งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบและหัดเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 โครงการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

2 โครงการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

3 รายงานโรค ข้อมูลจากรายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา
ข้อมูล ณ วันที่ 18 พ.ย. 57 โรค 2557 2556 ป่วย ตาย จำนวน อัตรา คอตีบ 15 0.02 4 0.01 28 0.04 6 บาดทะยัก เด็กแรกเกิด 2 0.25 1 0.12 ไอกรน 11 24 หัด 1061 1.66 2,641 4.12 หัดเยอรมัน 142 0.22 539 0.84 ไข้สมองอักเสบเจอี 12 59 0.09 โปลิโอ

4 เป้าหมายการลดโรคปี 2558 ไม่พบผู้ป่วยโปลิโอ
อัตราป่วยด้วยโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิดไม่เกิน 1 ต่อ 1, เด็กเกิดมีชีพ รายจังหวัด อัตราป่วยด้วยโรคหัด ไม่เกิน 3.5 ต่อประชากรแสนคน (2,250 ราย) อัตราป่วยด้วยโรคคอตีบไม่เกิน ต่อประชากรแสนคน (10 ราย) อัตราป่วยด้วยโรคไอกรนไม่เกิน 0.08 ต่อประชากรแสนคน (50 ราย) อัตราป่วยด้วยโรคไข้สมองอักเสบเจอีไม่เกิน 0.15 ต่อประชากรแสนคน (90 ราย) อัตราการเป็นพาหะของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ไม่เกินร้อยละ 0.25

5 ตัวชี้วัดจุดเน้นการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ด้านโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) = ตัวชี้วัดกระทรวงฯ ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปีได้รับวัคซีน MMR ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ทุกพื้นที่ ร้อยละของเด็กอายุ 2 ปี ได้รับวัคซีน ไข้สมองอักเสบเจอี ครบตามเกณฑ์ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ทุกพื้นที่ ร้อยละของเด็กอายุ 5 ปี ได้รับวัคซีน DTP ครบ 5 ครั้ง ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ทุกพื้นที่

6 มาตรการสำคัญ มาตรการที่ 1 : เร่งรัดและคงรักษาระดับความครอบคลุม การได้รับวัคซีนทุกชนิด มาตรการที่ 2 : ยกระดับคุณภาพการให้บริการวัคซีนและ การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค มาตรการที่ 3 : ให้วัคซีนที่จำเป็นและวัคซีนใหม่แก่ประชากร กลุ่มเสี่ยง

7 เร่งรัดและคงรักษาระดับความครอบคลุม การได้รับวัคซีนทุกชนิด
สำรวจประชากรเป้าหมายกลุ่มเสี่ยง รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอแก่ประชากรกลุ่มเสี่ยง ส่งเสริมการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ในนักเรียน โดยสนับสนุนบัตรรับรองการได้รับ วัคซีนในนักเรียนชั้น ป.6 เพื่อใช้เป็นหลักฐาน ในการเข้าเรียนชั้น ม.1

8 การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558
การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558

9 การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558
การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558 ค่าเป้าหมาย : ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน OPV เสริม ในประชากรเป้าหมาย ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 รายตำบล/ชุมชน กลุ่มเป้าหมาย : 1. พื้นที่ 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 2. พิจารณาเพิ่มเติมจากพื้นที่เสี่ยงที่ยังไม่ได้ให้วัคซีนเสริม ในปี 2557

