on the rise เป็นศูนย์กลางสำคัญต่อเศรษฐกิจโลก แนวโน้มของสังคมสูงอายุสร้างโอกาสให้กับประเทศไทยในธุรกิจบริการ ผู้บริโภคมีความตระหนักและตื่นตัวในเรื่อง green products ตลาดสินค้าออนไลน์ และ E-commerce กว้างขึ้น Weakness Threat โครงสร้างพื้นฐานทางโลจิสติกส์ไม่พอเพียง ไม่ครอบคลุม ไม่เป็นระบบ ขาดเสถียรภาพทางการเมือง การพัฒนาและการใช้กฎหมายไม่คล่องตัว ไม่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีและผู้บริโภค ขาดความสอดคล้องและความต่อเนื่องของนโยบายในทุกระดับ (นโยบายการค้า อุตสาหกรรม และ วทน.) ขาดการวางแผน ขาดการพัฒนา และการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ ในเรื่องกำลังคนที่ตอบสนองต่อความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ปัญหาคอร์รัปชั่นในทุกระดับ การเข้าถึงแหล่งเงินทุนของผู้ประกอบการเทคโนโลยี Government Procurement + BOI policy ไม่ส่งเสริมการพัฒนาธุรกิจ วทน. ในประเทศ Non-Tariff Barriers (NTB) ใหม่ ที่บริษัทจำเป็นต้องปรับตัวให้ทัน เพื่อการแข่งขันในระดับสากล การค้าถูกครอบงำโดยต่างชาติ (การแผ่อิทธิพลทางการค้า และเศรษฐกิจ เช่นประเทศจีน ก่อให้เกิดการค้านอกระบบ) ภัยธรรมชาติมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น การแข่งขันที่เพิ่มขึ้นจากประเทศ CLMV และการย้ายฐานการผลิตของบริษัทข้ามชาติ นักลงทุนระหว่างประเทศสามารถเคลื่อนย้ายเงินทุนได้อย่างเสรีและรวดเร็ว
Thailand - Clean & Green Vision 2030: Thailand Grand Strategy Thailand - Clean & Green toward High Income Country in 2030
ยุทธศาสตร์ และวัตถุประสงค์ LEs SMEs BOP (Agriculture) ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของ SMEs ด้วย วทน. ส่งเสริมสนับสนุน LEs ลงทุนในธุรกิจที่มีมูลค่าเพิ่มสูง เน้น green and clean industries สร้างรายได้และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนระดับรากหญ้า (Bottom-of-the-Pyramid: BOP) ด้วย วทน.
โครงสร้างผู้ประกอบการ โครงสร้างผู้ประกอบการไทย จำนวนการจ้างงาน (คน) 2,251,547 (16%) จำนวนวิสาหกิจ 7,591 (0.3%) 2,739,142 (99.7%) 12,645 (61%) 8,039 (39%) GDP (Million Baht) 5,251,185 (46%) 4,728,420 (41%) R&D* (Million Baht) 20,684 11,375,349 14,034,690 2,746,733 โครงสร้างผู้ประกอบการ 11,783,143 (84%) 1,395,743 (13%) LES SMEs Micro BOP (Agriculture) ที่มา: สวทน. แหล่งข้อมูลจาก รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ปี 2556 *หมายเหตุ : R&D ข้อมูลจากการสำรวจค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาภาคเอกชน ปี 2554
SMEs ‘s Contribution to GDP NEW GROWTH MODEL GOALS IN 10-15 YEARS High Income 40% GDP Country SMEs ‘s Contribution to GDP Thailand 37.4 India 22 Malaysia 32.5 Indonesia Philippines 35.7 USA 49 Singapore 51 Korea 50 Japan 55.3 Italy 58.5 เพิ่มสัดส่วน SMEs ต่อ GDP ให้มากกว่าร้อยละ 40 ต่อ GDP - ปี 2554 อยู่ที่ร้อยละ 36.6 (3.86 ล้านล้านบาท) - ปี 2555 อยู่ที่ร้อยละ 37.0 (4.21 ล้านล้านบาท) ในปี 2555 วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมยังคงเป็นกลไกการเจริญเติบโต (Engine of Growth) ในระบบเศรษฐกิจของประเทศ เห็นได้จากอัตราการ ขยายตัวของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมยังคงสูงกว่าอัตราการขยายตัวของประเทศและวิสาหกิจใหญ่เป็นส่วนใหญ่ SMEs Middle Income 37.4% GDP ที่มา: สศช.
ยุทธศาสตร์ที่ 1: พัฒนา SMEs ด้วย วทน. กลยุทธ์ที่ 1 การจัดตั้งธุรกิจใหม่ด้าน วทน. (Technopreneur Creation) กลยุทธ์ที่ 2 การเพิ่มจำนวนธุรกิจที่เติบโตเร็วด้วยนวัตกรรม (Growth Oriented and Innovative Firms) กลยุทธ์ที่ 3 การเพิ่มผลิตภาพ (Productivity) กลยุทธ์ที่ 4 การเชื่อมโยงธุรกิจสู่ AEC และสากล (Inter- nationalization)
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ส่งเสริม LEs และดึงดูด MNCs ลงทุนใน Green and Clean Industries กลยุทธ์ที่ 1: สนับสนุนการจัดตั้ง RD centers ในประเทศไทย กลยุทธ์ที่ 2: สร้างบุคลากร วทน. กลยุทธ์ที่3: เพิ่มสิทธิประโยชน์ทางภาษีและการเงิน กลยุทธ์ที่ 4: พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน ขนส่งและ logistics Selective BOI industries โครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ กลุ่มอุตสาหกรรมพื้นฐาน กลุ่มอุตสาหกรรมการแพทย์และเครื่องมือวิทยาศาสตร์ พลังงานทดแทนและบริการด้านสิ่งแวดล้อม กลุ่มธุรกิจบริการสนับสนุนภาคอุตสาหกรรม กลุ่มเทคโนโลยีพื้นฐานขั้นสูง อุตสาหกรรมอาหารและแปรรูปสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม Hospitality & Wellness อุตสาหกรรมยานยนต์และอุปกรณ์ขนส่งอื่นๆ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า สนับสนุนการจัดตั้ง RD center ในประเทศไทย สร้างบุคลากรเพื่อรองรับ สิทธิประโยชน์ทางภาษี พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน ขนส่งและ logistic ที่มา: BOI
ยุทธศาสตร์ที่ 3: การพัฒนา BOP ด้วย วทน. กลยุทธ์ที่ 1 สร้างงานและกระจายรายได้ภายในชุมชนผ่านช่องทาง Zoning กลยุทธ์ที่ 2 Strategic STI upgrade OTOP ส่งเสริมคุณภาพและการตลาด สร้างอัตลักษณ์ในแต่ละท้องถิ่นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม กลยุทธ์ที่ 3 การเพิ่มผลิตภาพ (Productivity) พัฒนามาตรฐานการผลิตสินค้าและบริการ ลดต้นทุนการผลิต กลยุทธ์ที่ 4 สร้างช่องทางการตลาดและ Niche market สร้างงานและกระจายรายได้ภายในชุมชน เพิ่ม Productivity ด้วย วทน. สร้างช่องทางการตลาดและ Niche market กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ภายในชุมชน Community Knowledge management