การวิเคราะห์ภาระงานของบุคลากรสายสนับสนุน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินการด้าน การบริหารงานบุคคล เพื่อก้าวสู่ระบบสมรรถนะ
Advertisements

หัวข้อการอบรมระบบการจัดการโครงสร้างองค์กร (Organizational Management)
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
ดัชนีชี้วัดระดับบุคคล หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญของบุคคลแต่ละตำแหน่งหรือแต่ละบุคคล ซึ่งแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของบุคคล.
Standard requirements
ประเภทบุคลากร นักวิชาการสาธารณสุข, นักทรัพยากรบุคคล, จพ.ธุรการ Production Line 1.จัดทำแผนบุคลากร 2.จัดประชุม/สัมมนา 3.ประเมินผลและจัดการความรู้ 4.ร่วมผลิตบุคลากรทางการแพทย์
1 การวิเคราะห์ งาน Job Analysis. INDM0419 Industrial HRM2 ความหมายของการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งาน คือ กระบวนการที่มีระบบใน การกำหนดทักษะ หน้าที่ และความรู้ที่
ร่าง- แผนยุทธศาสตร์ HR นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๙.
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
ปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงานภายนอก 18 สิงหาคม 2558
การฝึกอบรมคืออะไร.
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
ขอบเขตเนื้อหา 1. กรอบความคิดเรื่องการวัดผลสัมฤทธิ์
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่งสูงขึ้น
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
การวิเคราะห์งาน บทที่ 4. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
การเตรียมพร้อมทรัพยากรมนุษย์สู่ไทยแลนด์ 4.0
Human resources management
Individual Scorecard การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล และเทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล.
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
การศึกษาความเคลื่อนไหวและเวลา
การวิเคราะห์อัตรากำลัง โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
ขั้นตอนการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือน
การจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน (Job Description) และตัวชีวัดระดับบุคคล
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย แผนปฏิบัติการ
โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การวิเคราะห์งาน และ การออกแบบงาน
การประเมินผลงานวิชาการ และการขอรับเงิน พ.ต.ก.
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. Excellence Training Institution
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น (ชำนาญการ)
สรุปบทเรียน การขับเคลื่อนโครงการ
การบริหารกำลังคนภาครัฐ
งานระบบคอมพิวเตอร์และบริการ
ปรัชญา วิสัยทัศน์ ปณิธาน พันธกิจ
การติดตามและการประเมินผลโครงการ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
ศิลปะการทำงานอย่างมีความสุข
การซักซ้อมความเข้าใจในการเบิกค่าตอบแทนให้กับเจ้าหน้าที่ ตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข ที่บังคับใช้ในปัจจุบัน.
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
แนวบรรยาย เรื่อง หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่ง
บุคลากร (Workforce) หมวด 5 หน้า 1.
โครงการแลกเปลี่ยนความรู้ การเสวนาแนวทางเพื่อสร้างมาตรฐานในการทำงานของเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ ; (การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน (Work Manual) วันที่ 22 มีนาคม.
การประเมินการเรียนการสอน
ซักซ้อมแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการจ่ายค่าตอบแทน แนบท้ายข้อบังคับกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้กับหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6.
การจัดทำคำขอตั้งงบประมาณ รายละเอียดงบประมาณจำแนกตามงบรายจ่าย
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร. DMS.
ภาพรวมการขับเคลื่อนงานในฐานะ Chief of Operation และ Operation Team
การผลิตและการจัดการการผลิต
เรื่องอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม
การบูรณาการ สมรรถนะที่ ก.พ. กำหนด สมรรถนะ M.O.P.H.
การวิเคราะห์งาน.
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
การประเมินค่างาน บทที่ 3. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
ในการทำประกันคุณภาพการศึกษา รศ.พญ. อัจฉรา ตั้งสถาพรพงษ์
บทที่ 12 การออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้งาน (USER INTERFACE DESIGN)
การบริหารจัดการกำลังคน เครือข่ายบริการที่ 5
“ ทิศทางการขับเคลื่อนงานกองทุน
HRH Transformation การปฏิรูปกำลังคนด้านสาธารณสุข
ใบงาน Work Shop หน่วยงานสนับสนุน
โดย หัวหน้างานบริหารทั่วไป
การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ HR Planning
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ภาระงานของบุคลากรสายสนับสนุน สุพรรณ กาญจนเจตนี 24-25 มิ.ย. 57

การวิเคราะห์งาน เป็นกระบวนการที่ถูกนำมาใช้ในการศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับงาน ซึ่งมีหลากหลายวิธีตามลักษณะงาน ประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน นำมาใช้ใน HRM การวางแผน HR การสรรหาคัดเลือก การฝึกอบรมและพัฒนา การกำหนดค่าตอบแทน การประเมินผลการปฏิบัติการ การออกแบบงานและอื่นๆ

คุณสมบัติของนักวิเคราะห์งานที่ดี มีความตื่นตัว (active) มีความรู้และประสบการณ์ มีพื้นฐานการวิจัย มีความสามารถในการวิเคราะห์ มีบุคลิกภาพเหมาะสม มีความสามารถในการติดต่อสื่อสาร ประสานงาน มีความเข้าใจในงาน

การวิเคราะห์งาน (Job Analysis) การศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ อย่างเป็นระบบเกี่ยวกับภาระงานงานหนึ่ง ผลการวิเคราะห์งาน เอกสารบรรยายลักษณะงาน (job Description : JD) เอกสารระบุเฉพาะของงาน (Job Specification : JC) เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่ทำงานในหน้าที่นั้น มาตรฐานการทำงาน (Job Standard) กำหนดแนวทางในการทำงานแต่ละประเภท การประเมินค่างาน (Job Evaluation)

วิธีการวิเคราะห์งาน แก้ปัญหา work load และอัตรากำลังคน วิเคราะห์ชั่วโมงและปริมาณงาน และวิธีปฏิบัติงาน - วิเคราะห์งานแต่ละกิจกรรมใช้เวลาในการทำงานกี่นาที กี่ชั่วโมง กี่วัน กี่เดือน กี่ปี วิเคราะห์ความถี่ในการปฏิบัติงาน เช่น ทุกวัน ทุกสัปดาห์ ทุกเดือน วิเคราะห์การใช้ทรัพยากร ว่าใช้อะไรบ้าง (ที่ไม่ใช่คน) วิเคราะห์ความเสี่ยงของงาน

 

 

กระบวนการทำงาน/ลักษณะการทำงาน วิธีหาเวลาในการทำงาน จับเวลาในการทำงานแต่ละชิ้น วิเคราะห์กระบวนการทำงานหรือการไหลของงาน ศึกษากระบวนการทำงานตั้งแต่ต้นจนจบ หาเวลาในการทำงานแต่ละขั้นตอนในกระบวนการนั้น รวมเวลาที่คนทำงานจริงทุกขั้นตอนของกระบวนการนั้น ตัวอย่าง แบบบันทึกขั้นตอนการทำงาน…. ขั้นตอนที่ กระบวนการทำงาน/ลักษณะการทำงาน เวลาที่ใช้

 

 

มาตรการดำเนินการหลังการวิเคราะห์งาน คนขาด/workload สูง ทำ OT ลดขั้นตอนการทำงาน ปรับวิธีการทำงาน เกลี่ยงาน หาคนทำงานเพิ่ม (จำเป็น) เพิ่มอัตรากำลัง คนเกิน/งานน้อย เพิ่มงาน เกลี่ยคนไปทำงานที่ขาดคน