เครื่องมือการประเมินองค์กรแบบสมดุล การผลักดันยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
1 สบช.. 2 เอกสารข้อมูล สถานการณ์ / ผลการ ดำเนินงานสบช. - สถานการณ์ - ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินงานสบช. - GAP ( อดีต / ปัจจุบัน / อนาคต ) ความคิดเห็นผู้บริหาร.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ผลการประเมินระดับชาติและ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
บทที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
Chapter 3 Executive Information Systems : EIS
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
1.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
Strategic Line of Sight
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องมือการประเมินองค์กรแบบสมดุล การผลักดันยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ Balanced Scorecard การผลักดันยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ Balanced Scorecard Dr Peng Buahom

Balanced Scorecard Balanced Scorecard (BSC) คือ ระบบหรือกระบวนในการบริหารงานชนิดหนึ่งที่อาศัยการกำหนดตัวชี้วัด (KPI) เป็นกลไกสำคัญ Kaplan และ Norton ได้ให้นิยามล่าสุดของ Balanced Scroecard ไว้ว่า “เป็นเครื่องมือทางด้านการจัดการที่ช่วยในการนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ (Strategic Implementation) โดยอาศัยการวัดหรือประเมิน (Measurement) ที่จะช่วยทำให้องค์กรเกิดความสอดคล้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และมุ่งเน้นในสิ่งที่มีความสำคัญต่อความสำเร็จขององค์กร (Alignment and focused) ”

Balanced Scorecard คืออะไร Balanced Scorecard มีจุดกำเนิดอย่างไร? Professor Robert Kaplan อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัย Harvard University Dr. David Norton ที่ปรึกษาทางด้านการจัดการ

Dr. David Norton Prof. Robert Kapan

หน้าที่ของการจัดการของผู้บริหาร 1. การวางแผน (Planning) 2. การจัดองค์กร (Organizing) 3. การสั่งการและชี้นำ (Leading) 4. การประเมินผลและควบคุม (Controlling)

ความสำคัญของการประเมินผล 1. การประเมินผลทำให้องค์กรสามารถรู้ถึงสถานะของ ตนเองว่าอยู่ ณ จุดไหน 2. การพัฒนาองค์กรหรือการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ภายในองค์กรจะต้องเริ่มการประเมินผลก่อน 3. ถ้าสิ่งใดที่ได้รับความสนใจหรือมีการวัด ผู้ที่รับผิดชอบหรือผู้ที่ดำเนินกิจกรรมนั้น จะมีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำกิจกรรม นั้นมากขึ้น ความสำคัญของการประเมินผล

แนวคิดพื้นฐานของ Balanced Scorecard มุมมองด้านการเงิน (Financial Perspective) มุมมองด้านลูกค้า (Custormer Perspective) มุมมองด้านกระบวนการภายใน (Internal Process Perspective) มุมมองด้านการเรียนรู้และการพัฒนา (Learning and Growth Perspective)

อะไรคือข้อจำกัดของตัวชี้วัดด้านการเงิน(Financial Indicators) ปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดความได้เปรียบทางการแข่งขัน ในปัจจุบันมักจะเป็นทรัพยากรหรือความสามารถที่ไม่สามารถจับต้องได้ (Intangible Resources and Capabilities) ตัวชี้วัดทางการเงินที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ให้ความสำคัญกับมุมมองภายในองค์กร ไม่สามารถที่จะวัดหรือประเมินปัจจัยภายนอกองค์กร การมุ่งที่ตัวชี้วัดการเงินเพียงอย่างเดียว จะทำให้ผู้บริหารและองค์กรมุ่งเน้นที่ผลการดำเนินงานในระยะสั้นมากกว่าการเสริมสร้างความสามารถทางการแข่งขันในระยะยาว ตัวชี้วัดทางด้านการเงิน เป็นตัวชี้วัดที่บอกให้ผู้บริหารทราบถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต หรือบอกถึงสิ่งที่เกิดขึ้นมาแล้ว (Lagging Indicators) แต่ไม่ได้บอกให้รู้ถึงปัญหาและโอกาสที่จะเกิดข้นกับองค์กรในอนาคต (Leading Indicators)

ตัวชี้วัดที่ไม่ใช่ด้านการเงิน 8 ประการ ที่มีความสำคัญต่อองค์กร 1. การปฏิบัติตามกลยุทธ์ขององค์กร (Execution of Corporate Strategy) 2. คุณภาพของกลยุทธ์ (Quality Strategy) 3. ความสามารถในด้านนวัตกรรม (Ability to Innovate) 4. ความสามารถในการดึงดูดบุคลากรที่มี ความสามารถ (Ability to Attract Talented People)

ตัวชี้วัดที่ไม่ใช่ด้านการเงิน 8 ประการ ที่มีความสำคัญต่อองค์กร 5. ส่วนแบ่งการตลาด (Market Share) 6. การจ่ายผลตอบแทนให้กับผู้บริหาร (Quality of Executive Compen sation) 7. การดำเนินงานในกระบวนการที่สำคัญ (Quality of Management Processes) 8. การเป็นผู้นำด้านการค้นคว้าและด้านการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ (Research Leadership)