10 การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558
1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กำหนดพื้นที่เสี่ยงอิงตามหลักเกณฑ์ดังนี้ ก. พื้นที่ที่มีประชากรเคลื่อนย้ายสูง ซึ่งมีความยากลำบาก ในการให้บริการวัคซีนตามระบบปกติ ข. พื้นที่ติดชายแดนพม่า หรือมีชุมชนชาวพม่าขนาดใหญ่ ซึ่งการให้วัคซีนปกติไม่สามารถดำเนินการได้ ค. พื้นที่มีเหตุให้สงสัยว่าความครอบคลุมวัคซีนโปลิโอต่ำกว่าเกณฑ์ เช่น มี case AFP อายุ เดือน ที่ไม่ได้รับวัคซีนป้องกัน โรคโปลิโอ 3 ครั้ง (OPV3) หรือพื้นที่มีรายงานโรคคอตีบหรือหัด ระบาดในเด็กและไม่อาจแก้ไขได้ด้วยการบริการวัคซีนตามระบบ ปกติ ง. กำหนดให้พื้นที่ดำเนินการเป็นหมู่บ้านหรือชุมชน

11 การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558
2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กำหนดอายุของกลุ่มเสี่ยงตามข้อมูล จากการดำเนินงานบริการวัคซีน และระบาดวิทยาของแต่ละพื้นที่ 3. กำหนดการ - แจ้งพื้นที่เพื่อดำเนินการเดือน ธ.ค. 2557 - ระยะเวลาดำเนินการให้อยู่ในช่วงเดือน ม.ค. - เม.ย. 2558 แต่ละพื้นที่กำหนดช่วงเวลา 2 รอบ ห่างกัน สัปดาห์ 4. การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในแต่ละพื้นที่ ให้ดำเนินการปีเว้นปี ยกเว้น ในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ที่ให้ดำเนินการปีละ 1 ครั้งต่อไป 5. หากสามารถดำเนินการได้ ควรให้วัคซีนโปลิโอเสริมร่วมไปกับวัคซีนอื่น ในคราวเดียวกันด้วย

12 การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558
การติดตามประเมินผล - การสำรวจประเมินผลจาก สคร. - การรายงานผลการวัคซีนโปลิโอเสริมจาก สสจ. เมื่อจบโครงการ โดยรวมรายงานเป็นระดับตำบล หรือระดับชุมชนในกรณีเป็นเขตเมือง

13 การตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน
ในโรงเรียน

14 เขียนชื่อ-นามสกุลเด็ก
การดำเนินการเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้น ป. 1 โรงเรียนแจ้งผู้ปกครองให้สำเนาประวัติการรับวัคซีนของเด็ก ในสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก พร้อมเขียนชื่อเด็กกำกับ มอบให้โรงเรียนเมื่อเข้าเรียน เขียนชื่อ-นามสกุลเด็ก สถานบริการติดตามให้วัคซีนแก่เด็กที่รับวัคซีนไม่ครบ ให้ครบถ้วน รวมถึงให้ MMR แก่เด็กชั้น ป. 1 และบันทึก ในสำเนาประวัติการรับวัคซีนของเด็กแผ่นเดิมเก็บไว้ที่โรงเรียน

15 การดำเนินการเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้น ป. 1 (ต่อ)
สถานบริการติดตามให้ dT แก่เด็กชั้น ป. 6 และ บันทึกในสำเนาประวัติการรับวัคซีนของเด็กแผ่นเดิม โรงเรียนมอบใบสำเนาประวัติการรับวัคซีนแก่เด็ก คืนให้ผู้ปกครองก่อนจบ ป.6 เพื่อให้เด็กนำเป็นหลักฐานใน การศึกษาต่อชั้น ม. 1

16 การดำเนินการเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้น ป. 6
สถานบริการขอรายชื่อเด็กชั้น ป.6 ที่กำลังจะจบการศึกษา สถานบริการบันทึกการได้รับ MMR เมื่อเข้าเรียนชั้น ป.1 และ dT ป.6 ใน “บัตรรับรองการได้รับวัคซีนสำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6”  หากไม่สามารถหาข้อมูลได้ ขอให้สอบถามบุคคลที่เกี่ยวข้อง :-  เจ้าหน้าที่ที่ให้บริการวัคซีนนักเรียนในอดีต  ผู้ปกครองเด็ก หรือครู เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องที่สุด นำ “บัตรรับรองฯ” ที่บันทึกการได้รับวัคซีนตาม ข้อ ให้โรงเรียนเพื่อมอบให้ผู้ปกครองก่อนเด็กจบ เพื่อให้เด็กนำเป็นหลักฐาน เมื่อเข้า ม.1 2

