วัณโรคปอด สาเหตุการเกิดโรค วัณโรคการติดต่อได้อย่างไร การรักษาวัณโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ป้องกันไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ด้วย
Advertisements

โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
ปฏิบัติสุขบัญญัติ ให้เป็นนิสัย ปลอดโรค ห่างไกล ไข้หวัดใหญ่ 2009
โรคภูมิแพ้.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
อิทธิพลของการเกิดฮอร์โมนเพศ
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
วิธีการหาองค์ประกอบขยะมูลฝอย
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
โครเมี่ยม (Cr).
องุ่น สตอ เบอร์รี่ เชอร์รี่ แอปเปิ้ล แดง แอปเปิ้ล ชมพู แอปเปิ้ล เขียว แอปเปิ้ล เหลือง โกโก้ บลูเบอร์รี่ ส้มเขียวหวาน ส้มมะปิด ( ส้มจิ๊ด ) สับปะรด แตงโม.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
หลักการเลี้ยงสัตว์ คำบรรยาย โดย ครูสีกุน นุชชา
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
Gas Turbine Power Plant
ระดับความเสี่ยง (QQR)
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
มาทำความรู้จักกับ มาทำความรู้จักกับ เห็ดหูหนูขาว.
ปลาฉลามและนกชนิดต่างๆ
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
สำลักสิ่งแปลกปลอมแล้วติดคอหรือหายใจไม่ออก ทำอย่างไร?
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
ด้วยความห่วงใยจากฝ่ายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา 19 พฤษภาคม 2552 โรงแรมอมารีแอร์พอร์ต
หมวดที่ 4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
หลุยส์ ปาสเตอร์.
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
II-4การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
ยุคกลาง : Medieval Age The Black Death A.D 1348 อาจารย์สอง Satit UP.
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
นำเสนอโดย ABC DEFG คณะเกษตรศาสตร์สาขา สัตวศาสตร์
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัณโรคปอด สาเหตุการเกิดโรค วัณโรคการติดต่อได้อย่างไร การรักษาวัณโรค วัณโรค คืออะไร เป็นโรคติดต่อในระบบทางเดินหายใจ ที่เป็นได้กับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย โดยมากมักเป็นที่ปอด และเป็นที่ปอดข้างหนึ่งก่อนแล้วลามไปอีกข้างหนึ่ง ผู้ป่วยวัณโรคปอดในระยะแพร่เชื้อ 1 คน สามารถแพร่เชื้อให้คนอื่นได้ 10-15 คน ถ้าไม่ได้รับการรักษาภายในระยะเวลา 1-1½ ปี จะมีอัตราการตายสูงถึง ร้อยละ30-50 ภายในระยะเวลา 5 ปี วัณโรคเป็นโรคที่ร้ายแรง ถ้าได้รับการรักษาที่ถูกต้องทำให้จะหายจากโรค ได้ สาเหตุการเกิดโรค วัณโรคการติดต่อได้อย่างไร วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ชื่อมัยโคแบคทีเรียม ทูเบอร์คูโลสิส ที่มีขนาดเล็กมากจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ต้องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ เชื้อวัณโรคจะมีอยู่ในปอดของผู้ป่วยที่ยังไม่ได้รับการรักษา เมื่อผู้อยู่ใกล้ชิดสูดหายใจเอาเชื้อวัณโรคเข้าไปสู่ร่างกาย ทำให้ติดเชื้อและป่วยเป็นวัณโรคได้ ผู้ป่วยวัณโรคปอด จะมีเชื้อวัณโรคอยู่ในปอดเมื่อผู้ป่วยไอ จาม โดยไม่ปิดปาก ปิดจมูก หรือบ้วนเสมหะ เชื้อวัณโรคจะออกมากับละอองเสมหะหรือน้ำลาย ละอองขนาดเล็กๆจะลอยอยู่ ในอากาศ หากผู้ใกล้ชิดสูดหายใจเอาเชื้อวัณโรคเข้าไปในปอด เชื้อวัณโรคจะเข้าสู่ร่างกาย ทำให้มีโอกาสป่วยเป็นวัณโรคได้ เชื้อวัณโรค อาการสำคัญของวัณโรค ไอเรื้อรังติดต่อกันเกิน 2 สัปดาห์ ไอมีเสมหะปนเลือด อาจมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น ไอแห้งๆ หรือ ไอมีเสมหะ มีไข้ต่ำๆ ตอนบ่าย เหงื่อออกมากตอนกลางคืน อ่อนเพลีย มักเป็นตอนเช้ามากกว่า