Latency เวลาทำงานโดยนับจากเริ่มขอข้อมูล จนถึงได้รับข้อมูล bit แรก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Introduction to Cache Memory Systems
Advertisements

 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
Virtual Memory. Detailed VM Example ในเรื่องนี้จะมีการนำเสนอในรูปแบบ ของการทำงานที่เป็นไปตามขั้นตอน เมื่อ เกิดการผิดพลาดของข้อมูล ISR จะทำ หน้าที่เป็น.
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
DATA STRUCTURE AND ALGORITHM Linked List.
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
บทที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ การทำงาน ของระบบคอมพิวเตอร์
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
รายชื่อกลุ่ม 1.นางสาว ศลัญญากรณ์ ศิลป์มณีโชค (พลอย) ปวส. 2/6 รหัส สาขาโลจิสติกส์ 2.นางสาว พรพรรณ หมอนสวัสดิ์ (มุก) ปวส. 2/6 รหัส สาขาโลจิสติกส์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
BC320 Introduction to Computer Programming
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
DC Voltmeter.
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
Basic Input Output System
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
หน่วยความจำ Memory Unit
แนวทางจัดทำเอกสารประกอบการสอน เพิ่มเติม อีกรูปแบบ
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทสรุป ความหมายของ Query ความหมายของ Query
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
3 โครงสร้างข้อมูลแบบคิว (QUEUE).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array Sanchai Yeewiyom
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
หลักสูตรการบำรุงรักษาระบบโทรศัพท์
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Latency เวลาทำงานโดยนับจากเริ่มขอข้อมูล จนถึงได้รับข้อมูล bit แรก

Cache เป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลที่จะถูกเรียกใช้บ่อยโดย CPU ซึ่งเป็นหน่วยความจำขนาดเล็กความเร็วสูง ที่อยู่ใกล้กับ CPU โดยจะเป็นการเก็บข้อมูลบางส่วนจาก memory เป็นเก็บ ข้อมูลซ้ำบน cache ซึ่งจากการทำงานของ Processor ร้องขอข้อมูลจาก memory เพื่อ นำมาคำนวณ แต่แทนที่ระบบจะลงไปทำการหาข้อมูลที่ memory เลย แต่จะทำการมองหาข้อมูลตัวนั้นใน cache ก่อน ถ้าหาเจอเรา จะเรียกว่า cache hit และถ้าหาไม่เจอเราจะเรียกว่า cache miss

ในกรณี cache miss ระบบจะทำการไปดึงข้อมูลจาก memory ขึ้นมาเก็บไว้ใน cache โดยใช้การดึงแบบ ดึงขึ้นมาเป็น block โดยแทนที่จะดึงมาค่าเดียวแต่ใช้การดึงค่าข้างเคียงข้อมูลนั้น ขึ้นมาด้วย (Spatial Locality [Temporal locality]) โดยการดึง block ข้อมูลขึ้นมาบน cache ใช้การติดต่อ 1 ครั้ง จึง ทำให้มีการใช้เทคนิคนี้ในการเพิ่มปริมาณข้อมูลที่จะดึงขึ้นมา เรียกว่า memory interleaving

memory cache

Direct Mapping(many-to-one) เอา block จาก memory มาใส่ยัง cache โดยมีตำแหน่งที่แน่นอน ตามวิธีการนี้ i = incoming block number j = cache block number N = number of cache block

ข้อดี - เป็นวิธีการที่ง่าย ข้อเสีย - ถึงแม้จะมีที่ว่างแต่ก็เอาข้อมูลลง Cache ไม่ได้ ทำให้ โอกาศเกิด cache miss สูง

Fully Associative Mapping การนำ block ข้อมูลมาใส่ยังที่ว่าง ภายใน cache โดยไม่มีการระบุตำแหน่งที่เฉพาะเจาะจง ว่าง ตรงไหนลงตรงนั้น ข้อดี - เป็นวิธีการที่สามารถใช้ cache อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มี ข้อจำกัด ผูกมัดกับตำแหน่งที่อยู่ ข้อเสีย - ต้องการระบบที่มีประสิทธิภาพในการค้นหา ข้อมูลใน cache

Set –Associative Mapping ใช้แนวความคิดแบ่ง cache ออกเป็น ส่วนย่อย (set) โดยในแต่ละ set จะประกอบด้วย block หลายๆ block ทำให้มีประสิทธิภาพในการหาข้อมูลบน cache เนื่องจากจะ เป็นการ หาข้อมูลเฉพาะ set S = number of sets in cache i = main memory block number s = specific cache sets to which block I maps

ในการที่จะเอาค่าออกจาก cache มีด้วยกัน 3 วิธี Random selection FIFO (first-in-first-out) LRU (least recently used) เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพมาก เพราะใช้การเก็บ ค่าสถิติ เป็นตัวบอก

