การเปลี่ยนแปลงตามวัย ในผู้สูงอายุ อาจารย์มลฤดี โพธิ์พิจารย์ พย. ม. ( การพยาบาลผู้สูงอายุ ) กลุ่มวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จิตเวชศาสตร์ฉุกเฉิน Psychiatric Emergency
Advertisements

ซ่อมแซม DNA ที่เสียหาย ให้กลับสู่ original state
Chronic kidney disease Burden,impact,prevention
โครงการเครื่องวัดระดับ ความสูงคลื่น
อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
รศ.คลินิก นพ.วีระศักดิ์ ศรินนภากร
2332 % % % % % % % % % จำนว น ร้อย ละ % ≤100 mg/dl mg/ dl
มูลค่าการจัดซื้อ เวชภัณฑ์ยา และวัสดุวิทยาศาสตร์ ไตรมาส 1-2 ตุลาคม มีนาคม 2556.
ACUTE CORONARY SYNDROME
สุขภาพช่อง ปาก : สุขภาพผู้สูงอายุ พญ. สิรินทร ฉันศิริกาญจน หน่วยเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ภาควิชา อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาล รามาธิบดี
Septic shock part 1 Septic shock part 1 Septic shock part 2.
โรคหัวใจและหลอดเลือด. กลุ่มกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด ST Elevation MI หมายถึงกลุ่มโรคที่มีกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และตาย เฉียบพลัน ที่มีการเปลี่ยนแปลงทางคลื่นไฟฟ้าหัวใจชนิด.
กำหนดการ – น. ลงทะเบียน – น. กล่าวต้อนรับและเปิดการสัมมนา – น. นโยบายส่งเสริมการลงทุนใน รูปแบบคลัสเตอร์ โดย เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการ.
Image Acquisition and Digitization
ที่สหกรณ์สมควรจัดให้แก่สมาชิก
รูปแบบการพัฒนาและส่งเสริมผู้มี
วิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนา
การบริหารงานวิชาการ สู่ศตวรรษที่ 21
การศึกษา ปริญญาตรี - ศิลปศาสตร์บัณฑิต(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
กล้องจุลทรรศน์.
องค์กรนวัตกรรม ROYAL VETERINARY COLLEGE UNIVERSITY OF LONDON
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 1 ประวัติ ความเป็นมา
(Attention-Deficit Hyperactivity Disorder)
วสันต์ ลิมปเจต กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
สมองเสื่อม พญ. สิรินทร ฉันศิริกาญจน สาขาวิชาเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ
Dark-light adaptation
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
วันวัยหมดระดูโลก 2014 วิธีการป้องกันโรค หลังวัยหมดระดู
การถ่ายภาพ อ.จุฑามาศ ถาวร.
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
รายการวัสดุอ้างอิง (RM) และตัวอย่างควบคุม (Qc sample) สำหรับห้องปฏิบัติการ NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it.
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการให้คำแนะนำ
ภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน และการจัดการ
PPA 1106 สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ SSC 281 เศรษฐศาสตร์ (Economics)
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
กรอบแนวคิดในการพัฒนา มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย
โดย น.อ.ชลธร สุวรรณกิตติ ผอ.กวส.พร. ประชุม นขต.พร. ๑๒ ต.ค.๖๑
การปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงาน โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 พ. ศ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มหาวิทยาลัยนเรศวร
การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
เรื่อง การปรับปรุงค่าตอบแทนภาคราชการ
กิจกรรมที่7 บทบาทของโลหะทองแดงในปฏิกิริยา
Big Picture ความสำคัญและที่มา ความหมายของการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
SOP RIHES-DDD การควบคุมการแพร่เชื้อวัณโรค (Tuberculosis Infection control Version 2.0, 20 June 2016 Daralak T. 8 Jul 2016.
การตรวจสอบภาษีน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
สารสื่อนำกระแสประสาท
หลุยส์ ปาสเตอร์  (Louis Pasteur).
โครงการเสวนาระบบบัญชีสามมิติและงานบัญชี
บทที่ 2 การวัด.
By Personal Information Management
ปิรามิด แห่งการรับรู้
Project Management การวางแผนและการควบคุมโครงการด้วยเทคนิค PERT และ CPM
ประเภทของการแนะแนว Incidental Guidance
สถานการณ์ วิกฤติ 7 ระดับ
นิยาม แรงลอยตัว คือ ผลต่างของแรงที่มาดันวัตถุ
Law & sexuality กฎหมายกับเพศวิถี
การจัดทำแผนปฏิบัติการ ระดับหน่วยงานกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการธุรกิจขนาดย่อม
ตารางแสดงจำนวนบุคลากรแยกตามศูนย์
ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ข้อสรุปจากที่ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
ซาตานและพรรคพวกของมัน
เรื่อง เวลา และยุคสมัยประวัติศาสตร์
ของรายงานการทำโครงงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเปลี่ยนแปลงตามวัย ในผู้สูงอายุ อาจารย์มลฤดี โพธิ์พิจารย์ พย. ม. ( การพยาบาลผู้สูงอายุ ) กลุ่มวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ

วัตถุประสงค์ เมื่อสิ้นสุดการเรียนการ สอนแล้ว นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการ เปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุทั้งปัจจัย ภายในและปัจจัยภายนอกได้ 2. อธิบายการเปลี่ยนแปลงด้าน ร่างกายและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในผู้สูงอายุได้ 3. วางแผนการพยาบาลผู้สูงอายุที่มี การเปลี่ยนแปลง ด้าน ร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพได้

1. ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการ เปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ ปัจจัยภายใน สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ประสบการณ์ชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม ปัจจัยภายนอก การศึกษา เศรษฐานะและการเกษียณ การทำงาน

ระบบผิวหนัง ↓ ต่อมเหงื่อ ↑ ความ ร้อนใน ร่างกาย ↓ เส้นเลือดฝอย ↓ อาการแสดง ของการอักเสบ ↓ ต่อมไขมัน ↑ ผิว แห้ง

↓ ความยืดหยุ่น

ผมหงอก และบางลง เหี่ยวย่น ตกกระ จาก แสง UV

Normal AD APNFT AP = amyloid plaques NFT = neurofibrillary tangles Courtesy of George Grossberg, St Louis University, USA Neuropathological Changes Characteristic of Alzheimer disease

การเปลี่ยนแปลงในระบบ ต่างๆ ระบบประสาท เซลล์ประสาท น้ำหนักสมอง การเชื่อมโยงของ เส้นประสาท ขนาดของเส้นประสาท

สารต่าง ๆ ในสมอง Dopamine ----> พาร์คิน สัน Serotonin ----> ซึมเศร้า Acetylcholine ----> ขี้ ลืม

ตื่นง่าย ระยะหลับลึก สั้น ความสามารถในการ จำ ลดลง การทรงตัว และการ เดินไม่ดี

ระบบตา ปรับสายตาในที่มืดไม่ดี ---> หก ล้ม มองใกล้ - ไกลไม่ชัด (Presbyopia) > สายตาผู้สูงอายุ สร้างน้ำตาน้อยลง > ตาแห้ง สารหลังกระจกตาถูกดูดกลับ > ต้อ หิน

จอรับภาพเสื่อม ( จอ ประสาทตา ) (> 65 ปี ) จุดรับภาพ ที่ชัดที่สุด > ภาพบิด เบี้ยว มัวตรงกลาง ภาพ

โปรตีนแก้วตาเสื่อมสภาพ ขุ่นมัว (Denature of lens protein) > ต้อกระจก ตาลึก หนังตาตก ขอบหนังตาม้วนเข้า - ออกได้ง่าย

ระบบการได้ยิน เซลล์ในหูชั้นในลดลง > หูตึง (1%) ขี้หู เพิ่มขึ้น > ขี้หูอุดตัน แยกเสียงพูดจากเสียงอื่นๆ ได้ลดลง > ใช้เครื่องช่วย ฟังไม่ค่อยได้

