เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 7 หมวด 2
1. Systematic ความเป็นระบบของกระบวนการต่างๆ ของส่วน ราชการที่ทำให้ส่วนราชการสามารถดำเนินการ ไปได้อย่างชัดเจน และสอดคล้องกันทั่วทั้ง องค์การ 2. Sustainable การแสดงถึงความมุ่งมั่น มุ่งเน้นในการนำ กระบวนการที่กำหนดไว้อย่างเป็นระบบสู่การ ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอและทั่วถึง เพื่อความยั่งยืน ของส่วนราชการ 3. Measurable การกำหนดตัวชี้วัดเพื่อใช้ในการควบคุม ติดตาม และประเมินผลการดำเนินการของส่วนราชการ รวมทั้งใช้ในการศึกษาเทียบเคียง (Benchmark) เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาส่วนราชการอย่าง ต่อเนื่องและยั่งยืน 3
เกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ พ. ศ เกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน ฉบับที่ 2 4
ค่านิยมหลักของเกณฑ์ PMQA : 11 Core Values “มุ่งเน้นให้การนำองค์การเป็นไปอย่างมีวิสัยทัศน์ มีความรับผิดชอบต่อสังคม ให้ ความสำคัญกับบุคลากรและเครือข่าย ทำงานโดยมุ่งเน้นประชาชนผู้รับบริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย มีความสามารถในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ส่งเสริมให้ เกิดการเรียนรู้ระดับบุคคลและองค์การ มีความคิดริเริ่มเกิดนวัตกรรม ตัดสินใจโดย อาศัยข้อมูลสารสนเทศอย่างแท้จริง ทำงานโดยมุ่งเน้นผลลัพธ์เป็นสำคัญ และมี มุมมองอย่างเป็นระบบเชื่อมโยงกัน” 5
Criteria for Performance Excellence Framework TQM Total Quality Management TQA Thailand Quality Award PMQA Public Sector Management Quality Award HA Hospital Accredit ฯลฯ SQA Singapore Quality Award 6
Approach Deployment Learning Integration วิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยภายในและภายนอก กำหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัดกำหนด แผนวิธีการที่ชัดเจน กำหนดแผนประเมิน แผนป้องกัน กำหนดวิธีการปฏิบัติ ตัวชี้วัด (Lead) วิเคราะห์ความเสี่ยงจัดสรร ทรัพยากรและบุคคล ปฏิบัติตามแผน คลอบคลุมสู่ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามประเมินผล สรุปผลลัพธ์ สรุปบทเรียน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ สร้างนวัตกรรม นำไปปรับปรุงแบบก้าวกระโดด บทเรียนต่อกระบวนการอื่น ความสอดคล้อง ตัวชี้วัด เป้า แผนปฏิบัติ วิธีวัด การปรับปรุง ผลของกระบวนการที่ผลักดันสู่ เป้าหมายขององค์กร 7
การประเมินองค์กรตามหมวด 7 อัตราของการปรับปรุงผล ดำเนินการ หรือผลที่ดี อย่างต่อเนื่อง ความครอบคลุมของ ผลดำเนินการ ระดับของผลการ ดำเนินงานในปัจจุบัน เทียบกับเป้าหมาย Level - Le Trend - T Integration - I Comparison - C ผลการดำเนินงานเทียบ กับข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ ค่าเทียบเคียงหรือองค์การ ชั้นนำ ความครอบคลุม ทั่วถึงของตัวชี้วัดต่าง ๆ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดที่เชื่อถือ ผลลัพธ์ที่สอดคล้อง กลมกลืนทุกกระบวนการ และหน่วยงาน 8
Suppliers Inputs Process Customers Outputs Outcome สินค้าหรือบริการคืออะไร ผู้รับสินค้าหรือบริการคือใคร ความต้องการคืออะไร กระบวนการที่เหมาะสมคืออย่างไร ปัจจัยนำเข้าของกระบวนการคืออะไร ผู้ส่งมอบปัจจัยคือใคร SIPOC Model / Value chain model 9
การกำหนดกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย = SIPOC analysis ใบงาน 10