17 บัตรรับรองการได้รับวัคซีนในนักเรียนชั้น ป. 6
ด้านหลัง ด้านหน้า

18 การดำเนินการเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้น ม. 1
โรงเรียนแจ้งผู้ปกครองให้นำ “บัตรรับรองฯ” มอบให้โรงเรียนเมื่อเข้าเรียน สถานบริการประสานขอหลักฐานประวัติการรับวัคซีนของเด็กแต่ละราย ตามข้อ เพื่อติดตามให้ MMR หรือ dT แก่เด็กที่ยังได้รับวัคซีนไม่ครบ บันทึกวันที่ให้วัคซีน ลงใน “บัตรรับรองฯ” หรือ สำเนาประวัติการรับวัคซีนของเด็กและให้เด็กเก็บไว้เพื่อเป็นข้อมูลประจำตัว 1

19 ประเด็นขอความร่วมมือสสจ.
 ประสานการดำเนินงานกับ สพฐ. เขตทุกเขต เพื่อเริ่มใช้ ประวัติการได้รับวัคซีนเป็นหลักฐานในการรับเด็กเข้าเรียน ชั้น ป.1 และชั้น ม.1 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2557  แจ้งหน่วยงานสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องและสถานบริการ ที่มีโรงเรียนสังกัด สพฐ. ได้ปฏิบัติตามแนวทางของกระทรวงฯ  ติดตามการใช้ประวัติการได้รับวัคซีนเป็นหลักฐานในการรับเด็ก เข้าเรียนชั้น ป. 1 และชั้น ม. 1

20 2. ยกระดับคุณภาพการให้บริการวัคซีนและ
การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ประชุมอบรมผู้นิเทศงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคระดับเขต ติดตามและประเมินมาตรฐานการดำเนินงาน EPI สุ่มสำรวจ 50% ของจังหวัดในเขตรับผิดชอบ ดำเนินการระหว่างเดือน พ.ค. - ก. ค. 2558

21 การเลือกพื้นที่ประเมิน
1 จังหวัด ประเมิน 2 อำเภอ (CUP) จังหวัด อำเภอที่มีรพศ/รพท. อำเภอ รพศ./รพท. รพช. รพสต. รพสต. อำเภอ/รพช./รพสต. ที่ไม่ได้ประเมินหรือนิเทศใน 3 ปีที่ผ่านมา

22 3. ให้วัคซีนที่จำเป็นและวัคซีนใหม่แก่ประชากรกลุ่มเสี่ยง
ขยายพื้นที่การให้บริการวัคซีนไข้สมองอักเสบเจอีชนิด เชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ในพื้นที่เขตบริการสุขภาพที่ 2 ,5 และ 6 สนับสนุนวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่สำหรับบุคลากร ทางการแพทย์และสาธารณสุข จัดทำโครงการนำร่องการให้บริการวัคซีน HPV ในโรงเรียนเขตพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

23 โครงการนำร่องการให้บริการวัคซีนป้องกันเอชพีวี ในนักเรียนหญิงชั้น ป.5

24 HPV สถานการณ์โรคมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทย
ร้อยละ มะเร็งปากมดลูกพบได้เป็นอันดับสองในเพศหญิง

25 สถานการณ์โรคมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทย
ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก แยกตามอายุ (พบมากช่วง ปี) ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก แยกตามระยะของโรค