เป็นหน่วยความจำหลัก ภายในระบบ computer ที่ทำหน้าที่ส่ง ข้อมูลที่จะใช้ในการคำนวณไปให้ยัง CPU โดย memory มี องค์ประกอบภายในของการเก็บข้อมูลเรียกว่า cell โดยเรียงตัว กันเป็นแนว row และ column

เป็นระบบการทำงานร่วมกันระหว่าง memory และ hard disk เพื่อ ทำการสร้างตำแหน่งของ memory ให้มีขนาดใหญ่ขึ้นมากกว่า ตำแหน่ง memory จริงของอุปกรณ์ โดยข้อมูลที่ถูกส่งไปมาระหว่าง hard disk และ memory เราจะ เรียกว่า page ซึ่ง page ประกอบด้วย words( 1 word = 2 byte = 16 bit) โดยเมื่อ processor ต้องการข้อมูล word ภายใน page ระบบจะ ทำการส่ง page นั้นขึ้นไปที่ MM (main memory) และจะเกิด page fault เมื่อ page ที่มี word ที่ processor ต้องการไม่อยู่บน MM จึงทำให้ต้องไปดึงค่า page นั้นมาจาก hard disk ซึ่งในการ ทำงานนี้จะเป็นหน้าที่ของ OS (operating system)

ซึ่งถ้าเกิดกรณี page fault(1000 times) ขึ้นมาจะมีการ penalty ที่ มากกว่าความผิดพลาดของ cache miss(5-10 times) เนื่องจาก ความเร็วในการทำงานของอุปกรณ์ address ที่เป็นของ virtual memory เราจะเรียกว่า virtual address หรือ logical address โดยที่จะมี MMU(memory management unit) มาจัดการคอยแปลงค่าจาก virtual memory ไป ให้สอดคล้องกับ physical address ซึ่งมีเทคนิคในการแปลง 3 เทคนิคดังนี้ Direct mapping Associative mapping Set-Associative mapping ( โดยทั้ง วิธีจะมีการใช้ page table เป็นตารางเก็บค่าความสัมพันธ์ระหว่าง MM location กับ virtual page ซึ่งจะเก็บตารางนี้ไว้ใน MM)

วิธีนี้ virtual address จะประกอบด้วย 2 ส่วน virtual page number และ offset fields ถ้าในกรณีที่จำนวน bit ใน page number เท่ากับ N จะทำให้เรามี page table เก็บค่า real page number ขนาด 2 N โดยมีหลักการทำงานถ้า processor ต้องการข้อมูล จะทำการเช็ต กับตาราง page table ก่อนว่ามีค่านั้นอยู่บน MM หรือไม่ ถ้ามีก็ ทำการแปลงค่าให้เป็น physical address เพื่อส่งต่อไปให้ processor แต่ ถ้า page fault ตัว MMU จะทำการไปดึงค่ามาจาก hard disk ขึ้นไปที่ MM ข้อดี – ง่าย ข้อเสีย – page table ขนาดใหญ่

เทคนิคนี้คล้ายคลึงกับ direct mapping โดยมีระบบ virtual address 2 ส่วนเหมือนกัน virtual page และ offset fields โดยมี page table ขนาดสั้นกว่า direct mapping โดยมีค่าที่เก็บ 2 ส่วน คือ virtual page number และ physical page number ข้อดี – มี page tables ขนาดสั้น ข้อเสีย – ต้องมีระบบ search

มีระบบ virtual address 3 ส่วน tag, index และ offset โดยที่ page table จะถูกแบ่งออกเป็นส่วนๆ (set) โดยจะเก็บค่า tag และ physical address ซึ่งค่า index ของ virtual address จะเป็นตัวระบุ set ของ page table ดังนั้นถ้ามี จำนวน bit ใน index field เท่ากับ s จะมีจำนวน set ของ page table เท่ากับ 2 S เป็นระบบที่ ทำงานได้มีประสิทธิภาพ และได้ขนาด page table ที่เหมาะสม

เป็นวิธีการที่ใช้การเก็บบางส่วนของ page table ที่ใช้บ่อยๆ เอาไว้ใน processor chip เพื่อให้สะดวกและรวดเร็วในการค้นหา ข้อมูล

Random Replacement First-In-First-Out(FIFO) Replacement Least Recently Used(LRU) Replacement Clock Replacement Algorithm[First-In-Not-Used-First- Out(FINUFO) ]

เป็นวิธรการ replace ที่ต้องมี pointer เอาไว้ชี้ page ที่พึ่งถูกเรียก ขึ้นมาบน MM และ used bit บอกสถานะการใช้งานของ page นั้นๆ