การจัดการการ ขนส่ง เป้าหมายของการจัดการ การขนส่ง 1) เพื่อลดต้นทุน 2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำงาน 3) เพื่อสร้างความพึงพอใจ สูงสุดให้แก่ลูกค้า 4) เพื่อลดระยะเวลา 5) เพื่อสร้างรายได้เพิ่ม 6) เพื่อเพิ่มกำไร 7) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยใน การทำงาน การแก้ปัญหา หรือ จัดการการขนส่ง 1. การหาผลลัพธ์เบื้องต้น นิยมใช้ Northwest Corner Method และ VAM 2. การหาผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ใช้ MODI
ตัวอย่าง บริษัทแห่งหนึ่ง มีคลังวัตถุดิบอยู่ 3 แห่ง และมีโรงงานอยู่ 4 แห่ง ปริมาณวัตถุดิบคงคลังที่เหลืออยู่และปริมาณความต้องการของแต่ ละโรงงานแสดงในตารางด้านล่าง จำนวนสินค้าที่ต้นทางแต่ ละแห่งผลิตได้ จำนวนสินค้าที่ปลายทางแต่ละ แห่งสามารถรับไว้ได้ ต้นทุนค่า ขนส่ง
การหาผลลัพธ์เบื้องต้น วิธีมุมตะวันตกเฉียงเหนือ (Northwest Corner Method) โรงงาน คลังวัตถุดิบ ABC ปริมาณ วัตถุดิบที่ เหลืออยู่ ( หน่วย ) ปริมาณวัตถุดิบ ที่โรงงาน ต้องการ ( หน่วย ) ,
สรุปการจัดส่งวัตถุดิบ คลัง 1 ส่งให้โรงงาน A 500 หน่วย ค่าขนส่ง = 500x1 = 500 บาท คลัง 1 ส่งให้โรงงาน B 100 หน่วย ค่าขนส่ง = 100x2 = 200 บาท คลัง 2 ส่งให้โรงงาน B 600 หน่วย ค่าขนส่ง = 600x1 = 600 บาท คลัง 2 ส่งให้โรงงาน C 200 หน่วย ค่าขนส่ง = 200x2 = 400 บาท คลัง 3 ส่งให้โรงงาน C 600 หน่วย ค่าขนส่ง = 600x1 = 600 บาท รวมค่าจัดส่ง 2,300 บาท
โรงงาน คลังวัตถุดิบ ABC ปริมาณ วัตถุดิบที่ เหลืออยู่ ( หน่วย ) ปริมาณวัตถุดิบ ที่โรงงาน ต้องการ ( หน่วย ) , วิธีโวเกล [Vogel’s Approximation Method (VAM)] การหาผลลัพธ์เบื้องต้น =1 3-1=2 3-2=1 2-1= = =
สรุปการจัดส่งวัตถุดิบ คลัง 1 ส่งให้โรงงาน A 500 หน่วย ค่าขนส่ง = 500x1 = 500 บาท คลัง 1 ส่งให้โรงงาน C 100 หน่วย ค่าขนส่ง = 100x3 = 300 บาท คลัง 2 ส่งให้โรงงาน B 700 หน่วย ค่าขนส่ง = 700x1 = 700 บาท คลัง 2 ส่งให้โรงงาน C 100 หน่วย ค่าขนส่ง = 100x2 = 200 บาท คลัง 3 ส่งให้โรงงาน C 600 หน่วย ค่าขนส่ง = 600x1 = 600 บาท รวมค่าจัดส่ง 2,300 บาท
การหาผลลัพธ์ที่ดีที่สุด วิธีโมได [Modified Distribution Method (MODI)] – เนื่องจากผลลัพธ์ของทั้ง 2 วิธีเท่ากัน จึงสามารถ เลือกวิธีใดมาปรับปรุงก็ได้ แต่หากผลลัพธ์ไม่เท่ากัน จะต้องเลือกวิธีที่มีต้นทุนต่ำที่สุด
โรงงาน คลังวัตถุดิบ ABC ปริมาณ วัตถุดิบที่ เหลืออยู่ ( หน่วย ) ปริมาณวัตถุดิบ ที่โรงงาน ต้องการ ( หน่วย ) ,000 วิธีโมได [Modified Distribution Method (MODI)] หาผลลัพธ์เบื้องต้น