กระบวนการควบคุมและประเมินผล 1. การกำหนดสิ่งที่จะวัดหรือประเมิน 2. กำหนดตัวชี้วัด (Performance Indicators) 3. กำหนดเกณฑ์มาตรฐานหรือตัวเปรียบเทียบสำหรับ ตัวชี้วัดแต่ละตัว 4. การประเมินผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้น โดยใช้ตัวชี้วัด ที่ได้กำหนดขึ้นเป็นแนวทางในการประเมินผลและ เก็บข้อมูล 5. เปรียบเทียบผลที่ได้รับจากการประเมินกับมาตรฐาน หรือเกณฑ์ที่กำหนดไว้ กระบวนการควบคุมและประเมินผล

ภายใต้และมุมมองประกอบด้วยช่อง 4 ช่องได้แก่ 1.วัตถุประสงค์(Objective) 2. ตัวชี้วัด (Measures หรือ Key Performance Indicators) 3. เป้าหมาย (Target) 4. แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม (Initiatives) จุดอ่อนที่สำคัญของผู้บริหารส่วนใหญ่ไม่ได้อยู่ที่การวางแผน หรือการจัดทำกลยุทธ์ แต่อยู่ที่ความสามารถ ในการนำกลยุทธ์ที่ได้กำหนดขึ้นไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

กระบวนการในการพัฒนาและจัดทำ Balanced Scorecard 1. การวิเคราะห์ทางกลยุทธ์ ซึ่งได้แก่การทำ SWOT Analysis 2. กำหนดวิสัยทัศน์ และกลยุทธ์ขององค์กร 3. วิเคราะห์และกำหนดว่า BSC ขององค์กร ควรจะมีทั้งหมดกี่มุมมอง 4. จัดทำแผนที่ทางกลยุทธ์ (Strategy Map) ระดับองค์กร

กระบวนการในการพัฒนาและจัดทำ Balanced Scorecard 5. กลุ่มผู้บริหารระดับสูงจะต้องมีการประชุมร่วมกันเพื่อยืนยันและเห็นชอบในแผนที่ทางกลยุทธ์ที่สร้างขึ้น 6. กำหนดรายละเอียดของวัตถุประสงค์นั้นในด้านต่างๆทั้งในด้านของ ตัวชี้วัด ฐานข้อมูลในปัจจุบัน เป้าหมายที่ต้องบรรลุ รวมทั้งแผนงาน กิจกรรม หรือโครงการ (Initiatives) 7. เมื่อจัดทำแผนงานหรือโครงการเสร็จแล้ว สามารถที่จะแปลง (Cascade) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์กรให้เป็นของผู้บริหารรองลงไปเพื่อ ให้ผู้บริหารระดับรองฯ ลงไปได้จัดทำแผนปฏิบัติการตามแผนงานหรือโครงการหลัก

แนวคิดพื้นฐานของ Balanced Scorecard มีลักษณะอย่างไร

Translating with the Balanced Scorecard การเรียนรู้และการเติบโต มีคนที่เหมาะสม กระบวนการภายใน ทำสิ่งที่ถูกต้อง ลูกค้า ลูกค้ามีความพึงพอใจ การเงิน รักษาและได้ธุรกิจเพิ่ม

มิติด้านการพัฒนาองค์กร 4 มิติ ตัวชี้วัดโบนัส อปท. BSC มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผล ตามแผนพัฒนาของ อปท. มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติที่ 3 มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร

ประโยชน์ของการจัดทำ Scorecard 1.ช่วยให้ผลการดำเนินงานขององค์กรดีขึ้น 2.ทำให้ทั้งองค์กรมุ่งเน้น และ ให้ความสำคัญต่อกลยุทธ์ขององค์กร โดยต้องให้เจ้าหน้าที่ทั่วทั้งองค์กรให้ความสำคัญกับกลยุทธ์ขององค์กรมากขึ้น และเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ช่วยในการนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ 3.ช่วยในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และ วัฒนธรรมขององค์กรโดยอาศัยการกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายเป็นเครื่องมือในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่ 4.ทำให้พนักงานเกิดการรับรู้และเข้าใจว่างานแต่ละอย่างมีที่มาที่ไปอีกทั้งผลของงาน 5.ตนเองจะส่งผลต่อผลการดำเนินงานของผู้อื่นและขององค์กรอย่างไร

ข้อควรระวังในการจัดทำ BSC 1. ผู้บริหารต้องให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่ 2. ทุกคนในองค์กรต้องมีส่วนร่วมและให้การสนับสนุน 3. เมื่อทำแล้วควรทำให้เห็นผล 4. ไม่ใช้ระบบ BSC ในการจับผิดพนักงาน 5. ไม่กำหนดตัวชี้วัดหรือเป้าหมายที่ง่ายเกินไป 6. ต้องสื่อสารให้กับพนักงานเกิดความเข้าใจ 7. ระบบ BSC ควรคู่กับค่าตอบแทน 8. ต้องเปลี่ยนแปลงยืดหยุ่นตามสถานการณ์

จบ สวัสดี ดร.เพ่ง บัวหอม หัวข้อเรื่อง เนื้อหา