26 วัคซีนเอชพีวีที่ขึ้นทะเบียนและมีใช้ในปัจจุบัน
Characteristics Gardasil® Cervarix® Manufacturer Merck & Co., Inc. GlaxoSmithKline Biologicals First Approval June 8, 2006 (US-FDA) May 2007 (Aus-FDA) October 16, 2009 (US-FDA) Target disease HPV Types 16, 18, 6, and 11 HPV Types 16 and 18 Schedule 0, 6 months Use for Females , males Females Side effect headache, fever, nausea, dizziness; and injection-site pain, swelling, erythema, pruritus, and bruising (frequency of at least 1.0% and greater than placebo) ≥20% pain, redness, and swelling at the injection site fatigue, headache, myalgia, gastrointestinal symptoms, and arthralgia Approved by Thai-FDA Yes [registry no.1C 11/2555(NB)] Yes [registry no. 1C 102/2550(NB)] Cost Per Dose US$130 2,889 THB* US$129 1, THB* GAVI Price $4.50 per dose $4.60 per dose

27 โครงการนำร่องให้บริการวัคซีนเอชพีวี ในโรงเรียนเขตพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เริ่มโครงการ : ปีงบประมาณ 2557 หลักการและเหตุผล : นำร่องการให้บริการวัคซีนเอชพีวีในนักเรียนหญิง ป.5 และ เด็กหญิง (สัญชาติไทย) อายุ ปีที่ไม่ได้เรียนหนังสือ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำหรับพิจารณาความเป็นไปได้ของการให้บริการ และบรรจุวัคซีนเอชพีวีเข้าสู่แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

28 ผลการให้บริการวัคซีนเอชพีวี เข็มที่ 1 ในโรงเรียนเขตพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี 2557
เจ้าหน้าที่สามารถปรับระบบงานเพื่อรองรับวัคซีนใหม่ได้ดี ผู้ปกครองมีความยอมรับวัคซีนป้องกันเอชพีวี ดี ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเข็มที่ 1 เท่ากับ 92.16% ไม่มีรายงานอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังรับวัคซีน ที่รุนแรง ระบบลูกโซ่ความเย็นมีความยืดหยุ่นเพื่อรองรับวัคซีนใหม่

29 แผนการดำเนินงานโครงการวัคซีนเอชพีวี ปี 2558
จ.พระนครศรีอยุธยา ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ประชุม สรุป เยี่ยม รอบ 1 ปีที่ 2 + สรุปผล เยี่ยม รอบ 3 ปีที่ 1 ฉีด เข็มที่ 1 ฉีด เข็มที่ 2

30 แผนการขยายการให้บริการวัคซีนป้องกันเอชพีวี

31 Timeframe โครงการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558

32 กิจกรรม ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
สคร. 1. การสำรวจความ ครอบคลุมการได้รับ วัคซีนในประชากร กลุ่มเสี่ยง สคร.1-12 2. นิเทศติดตามการ ดำเนินงานสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค 2.1 ประชุมวิพากษ์คู่มือ ผู้นิเทศงาน EPI 2.2 อบรมผู้นิเทศงาน EPI ระดับเขต 2.3 สนับสนุนบัตรรับรอง การได้รับวัคซีนใน นักเรียน 2.4 ประเมินมาตรฐาน การดำเนินงาน สร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค

33 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
กิจกรรม ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. สคร. 3. ประชุมถ่ายทอดแนวทางการให้บริการวัคซีนในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สคร. 1, 3, 4 และ 9 3.1 ประชุมถ่ายทอดการให้บริการวัคซีน JE เชื้อเป็นฯ สำหรับบุคลากรระดับเขตและจังหวัด สคร. 3, 4 และ 9 3.2 ประชุมถ่ายทอดการให้บริการวัคซีน JE เชื้อเป็นฯ สำหรับบุคลากร ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ 3.3 ประชุมติดตามความก้าวหน้า การให้บริการวัคซีนเอชพีวี สคร. 1 3.4 สนับสนุนเอกสารให้ความรู้ เรื่อง วัคซีนเอชพีวี 4. รณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ทุกจังหวัดในพื้นที่ สคร. 1-12 5. รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอเสริม (SIA) จังหวัดที่ดำเนินการในพื้นที่ สคร. 1-12


ดาวน์โหลด ppt โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google