ระบบกล้ามเนื้อ ↓ ความแข็งแรงของ กล้ามเนื้อ ขาอ่อนแรง > แขน ส่วนต้นอ่อนแรง > ส่วนปลาย -----> ลุกจาก เก้าอี้ลำบาก หกล้มง่าย

ระบบกระดูก ↓ มวลกระดูก ↑ กระดูกพรุน ↑ กระดูกหัก ( สันหลัง สะโพก ข้อมือ ) กระดูกพรุน กระดูกสันหลังยุบ ↓ ส่วนสูง

ระบบหัวใจ / หลอด เลือด ↓ อัตราการเต้นของหัวใจ ตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนท่า -----> หน้ามืดเป็นลมเมื่อ เปลี่ยนท่า ↓ เซลล์ประสาทหัวใจ ( เกิดพังผืด ) -----> ↑ หัว ใจเต้นพลิ้ว

เลือดเข้าสู่หัวใจห้องล่าง ซ้ายไม่ดี ----> ↑ หัวใจ บีบตัว ↓ ปั้มปริมาณเลือดจาก หัวใจ ↓ การไหลเวียนเลือด

ระบบหายใจ - เหนื่อยง่าย - ผนังถุงลมบางลง - การแลกเปลี่ยน ออกซิเจนไม่สมดุล - เซลล์เยื่อบุ ประสิทธิภาพลดลง > ไอได้ไม่ดี ---> ปอดบวม

- ตอบสนองต่อ คาร์บอนไดออกไซด์ ปริมาณมากๆ ลดลง คาร์บอนไดออกไซด์คั่ง อยู่นาน ----> กดศูนย์ หายใจ

ระบบทางเดินอาหาร สุขภาพช่องปากไม่ดี ↑ เหงือกอักเสบ ฟันผุ เยื่อบุปากบาง / ฝ่อ ----> แผล / ติดเชื้อ ↓ เซลล์กระเพาะอาหาร ↓ กรด ↑ แบคทีเรีย, โลหิตจาง

↓ ขนาดของตับ ↓ การย่อย สลายยา ↓ เลือดเลี้ยงตับ ↓ เซลล์ตับอ่อน ----> อาหาร ไม่ย่อย ↓ ลำไส้ใหญ่บีบตัว ----> ท้องผูก ↓ เซลล์ต่อมน้ำเหลืองในผนัง ลำไส้ -----> อักเสบ ติดเชื้อ มะเร็ง

ระบบปัสสาวะ ต่อมลูกหมากโต พบ 20 % ↓ เนื้อไต 25% ↓ เซลล์ไต ↓ ขับของเสีย 10 ซีซี /10 ปี ( หลังอายุ 40)----->↓ ขับยาที่ละลายในน้ำ

↓ ความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อหู รูดใน กระเพาะปัสสาวะ > กลั้นปัสสาวะ ไม่อยู่ (10%) ปัสสาวะคั่งค้าง ↓ ความสามารถทำให้ปัสสาวะ เข้มข้น > ↑ ขับน้ำ / เกลือ ในช่วง กลางคืน

ระบบต่อมไร้ท่อ การดูดซึมกลูโคสได้ไม่ดี ↑ เบาหวาน ↑ ระดับน้ำตาล 5.3 mg%/10 ปี หลังอายุ 30 ปี ↓ ฮอร์โมนเอสโตรเจน, เทส โทสเตอโรน

ระบบการรับรู้อื่น ๆ ↓ การรับรส 50 % -----> ↓ ความ อยากอาหาร กินอาหารเค็ม มากขึ้น ↓ การับกลิ่น

↓ ความรู้สึกกระหาย 25 % > ดื่มน้ำน้อย ร่างกาย แห้ง ท้องผูก

ระบบโลหิตวิทยา ↓ การสร้างเม็ดเลือดแดง -----> โลหิตจาง ไขกระดูกฝ่อ -----> เม็ดเลือด และเกล็ดเลือดต่ำ