ตอนบ่าย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด การวินิจฉัยโรควัณโรค การตรวจเสมหะด้วยวิธีย้อมเชื้อตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ โดยเก็บเสมหะตอนเช้าส่งตรวจ 2 ตัวอย่าง การถ่ายภาพรังสีทรวงอก การเพาะเชื้อวัณโรคจากเสมหะ การทดสอบทูเบอร์คูลิน การรักษาวัณโรค หลักในการรักษาวัณโรค วัณโรครักษาให้หายขาดได้ โดยใช้ยา แต่ต้องกินยาครบตามมาตรฐานการรักษา มิฉะนั้นจะเกิดอาการ “เชื้อดื้อยา” ในอดีตใช้เวลารักษานาน 18 เดือนถึง 2 ปี ในปัจจุบันมียาที่ให้ผลการรักษาดีที่สุด และใช้ระยะเวลาในการรักษาสั้นลงเพียง 6-9 เดือน ต้องใช้ยาอย่างน้อย 3-4 ชนิดพร้อมกัน ต้องใช้ยาในขนาดที่เพียงพอ ผู้ป่วยต้องกินยาอย่างสม่ำเสมอ ระยะเวลาที่กินยาต้องครบตามมาตรฐานการรักษา ชนิดของยาที่ใช้ในการรักษาวัณโรคในปัจจุบัน การรักษาวัณโรค มี 2 ระยะ ระยะที่ 1 เป็นระยะเข้มข้นของการรักษารักษา มีจุดประสงค์เพื่อฆ่าเชื้อวัณโรค ที่มีการแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว โดยการใช้ยารวมกัน 3-4 ชนิด ระยะเวลา 2-3 เดือน ระยะที่ 2 เป็นระยะต่อเนื่อง การรักษาในระยะนี้ มีจุดประสงค์เพื่อฆ่าเชื้อวัณโรคที่มีการแบ่งตัวช้า ป้องกันการกลับเป็นใหม่ของโรคมีการลดชนิดของยาลง 1-2 ชนิด รักษาต่อเนื่องจากระยะแรก 4-9 เดือน ไอโซไนอาสิด ไรแฟมบิซิน แอธแธมบูทอล ไพราซินาไมด์ สเตร็บโตมัยซิน การดูแลตนเองเมื่อป่วยเป็นวัณโรค กินยาตามชนิดและขนาดที่แพทย์สั่งสม่ำเสมอจนครบกำหนด สามารถกินยารักษาวัณโรคร่วมกับยาอื่นๆได้ รับประทานอาหารจำพวกเนื้อสัตว์ต่างๆ อาหารประเภทไข่ นม ผัก และผลไม้ เป็นประจำทุกวันจะทำให้ร่างกายมีภูมิต้านทานโรค เมื่อกินยาไปประมาณ 2 สัปดาห์ อาการไอ และอาการต่างๆ จะลดลง รู้สึกว่าอาการดีขึ้น แต่เชื้อวัณโรคยังไม่หมดไป ไม่ควรหยุดยากินเอง ควรงดเหล้า บุหรี่ และยาเสพติด เพราะสิ่งเหล่านี้จะทำลายสุขภาพ ให้เสื่อมโทรมและทำให้ประสิทธิภาพการรักษาลดลง ปิดปากและจมูก เวลาไอหรือจาม เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่น การสังเกตอาการข้างเคียงจากยา เช่น ผื่นคัน ตัว ตาเหลือง หูอื้อ วิงเวียนศีรษะ ตามัว ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร มี อาการชาปลายมือ ปลายเท้า ปวดตามข้อต่างๆ ถ้ามีอากาให้รีบ ปรึกษาแพทย์ทันที ไม่ควรหยุดยาเอง เพื่อจะได้ปรับเปลี่ยน ยาให้ เปิดประตูหน้าต่างห้องนอน จัดบ้าน ให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก แสงแดดส่องถึง นำเครื่องนอนออกผึ่งแดดสัปดาห์ละครั้ง บ้วนเสมหะลงในภาชนะที่มีฝาปิดมิดชิด ทำลายเสมหะโดยการเผา หรือฝังหรือทิ้งลงส้วมใช้น้ำราดไม่ควรทิ้งลงถังขยะ เพราะอาจเกิดการฟุ้งกระจายเชื้อได้ การป้องกันไม่ให้ป่วยเป็นวัณโรค สร้างเสริมความต้านทานของร่างกาย รักษาสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ ดูแลเอาใจใส่ผู้ป่วยวัณโรคที่อยู่ในบ้าน ให้กินยาสม่ำเสมอ ไม่ขาดยา จนครบมาตรฐานการรักษา พักผ่อนนอนหลับให้เพียงพอ หลีกเลี่ยงการ ทำงานหนักและอด นอน เพราะจะทำให้อาการ ของโรคมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ออกกำลังกายได้ พอควร แต่ไม่ควรหักโหม ถ้ามีอาการสงสัยวัณโรค เช่น ไอเรื้อรังเกิน 2 สัปดาห์ ไอมีเลือดออก มีไข้ต่ำๆ น้ำหนักลดเบื่ออาหาร ควรรีบไปพบแพทย์ เพื่อตรวจเสมหะและเอกซเรย์ปอด ไปตรวจพบแพทย์และรับยาตามนัดทุกครั้ง จัดสภาพแวดล้อม ที่อยู่อาศัยให้ถูกสุขลักษณะ หลีกเลี่ยงสถานที่แออัด ไม่คลุกคลีกับผู้ป่วยวัณโรค ผู้ที่อยู่บ้านเดียวกับผู้ป่วยวัณโรคปอด ควรได้รับการตรวจ เสมหะและเอกซเรย์ปอด สร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อวัณโรค โดยการฉีดวัคซีนบีซีจี ในเด็กอายุ 0-1 ปี วิไลลักษณ์ พิมรินทร์ ห้องตรวจวัณโรค 043-363072