1. ด้านความรู้ 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ 3. ด้านเจตคติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ไทยกับการส่งเสริม CLC’s ในประเทศเพื่อนบ้าน
การศึกษาและสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ASEAN CURRICULUM SOURCEBOOK
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
ประชาคมอาเซียน.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
กิจกรรมแนะแนวการศึกษาและ อาชีพ ม.5 โปรแกรมการพัฒนาการตระหนักรู้และ ความสามารถในการตัดสินใจเลือก อาชีพและศึกษาต่อ คุณครูสุนันท์ ปรารมย์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
8 สิงหาคม ศิลปะยืนยาว... ชีวิต สั้น _files.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
มาตรฐานที่ ๓ ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การบริหารหลักสูตร.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การบริหารจัดการเวลาเรียน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๒ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต Dr. Bualak Petchngam.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การจัดการความรู้ Knowledge Management
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1. ด้านความรู้ 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ 3. ด้านเจตคติ

ด้านความรู้ 1.มีความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนในด้าน การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม 2. มีความรู้เกี่ยวกับอาเซียน 2.1 จุดกำเนิดอาเซียน 2.2 กฎบัตรอาเซียน 2.3 ประชาคมอาเซียน 2.4 ความสัมพันธ์กับภายนอกอาเซียน

ด้านทักษะ/กระบวนการ 1. ทักษะพื้นฐาน 1.1 สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา (ภาษาอังกฤษ และภาษาประเทศเพื่อนบ้าน อีกอย่างน้อย 1ภาษา) 1.2 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสร้างสรรค์ 1.3 มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสันติวิธี 1.4 มีความสามารถในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น 2. ทักษะพลเมือง/ความรับผิดชอบทางสังคม 2.1 เคารพและยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม 2.2 มีภาวะผู้นำ 2.3 เห็นปัญหาสังคมและลงมือทำเพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง 3. ทักษะการเรียนรู้และพัฒนาตน 3.1 เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน 3.2 มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3.3 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีวิธีคิดอย่างถูกต้อง 3.4 มีความสามารถในการจัดการ / ควบคุมตนเอง

ด้านเจตคติ 1. มีความภูมิใจในความเป็นไทย/ ความเป็นอาเซียน 2. ร่วมกันรับผิดชอบต่อประชาคมอาเซียน 3. มีความตระหนักในความเป็นอาเซียน 4. มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล สันติวิธี /สันติธรรม 5. ยอมรับความแตกต่างในการนับถือศาสนา 6. ดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

จัดทำโดยสำนักงานเลขาธิการอาเซียน SEAMEO และ USAID รวมทั้งนักการศึกษาของประเทศสมาชิก ทั้ง 10 ประเทศ เริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2551 และปรับปรุงรายละเอียด ของคู่มือฯ เมื่อวันที่ 16 ม.ค.2555 ณ ประเทศไทย และระหว่างวันที่ พ.ค.2555 ณ ประเทศกัมพูชา

ที่ประชุมรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ ของกลุ่มประเทศอาเซียน ระหว่างวันที่ 3 – 5 กรกฎาคม 2555 ณ ประเทศอินโดนีเซีย ได้ตกลงร่วมกันว่า ให้นำ ASEAN Curriculum Sourcebook ไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ ตามบริบทของแต่ละประเทศ ASEAN Curriculum Sourcebook ถือเป็นหลักสูตรแกนกลางของอาเซียน ภายใต้ปรัชญาขั้นพื้นฐาน ให้นำ ASEAN Curriculum Sourcebook ไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ ตามบริบทของแต่ละประเทศ ASEAN Curriculum Sourcebook ถือเป็นหลักสูตรแกนกลางของอาเซียน ภายใต้ปรัชญาขั้นพื้นฐาน

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย Grades ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น Grades 6-9 ระดับประถมศึกษาตอนปลาย Grades 3-5 ระดับการจัดการศึกษา

หลักการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน 1.เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้ผู้เรียน เข้ามามีส่วนร่วม 2. เน้นการบูรณาการ 3. ยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม 4. เน้นกระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการ สื่อสาร

เป้าหมาย ASEAN Curriculum Sourcebook เป้าหมาย ASEAN Curriculum Sourcebook 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน 2. เห็นคุณค่าของอัตลักษณ์และความหลากหลาย 3. สามารถเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น 4. ส่งเสริมความเสมอภาคและความยุติธรรม 5. ทำงานร่วมกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน

มิติการเรียนรู้ ครอบคลุม 7 สาขาวิชามิติการเรียนรู้ - ประวัติศาสตร์และสังคมศึกษา - วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ - หน้าที่พลเมืองและจริยศึกษา - ภาษาและวัฒนธรรม - ศิลปะ - สุขศึกษาและพลศึกษา - เทคโนโลยีการศึกษา

ผ่าน - ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน - การเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์ และความหลากหลาย - การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น - การส่งเสริมความเสมอภาค และความยุติธรรม - การทำงานร่วมกันเพื่ออนาคต ที่ยั่งยืน 1.ประชาชน (People) 2.สถานที่ (Places) 3.สื่อ (Materials) 4.แนวคิด (Ideas) 5 กรอบเนื้อหา (Themes) 4 ช่องทาง (Pathways)

กรอบเนื้อหา ASEAN Curriculum Sourcebook 1. ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน (Knowing ASEAN) 2. การเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์และความหลากหลาย (Valuing Identity and Diversity) 3. การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น (Connecting global and Local) 4. การส่งเสริมความเสมอภาคและความยุติธรรม (Promoting Equity and Justice) 5. การทำงานร่วมกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน (Working Together for a Sustainable Future)

ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน (Knowing ASEAN) ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน (Knowing ASEAN) เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียนใน 4 ประเด็นหลัก คือ โครงสร้าง ความเป็นสมาชิก เป้าหมาย แนวทางปฏิบัติ รวมทั้งการสำรวจลักษณะ ที่สำคัญ ความสำเร็จและความท้าทายใน อนาคตของอาเซียน

การเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์และ ความหลากหลาย (Valuing Identity and Diversity) การเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์และ ความหลากหลาย (Valuing Identity and Diversity) เป็นการสำรวจ ศึกษาถึงความสัมพันธ์ที่ซับซ้อน ปัจจัย ที่ส่งผลต่อการเกิดวัฒนธรรมความเชื่อ การตระหนักรู้ และเห็นคุณค่าในความแข็งแกร่งซึ่งมีอยู่ในความเหมือน ของประชาชน (ส่วนบุคคลหรือกลุ่ม) เช่นเดียวกับ ลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกัน

การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น (Connecting global and Local) การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น (Connecting global and Local) เป็นการสำรวจประเด็นของท้องถิ่น ว่าได้รับ อิทธิพลจากการพัฒนา และแนวโน้มของโลก อย่างไร และเหตุการณ์ในท้องถิ่นของอาเซียน ส่งผลต่อสภาวการณ์ของโลกอย่างไร

การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น (Connecting global and Local) การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น (Connecting global and Local) เป็นการส่งเสริมหลักการแห่งความเสมอภาค และยุติธรรม โดยจัดหาเครื่องมือและข้อมูลให้ ผู้เรียน (ทางวิทยาศาสตร์ ทางการเมืองและหลัก ปรัชญา) เพื่อใช้วิเคราะห์สถานการณ์ที่ซับซ้อน และสามารถตอบสนองได้อย่างเหมาะสม

การทำงานร่วมกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน (Working Together for a Sustainable Future) การตระหนักถึงความกดดันที่เกิดจากที่ทรัพยากร ที่มีอย่างจำกัดและการเพิ่มจำนวนอย่างรวดเร็ว ของประชากร และผลกระทบต่อความยั่งยืนการ กระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักการทำงานร่วมกันทั้งใน ระดับชุมชนและกลุ่มสังคมที่ใหญ่กว่า นำไปสู่ การสร้างความเจริญรุ่งเรือง สันติสุขและอนาคต ที่ยั่งยืนของประชาคมอาเซียน

4 ช่องทาง (Pathways) 1. ประชาชน (People) ตัวบุคคล กลุ่มชาติพันธุ์ มรดกทาง วัฒนธรรม รัฐบาลและพลเมือง สุขภาพ ความปลอดภัย บทบาท ทางเพศ บทบาทระหว่างชั้นอายุภายในครอบครัว และสังคม 2. สถานที่ (Places) ลักษณะทางกายภาพ ลักษณะภูมิ ประเทศ ระบบนิเวศ ภูมิอากาศ ผลกระทบจากพลังธรรมชาติต่างๆ 3. สื่อ (Materials) สิ่งที่เป็นรูปธรรม เช่น เครื่องอุปโภค บริโภค สิ่งประดิษฐ์ งานหัตถกรรม งานศิลป์และงานประดิษฐ์ ศิลปะโบราณ 4. แนวคิด (Ideas) ศาสนา ระบบความเชื่อ ปรัชญา ค่านิยม รูปแบบการปกครอง แง่คิดเกี่ยวกับโลก เทคโนโลยี การยอมรับ และการปรับตัว