ผลลัพธ์เบื้องต้น และตรวจสอบจำนวน ตัวแปรพื้นฐานจะต้องเท่ากับ M+N-1 ช่อง (1,A)=1 ช่อง (1,B)=2 ช่อง (2,B)=1 ช่อง (2,C)=2 ช่อง (3,C)=1 ตัวแปรพื้นฐาน ( ช่องที่มี การขนส่ง ) มี 5 ตัว ตัวแปรพื้นฐาน ( ช่องที่มี การขนส่ง ) มี 5 ตัว เท่ากัน
หาค่า Ui และ Vj โดยกำหนดให้ U 1 = 0 เสมอ RowColumn ค่าแรก
หาค่า Kij จาก Kij = Cij – (Ui + Vj) ( การหาค่าจะพิจารณาช่องไม่พื้นฐาน เท่านั้น ) ช่องว่าง ต้นทุนของ ช่องนั้นๆ โรงงาน คลังวัตถุดิบ ABC ปริมาณ วัตถุดิบที่ เหลืออยู่ ( หน่วย ) ปริมาณวัตถุดิบ ที่โรงงาน ต้องการ ( หน่วย ) ,
หาค่า Kij จาก Kij = Cij – (Ui + Vj) ( การหาค่าจะพิจารณาช่องไม่พื้นฐาน เท่านั้น ) จะเห็นว่า ค่า Kij เป็นบวกหมดทุกตัวแล้ว แสดงว่า ผลลัพธ์ที่ได้ในตอนนี้เหมาะสมแล้วไม่ต้องพัฒนา ผลลัพธ์อีกต่อไป 2 2 1
สร้างวงจรปิด โรงงาน คลังวัตถุดิบ ABC ปริมาณ วัตถุดิบที่ เหลืออยู่ ( หน่วย ) ปริมาณวัตถุดิบ ที่โรงงาน ต้องการ ( หน่วย ) ,
ปรับปรุง เพิ่มการขนส่งในช่อง + และลดการ ขนส่งในช่อง - เลือกจำนวนที่จะลด / เพิ่มจากช่องที่เป็น – ที่มีค่าน้อยที่สุด
โรงงาน คลังวัตถุดิบ ABC ปริมาณ วัตถุดิบที่ เหลืออยู่ ( หน่วย ) ปริมาณวัตถุดิบ ที่โรงงาน ต้องการ ( หน่วย ) ,
การหาผลลัพธ์ที่ดีที่สุด วิธี Stepping Stone – เนื่องจากผลลัพธ์ของทั้ง 2 วิธีเท่ากัน จึงสามารถ เลือกวิธีใดมาปรับปรุงก็ได้ แต่หากผลลัพธ์ไม่เท่ากัน จะต้องเลือกวิธีที่มีต้นทุนต่ำที่สุด
+ ผลลัพธ์จาก วิธี Northwest Corner โรงงาน คลังวัตถุดิบ ABC ปริมาณ วัตถุดิบที่ เหลืออยู่ ( หน่วย ) ปริมาณวัตถุดิบ ที่โรงงาน ต้องการ ( หน่วย ) ,
+ โรงงาน คลังวัตถุดิบ ABC ปริมาณ วัตถุดิบที่ เหลืออยู่ ( หน่วย ) ปริมาณวัตถุดิบ ที่โรงงาน ต้องการ ( หน่วย ) ,
+ โรงงาน คลังวัตถุดิบ ABC ปริมาณ วัตถุดิบที่ เหลืออยู่ ( หน่วย ) ปริมาณวัตถุดิบ ที่โรงงาน ต้องการ ( หน่วย ) ,
+ โรงงาน คลังวัตถุดิบ ABC ปริมาณ วัตถุดิบที่ เหลืออยู่ ( หน่วย ) ปริมาณวัตถุดิบ ที่โรงงาน ต้องการ ( หน่วย ) ,
โรงงาน คลังวัตถุดิบ ABC ปริมาณ วัตถุดิบที่ เหลืออยู่ ( หน่วย ) ปริมาณวัตถุดิบ ที่โรงงาน ต้องการ ( หน่วย ) ,
ปรับปรุง เพิ่มการขนส่งในช่อง + และลดการ ขนส่งในช่อง - เลือกจำนวนที่จะลด / เพิ่มจากช่องที่เป็น – ที่มีค่าน้อยที่สุด
ผลลัพธ์จากวิธี Vogel (VAM) โรงงาน คลังวัตถุดิบ ABC ปริมาณ วัตถุดิบที่ เหลืออยู่ ( หน่วย ) ปริมาณวัตถุดิบ ที่โรงงาน ต้องการ ( หน่วย ) ,