ใช้คำถามสำคัญ (Essential Questions) ที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์ แก้ปัญหา ออกแบบด้วยกระบวนการออกแบบย้อนกลับ (Backward Design Process)

แนวทางการประเมินผล ASEAN Curriculum Sourcebook แนวทางการประเมินผล ASEAN Curriculum Sourcebook 1. การอธิบาย (Explanation) 2. การตีความ (Interpretation) 3. การประยุกต์ใช้ (Application) 4. มุมมอง (Perspective) 5. ความรู้สึกร่วม (Empathy) 6. การรู้จักตนเอง (Self-knowledge)

แนวทางการดำเนินงานในสถานศึกษา 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน 2. ศึกษาและสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ASEAN Curriculum Sourcebook และหลักสูตรแกนกลาง ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

แนวทางการดำเนินงานในสถานศึกษา 3.วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างผลการเรียนรู้ แนวทางสาระสำคัญ และคำถาม ประจำหน่วยการเรียนรู้ของ ASEAN Curriculum Sourcebook กับมาตรฐาน/ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลางของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช จัดทำรายวิชาพื้นฐานที่บูรณาการผลการเรียนรู้ของ ASEAN Curriculum Sourcebook สาระการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน หรือรายวิชาเพิ่มเติมที่เน้น ผลการเรียนรู้ของ ASEAN Curriculum Sourcebook หรือกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามเป้าหมายของ ASEAN Curriculum Sourcebook 5.จัดทำหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนการสอน 6.จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร 7.สรุปผลและรายงานผลการดำเนินการ

แนวทางการดำเนินงานรายบุคคล 1. เลือกรายวิชาที่ทำการสอนในปัจจุบัน 1 รายวิชา 2. เลือก 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ท่านคิดว่าจะสามารถบูรณาการ กับ ASEAN Curriculum Sourcebook 3. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างผลการเรียนรู้ แนวทาง สาระสำคัญ และคำถามประจำหน่วยการเรียนรู้ของ ASEAN Curriculum Sourcebook กับมาตรฐาน/ตัวชี้วัด และสาระ การเรียนรู้แกนกลางของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช จัดทำหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรม การเรียนการสอน

ความสัมพันธ์ระหว่างผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ ของ ASEAN Curriculum Sourcebook กับมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลางของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐาน การเรียนรู้ ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ของ ASEAN Curriculum Sourcebook สาระสำคัญ เกี่ยวกับอาเซียน (ใบงานที่ 1)

การออกแบบการสอน แบบย้อนกลับ (Backward Design) Grant Wiggins & Jay Mc Tighe

ขั้นตอนการออกแบบการสอนแบบย้อนกลับ ขั้นที่ 1 กำหนดความรู้ความสามารถของผู้เรียนที่ต้องการ (Identify desired results) ขั้นที่ 2 กำหนดการแสดงอออกของผู้เรียนที่เป็นหลักฐานที่ชัดเจน ยอมรับได้ว่าผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถตามที่กำหนดไว้ (Determine acceptable evidence of learning) ขั้นที่ 3 ออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ (Plan learning experiences and instruction)

แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท23101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง วรรณกรรมท้องถิ่น เวลา 6 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ท ตัวชี้วัด ท 1.1 ม.3/ ท 1.1 ม.3/ ผลการเรียนรู้ ASEAN Curriculum Sourcebook สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

3. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้อาเซียน สมรรถนะของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์

6. ชิ้นงาน/ภาระงาน 6.1 ชิ้นงาน/ภาระงานระหว่างจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด การวัดและประเมินผล 7.1 การวัดและประเมินผลระหว่างจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลเมื่อสิ้นสุดกิจกรรมการเรียนรู้

8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ชั่วโมงที่ ชั่วโมงที่ สื่อ/แหล่งเรียนรู้

You can do it!